Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION รุ่นที่ ๒

สรุปโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION รุ่นที่ ๒

Published by jt2554, 2022-03-19 16:18:30

Description: สรุปโครงการอบรม STEAM รุ่นที่ ๒
........
สรุปการประเมินผลหลังการฝึกอบรมและความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
แบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่ง
ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION รุ่นที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๔- ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ ซึ่งเป็นโครงการความ
ร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยรามคำแหง และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย มี
สาระสำคัญประกอบด้วย 1) บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2)โครงการฝึกอบรม ๓) วิธีการประเมินผล และ ๔) ผล
การดำเนินงาน
คณะผู้บริหารโครงการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการ
เรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทยแห่งศตวรรษที่ 21 STEAM
EDUCATION จะช่วยพัฒนาคุณครูในสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง
บูรณาการตามแนวคิด STEAM EDUCATION เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทยแห่งศตวรรษที่ 21

Keywords: สรุปโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION รุ่นที่ ๒

Search

Read the Text Version



๒ข คำนำ สรุปการประเมินผลหลังการฝึกอบรมและความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION รุ่นที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๔- ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ ซึ่งเป็นโครงการความ ร่วมมือทางวชิ าการระหว่างมหาวิทยาลัยรามคำแหง และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย มี สาระสำคัญประกอบด้วย 1) บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2)โครงการฝึกอบรม ๓) วิธีการประเมินผล และ ๔) ผล การดำเนินงาน คณะผู้บริหารโครงการหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบตั ิการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการ เรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทยแห่งศตวรรษที่ 21 STEAM EDUCATION จะช่วยพัฒนาคุณครูในสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง บูรณาการตามแนวคดิ STEAM EDUCATION เพ่ือสร้างสมรรถนะและอจั ฉรยิ ะภาพเด็กไทยแห่งศตวรรษที่ 21 คณะผบู้ รหิ ารโครงการ

๓ค บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร สรุปการประเมินผลหลังการฝึกอบรมและความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION รุ่นที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็น ผอู้ ำนวยการสำนัก/กอง หรอื ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศกึ ษานเิ ทศก์ ครผู สู้ อน สังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน ๑๓๕ คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบ ประเมนิ ความพงึ พอใจโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจดั การเรยี นรวู้ ิถีบรู ณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่งศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION ทั้งนี้ การดำเนินงาน โครงการดงั กล่าว สรปุ ไดน้ ้ี ความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารับการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคดิ +พาทำ การจัดการเรียนร้วู ิถีบรู ณาการองค์รวม เพื่อสรา้ งสมรรถนะและอจั ฉริยะภาพเดก็ ไทย แห่งศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION อย่ใู นระดบั มากที่สดุ ค่าเฉลี่ย 4.๘๗ คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๕.๘๕ จากผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม พบว่า มีผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมากที่สุด การจัดกิจกรรมตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการ เนื่องจากผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติในห้อง อบรม ได้รว่ มกิจกรรม รับความรูจ้ ากวทิ ยากรทมี่ ีความร้คู วามสามารถในเรอื่ งทีส่ นใจ ผ้เู ข้ารับการอบรมเห็นว่า การ จัดกิจกรรมของการอบรมในครั้งนี้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการที่ต้องการส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ ความรู้ความเข้าใจ มีทักษะและตระหนักถึงประโยชน์ความจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ รวมถึงเสริมสร้างศักยภาพและประสบการณ์การสร้างและใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน มีข้อเสนอแนะให้ จดั เป็นโครงการตอ่ เน่ือง เพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยนื นวัตกรรมในการยกระดับคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ ตามความ ต้องการและบริบทของทอ้ งถ่ิน ------------------------------------------------

สารบัญ ๔ คำนำ หนา้ บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ าร ข โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรูก้ ารเรียนวถิ ีบรู ณาการ ค องคร์ วมเพื่อสรา้ งสมรรถนะและอจั ฉรยิ ะภาพเด็กไทยแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION ๕ วัตถปุ ระสงค์ ๖ เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ ๖ เชงิ คุณภาพ ๗ ผลผลิต ผลลัพธ์ ๘ กลุม่ เป้าหมายผู้ได้รับผล ๘ ระยะเวลาและสถานทีด่ ำเนินการ ๙ สถานทดี่ ำเนนิ การ ๙ งบประมาณ ๑๐ ค่าลงทะเบียน ๑๐ การตดิ ตามและประเมนิ ผล ๑๐ ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ ๑๑ วิธีการประเมนิ ผล ๑๒ ผลการดำเนินงาน ๑๔ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๑๙ ภาคผนวก ๒๑

๕ บทนำ หลกั การและเหตผุ ล โลกปัจจุบันก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว Disruption เกิดการแข่งขันและพัฒนาใน ระดับนานาชาติในทุกด้านและนับวนั จะทวีความรุนแรงและซบั ซ้อนมากขึ้น ทำใหป้ ระเทศต่างๆต้องเร่งพัฒนาและ ยกระดับองค์ความรู้ตนเองให้เท่าทันนานาอารยประเทศ สร้างกลยุทธ์ทุกด้านเตรียมรับมือกับสถานการณ์และ ความเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทั้งด้านเทคโนโลยี การสื่อสารที่สามารถเช่ือมต่อทั้งโลกไดอ้ ย่าง รวดเร็ว ข่าวสารต่างๆสามารถแพร่กระจายไปทั่วทุกมุมโลกได้อย่างอิสระการคมนาคมสะดวกรวดเร็วมีการผลิต สินค้าและบรกิ ารหลากหลายรูปแบบตอบสนองความต้องการของมนุษย์ มีการแข่งขันด้านการผลติ ในทกุ มิติ รวมท้ัง เกิดการกีดกนั้ ดา้ นการขาย มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนตม์ าใชแ้ ทนแรงงานมนุษย์ ส่งผลให้คนที่ ไรฝ้ มี ือวา่ งงานและเกิด ความตอ้ งการบคุ ลากรด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรเ์ ป็นจำนวนมาก Stem Education คอื การเรียนรู้ท่ีเน้นบรู ณาการระหวา่ งวชิ าวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และ เทคโนโลยี เพื่อมุ่งพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ ความสามารถด้านการผลิต เน้นการเรียนรู้เชิงวิจัย ทักษะ การคิดขั้นสูง การสร้างนวัตกรรมอย่างหลากหลาย และตลอดเวลาที่ผ่านมา รูปแบบการพัฒนาดังกล่าว ยังขาดการส่งเสริมทักษะแห่งความเป็นคนดีของสังคมและประเทศชาติ อาทิ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความมีจิตสาธารณะทักษะทางสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ทักษะมนุษย์สัมพันธ์ ทักษะการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ ทั้งด้านการอ่าน การเขียน การนำเสนอ ศิลปะในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งขาดการส่งเสริมการใช้ ทักษะชีวิต ซึ่งเป็นคุณลักษณะสำคัญที่มนุษย์จำเป็นต้องมีและต้องใช้ในโลกใบน้ี ประเทศไทยได้ตระหนักถึง ความสำคญั ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเ์ พื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขนั กับประเทศอื่น ๆ จึงได้กำหนด ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) เป็นแผนแม่บทในการพัฒนาประเทศระยะยาว และกำหนดให้การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์เป็นหนึ่งใน ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของชาติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณภาพมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีการพัฒนาที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย เพื่อก้าวมาเป็นกำลังหลักสำคัญ การขับเคลื่อน ประเทศไทยสู่ยคุ ๔.๐ (Thailand ๔.๐) หรือยุคแห่งการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ด้วยเหตนุ ้ี จงึ มคี วามจำเปน็ อย่างย่ิงในการวางรากฐานให้แก่เด็กและเยาวชนไทยตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน เป็นการสรา้ งเดก็ และเยาวชนไทยยุคใหมด่ ้วยนวัตกรรมการศึกษาที่เรยี กวา่ Steam Education เป็นการ เรียนรู้ลักษณะการบูรณาการสรา้ งความเป็นไทยสู่มาตรฐานสากลเทียบเท่านานาอารยประเทศ เน้นการเรียนร้เู ชิง รุกสร้างความคงทนในการเรียนรู้ Active Learning ลงมือปฏิบัติจริงอย่างเป็นระบบ ด้วยตนเองทุกขั้นตอน เน้น การบรู ณาการเนอื้ หาทนี่ ำไปใช้ในชวี ติ จริง เนน้ การบรู ณาการกระบวนการเรยี นรู้ ข้ามกลุม่ สาระ เน้นการบูรณาการ

๖ เป้าหมายด้านคุณภาพมนุษย์ทุกมิติ และบูรณการทักษะทุกรายวิชา เป็นการสร้าง คนไทยยุคใหม่ที่เป็นคนดี ปัญญาดี ปฏิบัติดีเป็นระบบ สร้างสรรค์นวัตกรรมได้ และมีความสุขตามธรรมชาติ ตามความถนัดและความสนใจของตน อยา่ งแท้จรงิ จนพัฒนาเป็นสมรรถนะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ อยา่ งครบถว้ นและมีประสิทธิภาพ ตามธรรมชาติและเต็ม ศกั ยภาพแหง่ ตน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบพา คิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทยแห่งศตวรรษที่ ๒๑ Steam Education ขึ้น เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่เป็นนวัตกรรม การเรียนรู้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียน ทุกชั้น ในสถานการณ์ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (Covid ๑๙) เพื่อให้ไดค้ ณุ ภาพเดก็ และเยาวชนไทยใหเ้ ปน็ สากลเทยี บเท่านานาอารยประเทศต่อไป วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้อำนวยการสำนัก/กอง หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษานิเทศก์ ครู ผู้สอนใด้มีแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถพัฒนาการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคนิคหรือวิธีการ จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนมีคุณภาพใหม่ มีสมรรถนะสำคัญ สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรม และ คณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี ๒๑(3Rs 8Cs) นิสยั ดี ปญั ญาดี และปฏบิ ตั ิดีเป็นระบบอย่างแท้จรงิ ๒. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดการพัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่เทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ นวตั กรรมในการยกระดบั คณุ ภาพการจดั การเรียนรูใ้ นระดับช้นั เรียนทส่ี อดคล้องกับทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ตาม ความต้องการและบริบทของท้องถิ่น ในสถานการณ์สงครามเชอ้ื โรคไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ (Covid ๑๙) ๓. เพื่อออกแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ สร้างเครือข่ายพัฒนาการเรียนรู้ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑(3Rs 8Cs) ของโรงเรียนสังกัดให้มี ประสทิ ธิภาพ ๔. เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณภาพใหม่แห่งศตวรรษที่ ๒๑ มีสมรรถนะที่สำคัญของพลเมือง พลโลก ทักษะ ความเปน็ คนเกง่ คนดี มีวินยั มีความรับผิดชอบ ทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รักความเป็นไทยใฝ่สันติ ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ คดิ สร้างสรรคน์ วัตกรรม และทกั ษะการทำงานท่ีเป็นระบบด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงวิจัย อยา่ งงา่ ย เป้าหมายเชิงปริมาณ ๑. ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ทุกชั้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐ ได้มีแนวทางใน

๗ การพัฒนาการใช้สื่อนวัตกรรม เทคนิคหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนมีคุณภาพใหม่มีสมรรถนะ สำคัญ สามารถสรา้ ง คุณลกั ษณะในศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs 8Cs) นิสยั ดี ปัญญาดี และปฏิบัตดิ เี ปน็ ระบบอยา่ งแท้จรงิ ๒. ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกชั้น ทุกกลุ่มสาระ ร้อยละ ๘๐ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดการ พัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่เทคนิค /วิธีการจัดการเรียนรู้ สร้างนวัตกรรมในการเรียนรู้ เพื่อยกระดับ คุณภาพการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน ที่สร้างคุณภาพสอดคลอ้ งกับทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ตามความต้องการและ บริบทของสถานศึกษา ๓. นักเรียนโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ครูผู้สอนได้เข้าร่วมโครงการอบรมร้อยละ ๘๐ มีศักยภาพแห่งโลกศตวรรษที่ ๒๑ เป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิต สาธารณะ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รักความเป็นไทยใฝ่สันติ มีทักษะการคิดสร้างสรรค์ คิด สร้างสรรค์นวัตกรรม และทักษะการทำงานที่เป็นระบบด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงวิจัยอย่างง่าย เพื่อสนองต่อ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เชงิ คุณภาพ ๑. ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง มีแนวทางการพัฒนาสื่อเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรม เทคนิค หรือวิธีการจดั การเรยี นรู้ที่หลากหลาย ครอบคลุมทุกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs 8Cs) สามารถพัฒนา ผู้เรียนใหม้ ีทักษะความเป็นคนดี มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ สามารถ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ รักความเป็นไทยใฝ่สันติ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และทักษะ การ ทำงานที่เปน็ ระบบด้วยกระบวนการเรยี นรเู้ ชิงวิจัยอย่างง่าย ๒. ครูผู้สอนของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งได้รับการพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรง ตามความต้องการและบริบทของสถานศึกษา ๓. โรงเรยี นในสงั กัดองค์กรปกครองท้องถิน่ ไดร้ ับการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการพฒั นาผู้เรียนและ สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๔. นักเรียนในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะการเรียนรู้ รูปแบบใหม่และทักษะการเรียนร้ทู ีส่ อดคลอ้ งกับทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ มีทกั ษะความเปน็ พลเมอื งทด่ี ี เป็นคนเกง่ คน ดี มีวนิ ยั มีความรบั ผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ รักความเป็นไทย ใฝ่สันติ

๘ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ คดิ สร้างสรรคน์ วัตกรรม และทักษะการทำงานทีเ่ ปน็ ระบบดว้ ยกระบวนการวเิ คราะห์และ เชงิ วจิ ยั อยา่ งง่าย ผลผลิต ผลลัพธ์ ๑.ผลผลิต (Output) ๑) ผ้อู ำนวยการสำนัก/กอง ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาหรือผู้ไดร้ ับมอบหมาย ศกึ ษานเิ ทศก์ ทุกแห่งครผู สู้ อน ทุกกลุ่มสาระ ทุกชั้นในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ ๘๐ มีแนวทางและทักษะ ในการใช้เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาสื่อสร้างนวัตกรรม ใช้เทคนิคหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลาย ให้มี คณุ ลักษณะใหม่ ทค่ี รอบคลุมทกุ ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ (3Rs 8Cs) ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๒) ครูผู้สอนในโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ ๘๐ มีนวัตกรรมการสอน และสามารถใช้ เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ได้อย่างหลากหลาย ๓) ศึกษานิเทศก์ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ ๑๐๐ มีความชำนาญในการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นมากข้ึน ๒. ผลลพั ธ์ (Outcome) ๑) นักเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีทักษะจำเป็นให้มีคุณลักษณะใหม่ของโลกศตวรรษ ท่ี ๒๑ มีทักษะความเปน็ คนเก่งคนดี มีวนิ ัย มคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเองและสังคม สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่าง มีประสิทธิภาพ รกั ความเปน็ ไทยใฝ่สันติ ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และทักษะการทำงานท่ี เปน็ ระบบดว้ ยกระบวนการวิเคราะห์ วิจัยอยา่ งง่ายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน ๒) โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้รบั การพัฒนาโดยศึกษานิเทศก์มสี ว่ นร่วมส่งเสริมให้ครู มคี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนท่ีหลากหลายตามบริบทของโรงเรยี น กลมุ่ เปา้ หมายผูไ้ ดร้ ับผลประโยชน์ ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษานิเทศก์ นักวิชาการศึกษา ครูผู้สอนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกชั้นทุกกลุ่มสาระทุกแห่ง ที่ได้รับวัคฃีนครบตามเกณฑ์ที่ทางราชการ กำหนด หรือมีหลักฐานแสดงผลการตรวจที่ยืนยันว่าไม่มีเชื้อโควิด ๑๙ ในระยะเวลา ๗๒ ชั่วโมง ก่อนการเข้าร่วม อบรม โดยวธิ ี RT-PCR หรือโดยชุดตรวจ ATK

๙ วธิ ีดำเนินการ/ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ท่ี กจิ กรรมหลกั ระยะเวลา หมายเหตุ ๑ เสนอโครงการเพ่อื พจิ ารณาอนุมัติ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ๒ ประชุมคณะกรรมการดำเนนิ งาน มกราคม ๒๕๖๕ ๓ ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ ๔ การถอดบทเรียน นำเสนอแลกเปล่ียนเรียนรู้นวัตกรรมการสอน เมษายน ๒๕๖๕ ทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practices)ของครผู ู้สอน ๕ ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติครผู สู้ อน โรงเรยี นทมี ีผลการปฏบิ ัติเป็นเลิศ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕ ๖ สรุป รายงานผล กนั ยายน ๒๕๖๕ ระยะเวลาและสถานทีด่ ำเนินการ วันท่ี ๒๘ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ รวม ๖ รุ่นๆละ ๒๐๐ คน ดงั น้ี รุ่นที่ ระยะเวลา จำนวนผเู้ ข้ารบั การอบบรม ๑ วนั ที่ ๒๘ ก.พ. – ๓ ม.ี ค. ๒๕๖๕ ๒๐๐ คน ๒ วันที่ ๗ – ๑๐ มี.ค. ๒๕๖๕ ๒๐๐ คน ๓ วนั ที่ ๑๔ – ๑๗ มี.ค. ๒๕๖๕ ๒๐๐ คน ๔ วันที่ ๒๑ – ๒๔ มี.ค. ๒๕๖๕ ๒๐๐ คน ๕ วนั ท่ี ๒๘ – ๓๑ มี.ค. ๒๕๖๕ ๒๐๐ คน ๖ วันที่ ๑๘ – ๒๑ เม.ย. ๒๕๖๕ ๒๐๐ คน สถานทดี่ ำเนินการ โรงแรมริเวอร์ไฃด์ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

๑๐ งบประมาณ . จากการลงทะเบียนของผเู้ ข้ารบั การอบรม คนละ ๘,๕๐๐ บาท โดยสามารถสมัครและโอนเงินลงทะเบียน ชื่อบัญชี โครงการอบรมภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการ เลขบัญชี ๑๕๖-๒-๙๓๐๙-๐ ธนาคารทหารไทยธนชาติ จำกดั สาขา มหาวิทยาลยั รามคำแหง หวั หมาก ตามวนั และรุน่ ทก่ี ำหนด ค่าลงทะเบียน ใช้งบประมาณของหน่วยงานต้นสังกัดของผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม โดยสามารถเบิกจ่ายจากงบประมาณตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและการเขา้ รับการฝึกอบรมของเจ้าหน้าท่ีท้องถ่ินพ.ศ. ๒๕๕๗ หมวด ๒ ขอ้ ๒๘ (๑) ค่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยงในการเดินทางให้เบิกจ่ายจากงบประมาณต้นสังกัดของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๕ และแก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๖๑ เม่อื ไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากผ้บู ังคับบญั ชาแล้ว การติดตามและประเมนิ ผล ตวั ชวี้ ดั ความสำเรจ็ วิธกี ารวัด/ประเมนิ ผล เครอื่ งมือทใ่ี ช้ ๑. ผู้อำนวยการสำนัก/กอง หรือผู้อำนวยการ ประเมิน/สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤติกรรม สถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษานิเทศก์ ครู การสอน การสอน ร้อยละ ๘๐ ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการ สอนในห้องเรียน ในการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคนิค หรอื วิธกี ารจดั การเรียนรู้ที่หลากหลาย ครอบคลุมทุก ทักษะ การเรียนร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑ ๒.ครูร้อยละ ๘๐ มีนวตั กรรมและนำมาแลกเปล่ียน สำรว จการสร้างสื่อ / แบบสำรวจสือ่ เรียนรู้ เผยแพร่ด้วยการสร้างคลิปวิดีทัศน์สำหรับ นวตั กรรมของครู จัดการเรียนการสอนผ่านระบบการศึกษาทางไกล ของโรงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย ๓.โรงเรียน ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม แบบนิเทศติดตามการ ได้รับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนา ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ข อ ง จดั การเรียนรู้ ผู้เรยี น โรงเรียนในสงั กดั ๔. นักเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี สำรวจจำนวนนกั เรยี น แ บ บ ส ำ ร ว จ จ ำ น ว น ความรู้ความสามารถร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนา นักเรียนที่แข่งขันทักษะ ศักยภาพ /ได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งเสริมให้ งานวชิ าการ ไดร้ บั การศึกษาเตม็ ตามศกั ยภาพ แบบสำรวจจำนวนเรียน

๑๑ ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ ๑. ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย ครูผู้สอนมีแนวทาง และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี สื่อนวัตกรรม เทคนิคหรือวิธีการสอน ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลดีต่อการพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะใหม่และสร้างทักษะที่เหมาะสมกับยุคศตวรรษที่ ๒๑ มี ทักษะความเป็นเก่ง คนคนดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีจิตรสาธารณะ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รักความเป็นไทยใฝ่สันติ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และทักษะการทำงานท่ี เปน็ ระบบด้วยกระบวนการเรียนรู้ เชิงวจิ ัยอย่างงา่ ยไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๒. ครูผู้สอนมีการถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานนวัตกรรมที่ได้สร้างขึ้น และได้มี การ แลกเปล่ยี นข้อคิดเห็นซึ่งกันและกนั นำไปสูก่ ารพฒั นา และยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน คุณลักษณะผ้เู รียน และ ทกั ษะการเรยี นรทู้ นั ยุคศตวรรษที่ ๒๑ ๓. โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ มีการบริหารจัดการดา้ นการจัดการเรยี นการสอน การบรหิ าร จัดการและการนเิ ทศภายในได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ อย่างเปน็ ระบบในสถานการระบาดของเช้ือโรคไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ (Covid ๑๙)

๑๒ วิธกี ารประเมนิ ผลโครงการ การประเมนิ ผลโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจดั การเรยี นร้วู ิถบี ูรณาการองค์ รวม เพ่ือสร้างสมรรถนะและอจั ฉรยิ ะภาพเดก็ ไทย แห่งศตวรรษท่ี ๒๑ STEAM EDUCATION มีรายละเอียดท่ี เก่ียวขอ้ งกบั วธิ กี ารประเมนิ ผลโครงการ ดังน้ี 1. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการประเมินผล 2. สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการประเมินผล เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ ผลโครงการ เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมินผลโครงการ เปน็ เคร่ืองมือท่สี ร้างข้ึนเพื่อให้สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ ของโครงการ มีรายละเอียดดังตาราง ตารางเคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการประเมินผล วตั ถปุ ระสงค์ในการประเมินผล เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ ผล ประเมนิ การใหบ้ ริการหนว่ ยงาน แบบประเมนิ ความพึงพอใจโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และเปา้ หมายผลผลติ ของโครงการ แบบ พาคดิ +พาทำ การจัดการเรียนร้วู ิถีบรู ณาการองค์รวม เพอ่ื สรา้ งสมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แหง่ ศตวรรษ ที่ ๒๑ STEAM EDUCATION เครอื่ งมือท่ีใช้ในการประเมนิ ผลโครงการ ประกอบด้วยรายละเอยี ด ดังน้ี ๑. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจโครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรูว้ ถิ ี บรู ณาการองค์รวม เพื่อสรา้ งสมรรถนะและอัจฉรยิ ะภาพเด็กไทย แห่งศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION เป็น แบบมาตราสว่ นประเมินค่า 5 ระดบั ตามแนวคิดของ Likert โดยกำหนดระดบั ความคิดเห็น ดังน้ี

๑๓ คะแนน 5 หมายถึง ความพงึ พอใจมากทีส่ ุด คะแนน 4 หมายถึง ความพงึ พอใจมาก คะแนน 3 หมายถงึ ความพงึ พอใจปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง ความพงึ พอใจน้อย คะแนน 1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยท่ีสุด ความหมายของคะแนนแบบสอบถามความพงึ พอใจ มีดงั น้ี คา่ เฉลี่ย 4.50-5.00 แปลความวา่ มคี วามพึงพอใจในเร่ืองน้นั มากทส่ี ดุ คา่ เฉลี่ย 3.50-4.49 แปลความว่า มีความพงึ พอใจในเรือ่ งนนั้ มาก คา่ เฉล่ีย 2.50-3.49 แปลความว่า มีความพึงพอใจในเรอื่ งน้นั ปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.50-2.49 แปลความว่า มีความพึงพอใจในเรอ่ื งนน้ั น้อย คา่ เฉลี่ย 1.00-1.49 แปลความว่า มีความพึงพอใจในเรอ่ื งนน้ั นอ้ ยทส่ี ดุ สถติ ิท่ีใช้ในการประเมินผล สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการประเมนิ ผล มีรายละเอยี ดในตาราง ตาราง สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการประเมินผล เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการประเมนิ ผล สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการประเมนิ ผล แบบประเมินความพงึ พอใจโครงการฝกึ อบรมเชิง 1. คา่ เฉล่ยี ปฏบิ ตั ิการแบบ พาคิด+พาทำ การจดั การเรียนรวู้ ิถีบรู ณาการ 2. คา่ ร้อยละ องค์รวม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉรยิ ะภาพเด็กไทย แหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION

๑๔ ผลการดำเนนิ งานโครงการ โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรยี นรู้วถิ ีบูรณาการองค์รวม เพอื่ สร้าง สมรรถนะและอัจฉริยะภาพเด็กไทย แห่งศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION ผลการประเมินความพงึ พอใจ ของผู้เข้ารับการอบรมที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ ข้ารับการอบรมทีม่ ตี ่อโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผูเ้ ข้ารบั การอบรมทีม่ ตี ่อโครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบ พาคดิ +พาทำ การจัดการ เรียนรูว้ ิถีบูรณาการองคร์ วม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉรยิ ะภาพเด็กไทย แห่งศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION ขอ้ มูลท่ัวไป ร้อยละ 1.1 เพศของผ้ตู อบแบบสอบถาม จำนวน ๑๓๕ คน ๓๑.๑๑ เพศ จำนวน (คน) ชาย ๔๒ หญงิ ๙๓ ๖๘.๘๙ ชาย หญิง ชาย หญิง ภาพท่ี 1 แผนภูมแิ สดงค่าร้อยละเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

๑๕ 1.2 ตำแหนง่ หนา้ ทรี่ ับผิดชอบ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา 8 คน รอง ผู้บริหารสถานศึกษา 6 คน ศกึ ษานเิ ทศก์ 10 คน ครู คศ ๔ 8 คน ครู คศ ๓ 38 คน ครู คศ ๒ 45 คน ครู 20 คน ผอ รอง ผอ. ศกึ ษานิเทศก์ ครู คศ ๔ ครู คศ ๓ ครู คศ ๒ ครู ภาพที่ 2 แผนภมู แิ สดงค่าร้อยละตำแหน่งหนา้ ทีท่ ีร่ บั ผิดชอบ

๑๖ 1.3 วุฒกิ ารศกึ ษา จำนวน ๖๖ คน ปริญญาตรี จำนวน ๖๒ คน ปริญญาโท จำนวน ๗ คน ปรญิ ญาเอก ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก อ่นื ๆ ภาพที่ 3 แผนภมู ิแสดงคา่ ร้อยละวุฒิการศึกษาของผูร้ ับการอบรม

๑๗ ตาราง ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรมท่มี ีต่อโครงการฝกึ อบรมเชิงปฏิบตั ิการแบบ พาคดิ + พาทำ การจดั การเรยี นรวู้ ิถบี ูรณาการองคร์ วม เพื่อสร้างสมรรถนะและอัจฉรยิ ะภาพเดก็ ไทย แหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน (n = ๑๓๕) รายการ ค่าเฉลี่ย คา่ รอ้ ยละ ระดบั ๑. การจัดการศกึ ษา ในรปู แบบ STEAM EDUCATION 4.88 95.94 มากทีส่ ุด ๒. Google Workspace for Education 4.76 94.06 มากที่สดุ เครื่องมอื ทจี่ ะยกระดบั การเรยี น การสอน การทำงานรว่ มกนั 4.92 97.37 มากทส่ี ดุ ๓. Google Workspace for Education : Collaborative Tool ๔. การสร้างสมรรถนะ คุณภาพใหมแ่ ละอัจฉริยะภาพของเด็กไทยใน 4.9๐ 96.49 มากที่สดุ ศตวรรษท่ี ๒๑ ตามธรรมชาติและศักยภาพแห่งตนด้วยกระบวนการวิจัย 4.9๐ 95.57 มากที่สดุ อยา่ งงา่ ย ๕. ยทุ ธศาสตร์ Steam Education ๖. การออกแบบหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละแผนการเรียนรู้หนา้ เดยี ว โครงงานหน้า 4.88 97.63 มากท่สี ดุ เดียว ด้วยกระบวนการ Active Learning เพ่ือสรา้ งคณุ ภาพใหม่และ 4.83 96.59 มากทส่ี ดุ อจั ฉรยิ ะภาพเดก็ ไทยแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ดว้ ยกระบวนการวิจัยอย่างงา่ ย ๗. การสรา้ งคลิปการสอน Steam education ดว้ ยกระบวนการ Active 4.75 95.09 มากท่สี ุด Learning + ทกั ษะการเขียนขนั้ สงู +ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ดว้ ย กระบวนการวจิ ัยอยา่ งง่าย สอดคล้องตาม ว.PA ๘. เนอื้ หามีตรงตามความต้องการทท่ี า่ นสนใจรบั การพัฒนา ๙. ความเหมาะสมดา้ นระยะเวลาในการอบรม 4.76 95.28 มากทส่ี ดุ ๑๐. ความเหมาะสมของสถานทีจ่ ัดอบรม ความสะอาด ความสะดวก ความ ๔.77 95.44 มากที่สุด ปลอดภยั ค่าเฉลี่ย 4.87 95.85 มากที่สุด จากตาราง ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมที่มีตอ่ โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบ พา คดิ +พาทำ การจัดการเรยี นรู้วิถีบรู ณาการองค์รวม เพ่ือสร้างสมรรถนะและอจั ฉริยะภาพเดก็ ไทย แหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ STEAM EDUCATION ความพึงพอใจที่มีคา่ เฉลยี่ และคา่ ร้อยละ พิจารณาเป็นรายหัวข้อเรียงจากมากไปหา น้อย จำนวน ๓ อนั ดับ พบว่า การบรรยายหวั ขอ้ ที่ ๖ การออกแบบหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละแผนการเรียนรหู้ นา้ เดียว โครงงานหนา้ เดียว ดว้ ยกระบวนการ Active Learning เพ่ือสรา้ งคณุ ภาพใหม่และอัจฉริยะภาพเด็กไทยแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ดว้ ยกระบวนการวิจยั อย่างงา่ ย อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด ค่าเฉล่ยี 4.๘๘ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๗.๖๓ เป็น อนั ดับที่หน่ึง หัวขอ้ ท่ี ๓ เร่อื ง Google Workspace for Education : Collaborative Tool อยู่ในระดับมาก ท่สี ุด ค่าเฉล่ยี 4.๙๒ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๗.๓๗ เป็นอันดบั สอง และ การบรรยายหัวข้อท่ี ๗ การสรา้ งคลิปการสอน Steam education ด้วยกระบวนการ Active Learning + ทักษะการเขยี นขั้นสงู +ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ด้วย

๑๘ กระบวนการวจิ ัยอยา่ งง่าย สอดคล้องตาม ว.PA อย่ใู นระดับมากท่สี ดุ ค่าเฉลี่ย 4.๘๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๖.๕๙ เป็น อนั ดับสาม ทกุ หัวข้อการบรรยาย มีความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ ทุกหัวข้อ

๑๙ สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้าง สมรรถนะและอจั ฉรยิ ะภาพเด็กไทย แหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ STEAM EDUCATION ซง่ึ การดำเนินงานในคร้ังนี้ รนุ่ ที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นครู และบุคลากรทางการศึกษาสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน ๑๓๕ คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมินความพึง พอใจโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจัดการเรียนรู้วิถีบูรณาการองค์รวม เพื่อสร้าง สมรรถนะและอจั ฉริยะภาพเด็กไทย แหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ STEAM EDUCATION สถติ ทิ ใี่ ช้ในการประเมินผล ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ สรปุ ผลโครงการ ความพึงพอใจของผู้เขา้ รบั การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ พาคิด+พาทำ การจดั การเรยี นรู้วถิ บี รู ณาการองค์รวม เพ่อื สร้างสมรรถนะและอจั ฉริยะภาพเดก็ ไทย แห่งศตวรรษท่ี ๒๑ STEAM EDUCATION อยู่ในระดับมากท่ีสดุ ค่าเฉล่ีย 4.๘๗ คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๕.๘๕ อภิปรายผล จากผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม พบว่า มีผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมากที่สุด การจัดกิจกรรมตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการ เนื่องจากผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติในห้อง อบรม ไดร้ ว่ มกิจกรรม รับความรู้จากวทิ ยากรท่มี ีความร้คู วามสามารถในเร่ืองท่ีสนใจ ผเู้ ข้ารบั การอบรมเหน็ วา่ การ จัดกิจกรรมของการอบรมในครั้งนี้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการที่ต้องการส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ ความรู้ความเข้าใจ STEAM EDUCATION มีทักษะและตระหนักถึงประโยชน์ความจำเป็นในการจัดการเรียนการ สอนในศตวรรษที่ ๒๑ รวมถึงเสริมสร้างศักยภาพและประสบการณ์การสร้างและใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนการ สอน มขี ้อเสนอแนะให้จัดเปน็ โครงการต่อเน่ือง เพอื่ การพฒั นาอยา่ งย่ังยืน สรา้ งนวัตกรรมในการยกระดับคุณภาพ การจดั การเรยี นรู้ ตามความตอ้ งการและบรบิ ทของท้องถน่ิ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผเู้ ขา้ รับการอบรม 1. เน้นปฏบิ ตั ใิ ห้เห็นเดน่ ชดั ทา่ นวทิ ยากรให้ความรู้ชัดเจนดี 2. เปน็ โครงการทด่ี ีมาก เกิดความรู้ และสามารถนำไปใช้ได้จรงิ ในการปฏิบตั งิ าน 3. จดั ให้มีการสอนทำแผนไปพร้อมกับไดล้ งมือปฏบิ ัติจรงิ เพื่อนำไปใช้ได้จรงิ ๔. ควรให้ผมู้ าอบรมกลับไปขยายผล และสะท้อนกลบั มายังทีมงานกำกบั และตดิ ตามผล

๒๐ ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ โครงการครั้งตอ่ ไป 1. ควรระบุในหนงั สอื เชญิ อบรมเป็นผบู้ ริหารสถานศกึ ษาเข้ารบั ฟงั การบรรยาย เพราะ ครไู ม่มีอำนาจใน การนำความรู้ไปต่อยอดท้ัง โรงเรยี น 2. ในการอบรมครั้งตอ่ ไป การปฏิบัตกิ ารเขา้ ถึงส่ือ การสรา้ ง และพัฒนาส่ือ ควรใหผ้ ้รู ับการอบรม นำโน๊คบุคเขา้ มาร่วมในการปฏบิ ตั ิจริงดว้ ย เพ่อื การเข้าถึงแหล่งสื่อและลงมือปฏิบัตจิ ริง ๓. ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมต้องการให้มกี ารจัดอบรมเร่ือง การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้สอ่ื เทคโนโลยแี ละ นวัตกรรม

๒๑ ภาคผนวก ภาพประกอบกิจกรรมโครงการ

๒๒ ภาพกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร

๒๓ ภาพกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร

๒๔ ภาพกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร

๒๕ ภาพกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร

๒๖ ภาพกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร

๒๗