Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KT MODEL

KT MODEL

Published by jt2554, 2021-04-21 08:52:01

Description: นวัตกรรม KT MODEL
ชื่อ-สกลุผู้เสนอผลงาน นางสาวสายพิศ นุ่นศรี ตำแหน่ง ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดบางใหญ่

Search

Read the Text Version

นางสาวสายพิศ นุ่นศรี สายพิศ นุ่นศรี ตาแหน่งครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นวดั บางใหญ่Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต ๑

๑ กรอบการนาเสนอผลงานท่ีมีวิธีปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) การจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-19) สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 *************************** ชือ่ ผลงาน KT MODEL (Knowledge Technology) การใชเ้ ทคโนโลยีเพอื่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ชอื่ -สกลุ ผเู้ สนอผลงาน นางสาวสายพศิ นนุ่ ศรี ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย วิทยฐานะ - โรงเรียน วัดบางใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 โทรศัพท์ - โทรสาร - โทรศพั ท์มอื ถือ 093-๕๗๙๑๒๙๙ E-mail [email protected] 1. ความสาคัญ ความเปน็ มา ของวิธีปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ การศึกษาในประเทศไทย เป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทย โดยภาครัฐ จะเข้ามาดูแลโดยตรงและเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัยจนถึง ระดับอุดมศึกษา สาหรับการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยน้ันได้กาหนดให้พลเมืองไทยต้องจบการศึกษา อย่างน้อยทส่ี ุดในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และตอ้ งเข้ารับการศึกษาอย่างช้าสุดเมอ่ื อายุ 7 ปี ซึง่ การศึกษา ภาคบงั คับน้ีเป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ซ่ึงแบง่ ออกเป็นระดับช้นั ประถมศกึ ษา 6 ปีและมัธยมศกึ ษา 6 ปี นอกจากนี้แล้วการศึกษาขั้นพ้ืนฐานยังรวมถึงการศึกษาปฐมวัยอีกด้วย ท้ังนี้รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตามความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่วน การบริหารและการควบคุมการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะดาเนินการโดยสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ซึ่งเปน็ แผนกหนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในปัจจุบันการศึกษาในประเทศไทยมีท้ังสิ้น 3 รูปแบบ คือ การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ระดบั การศกึ ษาในประเทศไทยการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ประกอบไปดว้ ย ๑. ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา สาหรับเด็กอายุ 3-6 ขวบ ใชเ้ วลา 3 ปี ๒. ระดบั ประถมศึกษา ใช้เวลาเรียน 6 ปี ๓. ระดับมธั ยมศกึ ษา แบง่ เปน็ ตอนตน้ 3 ปี และตอนปลาย 3 ปี ซง่ึ ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายมีแยก ประเภทเป็นสายสามญั เพ่ือปูพื้นฐานการศึกษาตอ่ กับสายอาชีวศึกษาที่เน้นความรดู้ ้านทักษะเพื่อการ ประกอบอาชีพ Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นุ่นศรี

๒ ๔. การศึกษาระดับอุดมศึกษา มี 2 ระดับ คือ ต่ากว่าปริญญา(อนุปริญญา) และ ระดับปริญญาและตาม พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดแนวการจดั การศึกษาของชาตไิ ว้ในหมวดท่ี 4 ต้งั แต่มาตรา 22 ถงึ มาตรา 30 ซงึ่ สรุปสาระสาคญั ได้ ดงั น้ี 1. การจัดการศึกษาต้องเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน/ประสบการณ์การเรียนรู้ ยดึ หลกั ดงั นี้ 1.1 ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ดังน้ันจึงต้องจัดสภาวะแวดล้อม บรรยากาศรวมท้ังแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ให้หลากหลาย เพ่ือเอ้ือต่อความสามารถของแต่ละบุคคล เพื่อให้ผู้เรียน สามารถ พัฒนาตามธรรมชาติท่ีสอดคล้องกับความถนัดและความสนใจ เหมาะสม แก่วัย และศักยภาพของ ผู้เรียน เพ่ือให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ และเป็นการเรียนรู้กันและกัน อันก่อให้เกิดการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพ่ือการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติโดย การ ประสานความร่วมมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ผู้ปกครอง บคุ คล ชมุ ชน และทุกสว่ นของสงั คม 1.2 ผเู้ รียนมคี วามสาคัญที่สุด การเรียนการสอนมุ่งเน้นประโยชน์ ของผู้เรียนเปน็ สาคัญ จึงต้องจดั ให้ ผเู้ รยี นได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ฝึก ปฏิบัตใิ หท้ าได้คิดเปน็ ทาเป็น มนี ิสัยรักการเรียนรู้และเกิดการใฝ่รใู้ ฝ่ เรยี น อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต 2. มุ่งปลกู ฝังและสร้างลักษณะท่ีพึงประสงค์ใหก้ บั ผูเ้ รยี น โดยเน้น ความรู้ คุณธรรม ค่านิยมท่ดี งี ามและบูรณา การความรู้ในเร่ืองต่าง ๆ อย่าง สมดุล รวมท้ังการฝึกทักษะและกระบวนการคิด การจัดการการเผชิญ สถานการณ์ และการประยกุ ตใ์ ช้ความรโู้ ดยใหผ้ ้เู รยี นมีความร้แู ละประสบการณ์ ในเรือ่ งตา่ ง ๆ ดังนี้ 2.1 ความรู้เร่ืองเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับ สังคม ได้แก่ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการ ปกครองใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 2.2 ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งความ รู้ความเข้าใจและประสบการณ์ เร่อื งการจดั การ การบารงุ รกั ษา และการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ ยง่ั ยืน 2.3 ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญา ไทย และการรู้จักประยุกต์ใช้ภูมิ ปญั ญา 2.4 ความรู้และทักษะดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละดา้ นภาษา เน้นการใช้ ภาษาไทยอยา่ งถกู ตอ้ ง 2.5 ความร้แู ละทกั ษะในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่าง มีความสขุ Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นุน่ ศรี

3. กระบวนการเรียนรู้ ในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติได้กาหนด แนวทางในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งดังน้ี 2 3 ปฏิรูปการเรียนรู้ ปฏริ ปู การเรยี นรู้ ๓ 3.1 จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและ ความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 3.2 ให้มีการฝึกทกั ษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มา ใช้เพ่ือป้องกนั และแก้ไขปญั หา 3.3 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการ ปฏิบัติให้ทาได้คิดเป็น ทาเป็น รัก การอ่าน และเกดิ การใฝร่ อู้ ย่างตอ่ เนอื่ ง 3.4 จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่าง ได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา 3.5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน สามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม ส่ือการเรยี นและอานวยความสะดวก เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้และมี ความ รอบรูร้ วมท้ังสามารถใชก้ ารวิจัยเปน็ สว่ นหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ 3.6 ผูเ้ รียนและผู้สอนเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกนั จากส่อื การเรียนการสอน และแหลง่ วิทยาการประเภทต่างๆ 3.7 การเรียนรู้เกิดข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพ่อื รว่ มกนั พฒั นา ผเู้ รียนตามศกั ยภาพ แต่เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีระบาด มาแล้วเมอ่ื ปลายปี พ.ศ. 2563 แต่ในเดอื นมกราคมกลบั มาระบาดอีกครงั้ ซ่ึงพบว่า การแพร่ระบาดครั้งใหม่น้ี มีความรุนแรง มีปริมาณการขยายตัวในวงกว้างและรวดเร็วมากกว่าครั้งท่ีผ่านมา ดังน้ัน เพ่ือเป็นการเตรียม ความพร้อมรองรับสถานการณ์ ให้เป็นไปตามมาตรการของ ศบค. จึงได้เน้นย้าใน 3 เรื่อง คือ สานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาทุกแห่ง ต้องส่ือสารสร้างความเข้าใจพร้อมดาเนินการตามมาตรการเพ่ือให้ นักเรียนหรือบุคลากรปลอดภัยจากการติดเช้ือCOVID-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการของ ศบค. ทาให้ประเทศ ไทยได้ประกาศปิดสถานศึกษา ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนของประเทศไทยในทุกระดบั การศึกษา ทาให้สถานศึกษาต้องถูกปิดไปด้วย เพ่ือลดช่องทางการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐19 (( COVID 19) กาหนดให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียน และสถาบันการศึกษาทุกประเภทเพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ การอบรม หรือการทากิจกรรมใดๆ ท่ีมี ผู้เข้าร่วมเป็นจานวนมาก เว้นแต่เป็นการดาเนินการสื่อสารแบบทางไกล หรือด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ และจาก เหตุการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐19 (COVID -19) รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ ฉกุ เฉินในพนื้ ท่ีทว่ั ราชอาณาจักร โดยอาศยั อานาจตามพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ. 2548 ให้ดาเนินการปิดสถานศึกษา ทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องหยุดชะงักแต่ไม่ว่า สถานการณ์จะเลวร้ายรุนแรงเพียงใด การเรียนรู้ที่เข้าถึงได้และมีคุณภาพเป็นเป้าหมายสูงสุด ภายใต้แนวคิด นโยบายของ นายณัฎพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ “ การเรียนรู้นาการศึกษา” โรงเรียนหยุด Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นุ่นศรี

ได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้ จากส่ิงท่ีเกิดข้ึนจึงจาเป็นต้องทาทุกวิธี เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธภิ าพสูงสดุ โดยตดั สนิ ใจบนพื้นฐาน 6 ขอ้ (กระทรวงศึกษาธกิ าร ;2563 ) ๔ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัยสูงสดุ 2. อานวยความสะดวกให้นกั เรียนทุกคนสามารถเขา้ ถงึ การเรียนการสอนได้ 3. ใชส้ ่งิ ที่มีอยู่แลว้ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ เชน่ การเรียนผา่ น DLTV 4. ตัดสนิ ใจนโยบายตา่ งๆบนพน้ื ฐานของการสารวจความพร้อมและความต้องการของ นกั เรยี น ครู และ โรงเรียน 5. ปรบั ปฏิทินการศกึ ษาของไทย ให้เออ้ื ตอ่ การเรียนเพือ่ รู้ของเด็กมากย่ิงขนึ้ 6. บุคลากรทางการศกึ ษาจะไดร้ ับการดูแลและผลกระทบเชงิ ลบจากการเปลย่ี นแปลงน้อย สาหรับจังหวัดนครศรีธรรมราช เม่ือวันที่ 5 ม.ค.64 นายไกรศร วิศิษฏ์วงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ได้มีคาส่ังด่วนปิดโรงเรียนทุกแห่งทั้งโรงเรียนรัฐและเอกชนท่ัวจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นเวลา 15 วันต้ังแต่วันที่ 6 มกราคม 2564 เป็นต้นไปจนถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-2019 แม้จังหวัดนครศรีธรรมราชจะเป็นพื้นท่ีระวังสีส้ม มี ผู้ป่วยเพียง 3 รายก็ตาม แต่เพ่ือความไม่ประมาท และเพ่ือความสบายใจของผู้ปกครองของนักเรียน (ประชาสมั พันธจ์ งั หวดั นครศรีธรรมราช www เขา้ ถงึ เม่ือวันที่ ๖ กุมภาพนั ธ์ 2564 ) ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ได้เห็นความสาคัญ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต้องปรับเปล่ียนใน รูปแบบท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ ขึ้นอยู่กับบริบทของโรงเรียน ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ตลอดจนความ พร้อมของผู้ปกครองในเรื่องวัสดุเครื่องรับดาวเทียม หรือโทรศัพท์ ระบบอินเตอร์เน็ต ฯลฯ ท้ังน้ีคณะครู โรงเรียนวัดบางใหญต่ ระหนักถงึ ความสาคัญในเร่ืองตา่ งๆ เหลา่ น้ี จงึ ได้คิดนวัตกรรมสาหรับการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนให้กับนักเรียนในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ขึน้ ซง่ึ เปน็ ที่มสี ามารถทจี่ ะรับรู้และเรยี นรู้รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยใช้เทคโนโลยีแบบออนไลน์และมีความพร้อมในการเรียนรู้เพ่ิมเติมให้ตนเองเพื่อสร้างองค์ความรู้จาก เครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ด้วย เพ่ือประกอบกับการเรียนการสอนท่ีต้องเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ให้เกิดคุณภาพตามศักยภาพของหลกั สูตรและสถานการณก์ าหนดไว้ ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษา ตอนต้น ซึ่งเปน็ วยั ท่มี ีความสามารถและความพร้อม และสนใจเรียนการเรียนแบบส่ือออนไลน์ ดังนน้ั จงึ จะต้อง จัดกิจกรรมท่ีมีความน่าสนใจ และหลากหลายให้กับนักเรียน ดังน้ันครูผู้สอนจึงได้ดาเนินการ จัดทา KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยเี พ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ข้นึ ดังรปู ประกอบ Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๕ รูปแบบจดั การศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) : KT MODEL (การใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู)้ Knowledg Knowledg Knowledg Vision Sharirng Assets (ทาเพอื่ อะไร) (การแลกเปล่ียนเรยี นรู)้ (คลงั ความรู)้ Technology (เทคโนโลย)ี Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๖ ๒. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนินงาน ๒.๑ วัตถุประสงค์ 2.1.1 เพ่ือจัดสร้างสื่อ นวัตกรรมท่ีเหมาะสมให้กับนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.1.2 เพอื่ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับนักเรยี นไดศ้ กึ ษาเรยี นรโู้ ดยความรว่ มมือ ของผู้ปกครองในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ๒.๑.๓ เพอื่ สง่ เสริมและกระตุ้นให้ผู้เรยี นเกดิ ความสนใจในการเรียนรู้ทางไกลใสถาน การณ์การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒.๑.๔ เพอื่ ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้จากนวตั กรรมทีใ่ ชใ้ นสถานการณ์การ แพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒.๑.๕ เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน และผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมการเรียน ทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ (COVID –19 ) ๒.๒ เป้าหมายของการดาเนินงาน เป้าหมายเชงิ ปริมาณ 2.2.1 ครูมนี วตั กรรม ทีเ่ หมาะสมให้กับนกั เรียนในการจดั การเรยี นรู้ทางไกลใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.2.2 ผเู้ รียนระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ทุกคน ได้เรยี นร้ทู างไกลในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยา่ งเหมาะสม 2.2.๓ ผู้เรียนร้อยละ 8๐ มีความรู้ผ่านเกณฑ์ตามตวั ช้วี ดั ตามหลกั สตู รท่ีกาหนดใน เน้ือหาท่ีจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.2.๔ ครูและผ้ปู กครองรอ้ ยละ 80 มีความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการศึกษา ทางไกลใหก้ ับนักเรยี นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๗ เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ ๑.ครูสามารถสรา้ ง นวตั กรรม จดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู างไกล โดยการใช้สื่อและเทคโนโลยี ทีทันสมัยในการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และนาสื่อนวัตกรรมมาใช้ในการจดั การศึกษาทางไกลได้ด้วยความภาคภูมิใจ 2. ผเู้ รียนได้เรยี นรผู้ ่านสื่อนวตั กรรมทท่ี นั สมยั และสามารถผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตาม เนอื้ หาและตวั ชว้ี ัดทห่ี ลกั สตู รกาหนดดว้ ยความสามารถของนกั เรียนโดยความร่วมมือของผู้ปกครอง 3 ไดค้ วามสัมพนั ธท์ ่ดี ีระหว่างครู นักเรียน ผปู้ กครองและโรงเรียน ท่ีรว่ มกนั จดั การศกึ ษา ให้กับนกั เรียน ด้วยความรู้สึกรบั ผดิ ชอบร่วมกนั เพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรูท้ ี่ดบี รรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตงั้ ไว้ 4.นกั เรียนมีความสนใจ ต้ังใจ และกระตอื รอื รน้ ในการทากิจกรรมในสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รูปแบบการเรียนออนไลน์ เฉพาะวชิ าสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมของแต่ละช้ัน เรยี นในระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ (ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-๓) Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นุ่นศรี

๘ ๓. กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน หรอื ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ๓.๑ กระบวนการปฏิบัตงิ าน กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยเี พอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ได้ ดาเนนิ การตามวธิ กี ารและกระบวนการท่ีมคี วามหมาย ดงั น้ี Knowledg Vision (ทศิ ทางของการเรียนรู้) K Knowledg Sharing (การแลกเปล่ยี นความรู้) Knowledg Assets (คลังความรู้) Teacher (ครู,ผ้สู อน) T Technology (เทคโนโลย)ี Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ นุ่นศรี

๙ ๓.๒ การดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ๓.๒.๑ Knowledg Vision (ทศิ ทางของการเรยี นรู้) (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนท่ีเป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการ จดั การความรู้ โดยก่อนท่จี ะทาจัดการ โดยมี \"คุณเอื้อ\" และ \"คณุ อานวย\" คอยชว่ ยเหลอื โดยโรงเรียนวัดบางใหญ่ได้มีจัดให้มีประชุมกับคณะครูและผู้บริหารเพ่ือรับรู้และสร้างความ เข้าใจท่ีตรงกันในการรับทราบนโยบายการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เก่ียวกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัด นครศรีธรรมราชในภาพรวมของประเทศ และของโลกและการประกาศปดิ โรงเรียนท้ังจังหวัด 15 วัน ต้งั แต่วันที่ 6 - 20 มกราคม 2564 ของจงั หวัดนครศรธี รรมราช เพ่ือป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรนา-๒๐19 และชี้แจงแนวทางการจัดการศึกษาของ สพฐ. ในห้วงเวลาท่ีปิดเรียน ตามท่ี สพฐ.กาหนด โดยให้ดาเนินการจดั การเรยี นการสอน ใน 5 รปู แบบ คือ 1. On Site คือให้มาเรียนตามปกติได้ในพื้นท่ีท่ีไม่ใช่สีแดง แต่ต้องเว้นระยะหรือลดจานวน นักเรยี นตอ่ หอ้ งลง สาหรบั จงั หวัดพ้นื ทสี่ เี ขียว สามารถจัดการเรยี นการสอนในโรงเรยี นได้ตามปกติ 2. On Air คือ การออกอากาศผ่าน DLTV เป็นตัวหลักในการกระจายการสอน โดยใช้ โรงเรียนวังไกลกังวลเป็นฐานในการจัดการเรียนการสอน สามารถดูได้ทั้งรายการท่ีออกตามตาราง และรายการทดี่ ูย้อนหลัง 3. Online ให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนการสอน ผ่านเครื่องมือที่ทางโรงเรียนกระจายไปสู่ นกั เรยี น เปน็ รปู แบบทีถ่ ูกใช้ในการจดั การเรยี นการสอนจานวนมากทสี่ ุด 4. On Demand เป็นการใช้งานผา่ นแอปพลิเคชนั่ ตา่ งๆ ทคี่ รูกับนกั เรยี นใชร้ ่วมกัน 5. On Hand หากจัดในรูปแบบอื่นๆ ที่กล่าวมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือจัด ใบงานให้กับนักเรียน เป็นลักษณะแบบเรียนสาเร็จรูป ให้นักเรียนรับไปเป็นชุดไปเรียนด้วยตัวเองที่ บ้าน โดยมีครูออกไปเยี่ยมเป็นคร้ังคราว หรือให้ผู้ปกครองทาหน้าท่ีเป็นครูคอยช่วยเหลือ เพ่ือให้ นักเรียนสามารถเรียนได้อย่างต่อเน่ือง ถึงแม้โรงเรียนจะปิดแต่ต้องไม่หยุดการเรียนรู้ (www.obec.go.th/archives/363188 เข้าถงึ วนั ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2564) ท้ังนี้ในที่ประ.ชุมกาหนดให้ครูผู้สอนแต่ละคนเลือกวิธีการสอนที่ตัวเองถนัด ท่ีผู้ปกครองและ นกั เรียนสามารถดาเนนิ การได้ ๑.๒ ร่วมประชุมกับคณะครูที่สอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ในรายสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพอื่ หาข้อตกลง และวิธีการจัดกิจกรรมร่วมกนั ๑.๓ ติดต่อผู้ปกครองเพ่ือชี้แจงทาความเข้าใจการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงการ แพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสารวจความพร้อมของนักเรียน และผูป้ กครองในดา้ นอปุ กรณก์ ารส่ือสารต่างๆ เชน่ โทรศัพท์ โทรทศั น์ สญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๑๐ ๑.๔ ดาเนินการวางแผนการดาเนินงาน สร้างกลุ่มไลน์ของผู้ปกครองกับคณะครูที่สอนใน รายวิชาต่างๆในระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และสร้างข้อตกลงรว่ มกนั เก่ยี วกบั วธิ ีการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอน และวิธีการช่วยเหลือด้านต่างๆกับผู้ปกครองและนักเรียนท่ีไม่สามรถเข้าถึงกลุ่มไลน์ได้ เช่น การโทรศัพท์ นัดพูดคุยถึงวิธีการทากิจกรรมของนักเรียนในวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม และการนดั รบั ส่งใบงานของนกั เรียน ๑.๕ ครูท่ีรับผิดชอบในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับช่วงชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น ดาเนินการตามลาดับขั้นตอนโดยในที่ประชุมกาหนดไว้ พร้อมทั้งประสานงาน ผู้ปกครองและนักเรียนสามารถดาเนินการเรียนรู้ได้ ท้ังนี้ ให้ครูกาหนดตัวช้ีวัดที่จะทาการสอนท่ี เหมาะสมในสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ๑.๖ ครูวางแผนกาหนดตัวช้ีวัดในรายวิชาที่สอน ซ่ึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนสอนในกลุ่มสาระวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยได้ดาเนินการคัดเลือก LINK และ จัดทาใบงาน เอกสาร แบบฝึกต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เพื่อส่งไปให้ในกลุ่มไลน์ของ ผ้ปู กครองเพ่ือใหน้ ักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ตาม LINK นน้ั ๆและหาช่องทางการรับรู้ในการเรียนล่วงหน้า ให้กับเด็ก ผู้เรียน และผู้ปกครอง ๓.๒.๒ Knowledg Sharing (การแลกเปลีย่ นความรู)้ (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซ่ึงถือว่าเป็นส่วนสาคัญ ซ่ึง \"คุณอานวย\" จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ \"คุณกิจ\" มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นท่ีมีอยู่ในตัว \"คุณกิจ\" พร้อมอานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็น ทมี ให้เกดิ การหมนุ เวียนความรู้ ยกระดบั ความรู้ และเกิดนวัตกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) คือ การที่กลุ่มคนที่มีความสนใจในเร่ืองใด เรื่องหน่ึงร่วมกัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพ่ือร่วมสร้างความเข้าใจ หรือพฒั นาแนวปฏิบตั ิในเรื่องนน้ั ๆ องค์ประกอบหลักที่สาคัญๆ ของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) มีอยู่ด้วยกัน 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ๑. คน (People) – ถือว่าเป็นองค์ประกอบทสี่ าคัญทีส่ ุด เพราะเปน็ แหลง่ ศูนยร์ วมของ ความรู้ที่สมควรนาออกมาแบ่งปนั เป็นอย่างยิ่ง โดยก็ควรจะเปน็ คนที่มีความรูจ้ ากการปฏิบัติจริง และ อยากจะมาแบง่ ปนั และแลกเปลี่ยนความรนู้ น้ั ดว้ ยความเต็มใจ ๒. สถานที่ และบรรยากาศ (Place) – เป็นองค์ประกอบทีส่ าคญั อกี ประการหน่ึงที่จะทา ให้การแลกเปลยี่ นเรียนร้มู ชี ีวิตชีวาและนา่ สนใจ เพราะสถานที่และบรรยากาศท่ีดี (สบายๆผ่อนคลาย) มีความเหมาะสมกับแต่ละกลุ่มคน จะทาให้คนเหล่าน้ันมาเจอกันพูดคุย ปรึกษา วิเคราะห์ ปญั หา แบ่งปัน และแลกเปลี่ยนเรียนร้ซู ง่ึ กนั และกนั อย่างสบายใจ ๓. สงิ่ อานวยความสะดวกตา่ งๆ (Infrastructure) – เปน็ องค์ประกอบทส่ี าคัญทช่ี ว่ ยให้ การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดได้ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น กระดานสาหรับเขียน คอมพิวเตอร์ สาหรับการสรุปและจัดเก็บความรู้รวมถึงการแบ่งปัน (Share) หรือการส่งต่อข้อมูลและเมื่อมีองค์ประกอบท้ัง Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นุ่นศรี

๑๑ 3 ประการพร้อมแล้ว การที่จะทาให้การแลกเปล่ียนเรียนรู้นั้นประสบความสาเร็จ และใช้ประโยชน์ได้จริง ก็ ควรคานึงถงึ ปัจจยั ที่สาคัญๆของการแลกเปลี่ยนเรยี นรูท้ ่ีมปี ระสทิ ธิผล (Effective Knowledge Sharing) ดงั นี้ ปัจจัยหลกั ของการแบ่งปันและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 6 ประการ ไดแ้ ก่ 1. กาหนดเป้าหมายการแบ่งปนั และแลกเปลย่ี นเรยี นรูใ้ ห้ชดั เจนและสัมพนั ธก์ บั เป้าหมายทางธุรกจิ 2. สรา้ งผูน้ าทเ่ี ป็นแบบอย่าง 3. สรา้ งเครอื ข่ายของผมู้ ีความรู้จากการปฏบิ ัติ (Human Networks) 4. กาหนดวิธกี ารแบ่งปนั และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ใหเ้ หมาะกบั วัฒนธรรมองคก์ ร 5. แบ่งปันและแลกเปลย่ี นเรียนรทู้ ี่นาไปใช้ในงานประจาวนั ได้ 6. สร้างแรงจูงใจท่ีสนบั สนุนการแบ่งปนั และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ท่ีมีประสิทธิผลนั้น จะต้องประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ คน, สถานท่ี และสง่ิ อานวยความสะดวก รวมท้งั ดาเนินกจิ กรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยพิจารณา 6 ปัจจัยหลัก ข้างต้น ด้วยการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ที่มี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลอย่างแท้จริง (อา้ งองิ http://arit.mcru.ac.th/km/index.php?p) ดงั นัน้ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา-๒๐19 เป็นสถานการณ์ทีผู้เรียนไม่ไดเ้ รยี นรู้ ตามปกติ ทาให้ผู้สอนต้องคิดค้นหานวัตกรรม และวิธีการ ในการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้ เพ่ือนามาใช้ในกิจกรรมการเรยี นการสอนของวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท่ีควรจะเป็น โดย การใช้เทคโนโลยแี ละสื่อช่องทางออนไลน์ต่างๆ เชน่ การแชร์ LINK และจดั ทาใบงาน เอกสาร แบบฝึกต่างๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เพื่อส่งไปให้ในกลุ่มไลน์หรือลงในช่องแชทMessengerของFacebook ที่ถูก จัดสร้างข้ึนใช้เป็นช่องทางในการติดต่อส่ือสารระหว่างครูผู้สอนกับตัวผู้เรียนในกลุ่มวิชาสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นการสร้างกลุ่มข้ึนใช้ในการติดต่อเฉพาะวิชาดังกล่าว โดยโรงเรียนวัดบาง ใหญ่ ได้ปฏิบัติตามคาสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช และแนวนโยบายของ สพฐ. ในการจัดการ เรียนร้ใู ห้กบั ผูเ้ รยี นดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลาย เชน่ Online On Demand และ On Hand ข้าพเจ้าเป็นครูผู้สอนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น รับผิดชอบกลุ่มสาระหลักคือ กลุ่มสาระสังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งโรงเรียนมีนโยบายในการจัดการเรียนให้กับเด็กโดยเน้นสาระหลัก และให้ Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๑๒ คัดเลือกตัวชี้วัดท่ีสามารถจัดการเรียนการสอนแบบทางไกลได้ และสามารถบูรณาการเช่ือมกับสาระการ เรียนรู้ของกลุ่มสาระอ่นื ๆ โดยนามาบูรณาการในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนการสอนได้ ดังน้ันโรงเรียน วดั บางใหญ่จึงสามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในแตล่ ะวันตามตารางเรยี นปกติ ๓.๒.๓ Knowledg Assets (คลงั ความรู้) คลังความรู้ ซ่ึงเปรียบเสมือน “ถัง” ท่ีเรานาเอาความรู้มาใส่ไว้ แล้วใช้ระบบการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อผู้ใช้ประโยชน์สามารถนาเอาไปใช้ได้จริง ซึ่งความรู้ที่มีอยู่ในคลังน้ี สามารถ แบง่ ได้เป็น 3 แบบ คือ 1. เป็นการบันทึกในลักษณะเรื่องเล่า หรือคาพูดที่เร้าใจ เพ่ือทาให้ผู้อ่านเกิดความสนใจ เกิดแรง บนั ดาลใจ ความรใู้ นลักษณะนี้ จะเปน็ ความรู้แบบ Tacit Knowledge 2. เปน็ การบนั ทกึ ความรทู้ ีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรปุ เป็นประเดน็ สาระสาคัญ ซึง่ เป็นความรู้ แบบ Explicit Knowledge 3. เป็นส่วนของความรู้ท่ีอา้ งอิงจากแหลง่ ความรู้ตา่ งๆ ทง้ั ที่อยู่ในรูปของเอกสาร การอา้ งอิงถงึ ตวั บุคคล ผู้รู้ หรือ ผู้เชีย่ วชาญ ชานาญการ ท่ี เรยี กวา่ References (อ้างองิ http://www.resource.lib.su.ac.th/km/index.php/kmis) จากข้อความข้างต้นท่ีกล่าวมาเป็นการให้ความหมายของ Knowledg Assets คลังความรู้ ที่สามารถ นามาใช้เป็นองค์ความรู้ทางการเรียนการสอนกลุ่มวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยการใช้แหล่ง เรียนรู้ที่สามารถนาความรู้มาใช้ได้จากการใช้เครือข่ายอินเตอร์และเทคโนโลยีควบคู่กับการเรียนการสอนของ วิชาดงั กลา่ ว ซ่ึงผู้เรยี นสามารถทจ่ี ะศึกษาเรียนรู้ หาขอ้ มูลทางการศึกษาได้จากการสอนในรูปแบบจัดการศึกษา ทางไกลในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)ได้และถือเป็นการปฏิบัติ ตามหลกั คาสงั่ ของหนว่ ยงานภาครัฐ จงึ จัดได้ว่าการใช้สื่อ ใบงาน หรือเอกสารท่ีการอ้างอิงมคี วามน่าเชอ่ื ถอื ทาง วิชาการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สามารถนามาใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนได้ สาหรับกลุ่มสาระสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ดังน้ันคลังความรู้กับการศึกษา ในยุคสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ถือว่าเป็นช่องทางที่ดีในการเรียนการสอน และมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นหัวใจหลักในการ จัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียน ครูผู้สอนและโรงเรียน นอกจากนั้นความสัมพันธ์ท่ีดียังเป็นปัจจัยพื้นฐาน ในการเรียนของผู้เรียน เป็นเง่ือนไขสาคัญของความสาเร็จและความล้มเหลวทางการศึกษาของผู้เรียน และ ความสัมพันธ์ท่ีดี จะทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่า โรงเรียนเป็นสถานท่ีมีเอาใจใส่และส่งเสริมให้ผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความสามารถทางวิชาการได้ตลอดเวลา แม้จะมีสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ก็ตาม ทางคณะครูโรงเรียนวัดบางใหญ่ก็สามารถท่ีจะจัดกิจกรรมการเรียนสอน เพื่อสรา้ งความรู้ ให้แก่นักเรียนได้ตรงตามตัวช้ีวัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งสามารถส่งผลต่อการเกิดพัฒนาการท่ีดีด้าน อารมณ์ สังคม และการเรยี น ซงึ่ ทัง้ หมดนี้ลว้ นเป็นปัจจัยท่สี ่งเสริมความสาเร็จดา้ นการศึกษาทัง้ สิน้ ดงั นั้นจงึ มี ความจาเปน็ ที่ผูส้ อนจะต้องมีความรแู้ ละคลงั การเรียนรู้กับผู้เรียน ตลอดจนผู้ปกครองของผู้เรียนอีกดว้ ยเพ่ือจะ ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา-๒๐19 โดยมีกระบวนการ และข้ันตอน ดงั น้ี Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๑๓ ๑. ผสู้ อนตงั้ กรปุ๊ ไลน์หรือกลุ่มแชทของFacebook เฉพาะวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมของ แต่ละชน้ั เรยี นในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ห้องละ 1 กลุ่ม ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๒. เชญิ ครผู ้สู อน ทกุ คนเขา้ ร่วมกรปุ๊ ไลน์หรอื กล่มุ แชทของFacebook ของแตล่ ะห้องเรยี น ใน ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น ๓. เชิญผู้ปกครองของผู้เรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น เขา้ รว่ มกร๊ปุ ไลน์หรือกลุ่มแชทของ Facebook ๔. ช้ีแจง ทาความเข้าใจเกย่ี วกับการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู นสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรนา-๒๐19 ผา่ นกร๊ปุ ไลน์โดยให้ผูป้ กครองได้มสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้ รูปแบบการสร้าง กร๊ปุ ไลน์หรือกลมุ่ แชทของFacebook เฉพาะวชิ าสังคมศกึ ษาศาสนา และวัฒนธรรมของแต่ละชั้นเรยี นในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-๓) Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๑๔ ๓.๒.๔ Teacher (ครู,ผู้สอน) ครู คอื ผู้ทมี่ ีความสามารถใหค้ าแนะนา เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนท์ างการเรยี น สาหรับนกั เรียน หรือ นักศึกษาในสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ ท้ังของรัฐและเอกชน มีหนา้ ท่ี หรือมีอาชีพ ในการสอนนักเรียน เกี่ยวกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการ ทางาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคานึงถึงพ้ืนฐานความรู้ ความสามารถ และ เปา้ หมายของนักเรยี นแตล่ ะคน ลักษณะพ้นื ฐานในตน 3 ประการ คือ 1. ครูต้องมี ฉันทะ ตอ่ อาชพี ครู เป็นพื้นฐาน 2. ครูตอ้ งมีความเมตตา ต่อเดก็ และบุคคลรอบข้างเปน็ พื้นฐาน และ 3. ครูตอ้ งมีความเป็น กลั ยาณมติ ร พร้อมเสมอท่จี ะช่วยเหลือผูอ้ นื่ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ิใจ ครูมืออาชีพต้องมีคุณภาพการสอน ส่ิงท่ีครูมืออาชีพควรตระหนักเป็นอย่างย่ิงก็คือ“คุณภาพ การสอน” ซึ่งเป็นความสามารถท่ีจะสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การเรียนรขู้ องผู้เรียนทุกคน ครมู ืออาชีพ จึงตอ้ งมีความสามารถต่อไปนี้ 1. สามารถประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์ และการจัดระบบ ได้อย่างเหมาะสมกับการเรียนรู้และ ความตอ้ งการทางการศึกษาของผู้เรียน สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นและสาระการเรยี นร้ทู ่ีสอน 2. สามารถติดตามการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ใช้ข้อมูลย้อนกลับเพ่ือวางแผนให้ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล เป็นกลมุ่ และเปน็ ชน้ั 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างอิสระ ฝึกการใช้ภาษา คาดหวังให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ ในการเรียนรู้ 4. พัฒนาความสัมพันธ์เชงิ จรรยาบรรณ บนพืน้ ฐานทักษะการส่ือสารท่ีดีใหก้ ารยอมรบั ผูเ้ รียน ทกุ คน และคาดหวังจะไดร้ บั การยอมรับจากผูเ้ รียน 5. มีความรู้ท่ีทันสมัย และสนับสนุนข้อคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรอย่างกระตือรือร้น 6. เชือ่ ความสามารถในการเรยี นของผู้เรยี นทุกคน คาดหวงั ว่าผู้เรยี นทุกคนเรยี นรูแ้ ละส่ง ความคาดหวังนี้ไปยังแตล่ ะบุคคล โรงเรียนและชมุ ชน 7. กระตือรือรน้ ในการฝึกผูเ้ รยี นเขา้ สูป่ ระสบการณ์แหง่ การเรียนร้เู ร่ืองทผี่ ูเ้ รียนเห็นวา่ มี ความสาคญั ต่อชวี ิตของตน 8. ชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถสรา้ งความเชอื่ มโยง เขา้ ใจความสมั พันธ์ทัง้ ภายในและระหวา่ งสาระ การเรยี นรู้ (อ้างองิ https://sites.google.com/site/xachiphnimeuxngtrang/sam-khan-txn- pheux-brrlu-pea-hmay-niephe-nxa-chiph/xachiph-khru ) ในยุคสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ได้มีคาสั่ง คาสั่งด่วนปิดโรงเรียนทุกแห่งท้ังโรงเรียนรัฐและเอกชนทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2564 เป็นต้นไปจนถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 เพ่ือเป็นการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคโควิด-2019 แม้จังหวัดนครศรีธรรมราชจะเป็นพื้นที่ระวังสีส้ม แต่เพื่อความไม่ ประมาท และเพื่อความสบายใจของผู้ปกครองของนักเรียน (ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครศรีธรรมราช Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๑๕ www เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ 2564 ) ซ่ึงการปิดโรงเรียนดังกล่าวก็ไม่ได้หมายความจะหยุด การเรียนการสอนแต่อย่างไร โดยทางโรงเรียนวัดบางใหญ่ได้มีการประชุมคณะครู เพ่ือปรึกษาหารือ เกี่ยวกับการรับมือการเรยี นการสอนในยุคสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยใชว้ ธิ ีการสอน ๑. Online ให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนการสอน ผ่านเคร่ืองมือที่ทางโรงเรียนกระจายไปสู่ นักเรยี น เปน็ รปู แบบท่ถี ูกใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนจานวนมากทสี่ ดุ ๒. On Demand เปน็ การใชง้ านผ่านแอปพลิเคชั่นตา่ งๆ ทค่ี รูกบั นักเรียนใช้ร่วมกนั ๓. On Hand หากจัดในรูปแบบอื่นๆ ท่ีกล่าวมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือจัด ใบงานใหก้ บั นักเรียน เป็นลักษณะแบบเรียนสาเร็จรูป ใหน้ ักเรียนรับไปเปน็ ชดุ ไปเรียนด้วยตวั เองท่ีบ้าน รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน On Demand เป็นการใชง้ านผ่านแอปพลเิ คชั่นต่างๆ ที่ ครูกบั นกั เรียนใช้ ร่วมกนั Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ น่นุ ศรี

๑๖ ๓.๒.๕ Technology ( เทคโนโลยี ) เทคโนโลยี คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบ วิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ท้ังส่ิงประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ใน ระบบงานเพ่ือช่วยให้เกิดการเปล่ียนแปลงในการทางานให้ดีย่ิง ขึ้นและเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลของงานใหม้ ีมากยิง่ ขนึ้ ความสาคญั ของเทคโนโลยี 1. เป็นพน้ื ฐานปัจจยั จาเป็นในการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ 2. เปน็ ปัจจยั หลกั ท่จี ะมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนา 3. เปน็ เร่อื งราวของมนุษย์ และธรรมชาติ ในช่วงสองทศวรรษทีผ่านมา วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ได้มีบทบาทสาคัญเพ่ิมข้ึนจนสามารถ สรา้ งนวตั กรรม (Innovation) ซ่งึ ก็คอื การเรียนรู้ การผลิตและ การใช้ประโยชน์จากความคิดใหม่ ใหเ้ กดิ ผลทั้ง ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม เทคโนโลยีทาให้สังคมโลกทีเรียบง่าย กลายเป็น สังคมท่ีมีการดารงชีวิตที สลับซับซ้อนมากข้ึน ก่อให้เกิดกระแสแห่งความไร้พรมแดน หรือกระแสโลกาภิวัฒน์ ทีเข้ามาสู่ทุกประเทศอย่าง รวดเร็ว จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ อันเป็นการ ผสมผสาน 4 ศาสตร์ เขา้ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ อิเล็อทรอ นกิ ส์ โทรคมนาคม และข่าวสาร (Electronics , Computer ,Telecomunication and Information หรือเรียกย่อๆ ว่า ECTI ) ทาให้สังคมโลกสามารถส่ือสารกันได้ทุก แห่งทั่วโลกอย่างรวดเร็ว สามารถรับรู้ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวต่างๆ ได้พร้อมกัน สามารถบริหารจัดการและ ตัดสินใจได้ทุกขณะเวลา การลงทุนค้าขาย และธุรกรรมการเงินได้อย่างรวดเร็ว ดังน้ันเทคโนโลยี กาลังทาให้ โลกใบน้ี “เลก็ ลง” ทกุ ขณะ ประโยชน์ของเทคโนโลยี –ชว่ ยยกระดบั คุณภาพชีวิตของมนุษย์ แถมยังชว่ ยพัฒนาระบบอารายธรรมโดยทางอ้อมอกี ด้วยเรื่องราวจากการเรม่ิ ต้นเทคโนโลยี ยาวนานจนบัดน้ีทาใหม้ นษุ ยเ์ ราแทบไมส่ ามารถแยก จากเทคโนโลยไี ปไดแ้ ล้ว –ช่วยให้มนุษย์มคี วามสะดวกสบายขึ้น –ชว่ ยใหเ้ ราทนั สมยั –ชว่ ยประหยดั เวลา –ช่วยในการทางาน บทบาทหน้าที่ของเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอานวยความ สะดวกสบายต่อการดาชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพ้ืนฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากข้ึน เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวน มากมีราคาถูกลง สนิ ค้าได้คณุ ภาพ เทคโนโลยีทาใหม้ กี ารตดิ ต่อส่ือสารกันได้สะดวก การเดินทางเชือ่ มโยงถึงกัน ทาใหป้ ระชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกนั ไดต้ ลอดเวลา Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๑๗ ววิ ฒั นาการเทคโนโลยี (Evolution of Technolgy) เทคโนโลยี มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเม่ือเวลาผ่านไปขั้นตอนการเปล่ียนนแปลงขึ้นอยู่กับ กระบวนการทางววิ ัฒนาการ (Evolution) ของระบบหรอื เครื่องมือนน้ั ๆ ดังนน้ั คาว่าววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี (Evolution of Technology) จึงหมายถึง ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นในระบบหรือเคร่ืองมือที่เกิดข้ึนอย่าง ซบั ซ้อนและมีการเปลีย่ นแปลงตามลาดับอยา่ งตอ่ เน่ืองอนั มีสาเหตมุ าจากปัจจยั ตา่ งๆ รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ของกลุม่ วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ยุคสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ได้มีคาส่ัง คาส่ังด่วนปดิ โรงเรียนทุกแห่งท้งั โรงเรยี นรัฐและเอกชนท่ัวจังหวดั นครศรีธรรมราช เป็นเวลา 15 วันตั้งแตว่ ันท่ี 6 มกราคม 2564 เป็นต้นไปจนถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 ทาให้เทคโนโลยีมีความจาเป็นในการจัดการ เรียนการสอนรูปแบบจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นอย่างมาก โดยโรงเรียนวดั บางใหญ่ได้มีการใช้ระบบเทคโนโลยีในการดาเนินงานต่างๆในช่วง สถานการณ์ดังกล่าว ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Google Meet, Zoom, Microsoft Team พูดคุยสนทนากับ คณุ ครู ด้วยการใช้นวัตกรรมมาเปน็ ตัวช่วย และใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนผ่านรูปแบบการเรียน การสอน ได้แก่ ๑. Online ให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนการสอน ผ่านเครื่องมือท่ีทางโรงเรียนกระจายไปสู่ นกั เรยี น เปน็ รูปแบบทีถ่ ูกใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนจานวนมากท่ีสดุ ๒. On Demand เปน็ การใช้งานผ่านแอปพลเิ คชั่นตา่ งๆ ทค่ี รูกับนักเรยี นใช้ร่วมกัน ๓. On Hand หากจัดในรูปแบบอื่นๆ ท่ีกล่าวมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือจัด ใบงานให้กับนักเรียน เป็นลักษณะแบบเรียนสาเร็จรูป ให้นักเรียนรับไปเป็นชุดไปเรียนด้วยตัวเองที่ บา้ น ทาให้กระบวนการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น ของผู้เรียนโรงเรียนวัดบางใหญ่ สามารถดาเนินไปอย่างต่อเนื่องและไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ของ Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๑๘ นักเรียน อีกท้ังยังส่งผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนเพ่ิมมากข้ึน เนื่องจากนักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้ได้ อย่างแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายมากกว่าห้องเรียนและเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ความสารถกันได้ โดยไม่ได้มี การสัมผัสกันทางร่างกายของผู้เรียน ทาให้สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นอยา่ งดี รปู แบบการประชมุ คณะครู โรงเรียนวัดบางใหญ่ โดยใชเ้ ทคโนโลยผี า่ นโปรแกรมตา่ ง ๆ เช่น Google Meet ๔. ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธิ์ ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการใช้นวัตกรรม KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้เกิดการ เรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางใหญ่ พบว่า มีความสาเร็จ มีคุณค่าของผลงาน ดังนี้ Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๑๙ ๔.๑ ผลสาเร็จเชงิ ปริมาณ ๔.๑.๑ ครูมีนวัตกรรมการสอนทางไกล ที่เหมาะสมให้กับผู้เรียน ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ๔.๑.๒ ครูได้รับการส่งเสริมสนับสนุนในการจัดการศึกษาทางไกลที่เหมาะสมให้กับผู้เรียนใน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ๔.๑.๓ นกั เรยี นไดเ้ รยี นร้ผู า่ นเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยในการจัดการเรยี นรทู้ างไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ๔.๑.๔ นักเรียนเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ผ่านเกณฑ์ตามตัวชี้วัดตามหลักสูตรที่กาหนดใน เนื้อหาที่จัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ๔.๑.๕ ครูและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาทางไกลให้กับ นกั เรียนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียน อยใู่ นระดบั มากถึงมากท่ีสุด รูปแบบความพงึ พอใจในการจัดการศึกษาทางไกลใหก้ ับนักเรียนในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๒๐ แบบบันทึกคะแนนการจดั การเรียนรู้ทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 วชิ า สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เลขที่ ชอ่ื – สกลุ ใบกจิ กรรม/ คะแนน ใบกจิ กรรม/ รวม คดิ เปน็ ใบงานท่ี..1.. ใบกจิ กรรม/ ใบกจิ กรรม/ ใบงานที่..4.. เปอร์เซน 1 ด.ช.ภัทรพล มสี ขุ ใบงานที่..2.. ใบงานท่ี..3.. 16 2 ด.ช.ภาณเุ ดช สมมงุ่ 5 3 13 ต์ 3 ด.ช.ณฐั วฒุ ิ อกั ษรแปน้ 3 44 3 14 4 ด.ช.เจษฎากร หว้ ยชเี ลข** 5 43 3 12 80.00 5 ด.ช.ก้องเกียรติ จุลจงกล ** 3 33 3 12 65.00 6 ด.ช. จกั รพงศ์ จนิ ดา 3 33 3 16 70.00 7 ด.ช. จกั รพรรด์ิ บญุ ครอื 3 33 4 17 60.00 8 ด.ช. ธีรธ์ วัช อยเู่ กต 5 54 4 17 60.00 9 ด.ช. สทิ ธชิ ัย บรรจุสวุ รรณ์ 5 44 4 20 80.00 10 ด.ญ.ศรีอกั ษร เบญชนะวงศ์ 5 44 5 20 85.00 11 ด.ญ.เปรมยดุ า ชเู สอื หึง 5 55 5 19 85.00 12 ด.ญ.วาสนา ด้วงแดง 5 55 5 20 100.00 13 ด.ญ.วรรณณกิ า พนู หนู 5 45 5 19 100.00 14 ด.ญ.พรกมล สตุ าธรรม 5 55 5 18 95.00 15 ด.ญ.จดิ าภา ศรสี รง 3 54 5 20 100.00 16 ด.ญ.กชกร สดุ ถอื 5 55 5 20 95.00 17 ด.ญ.กมลเนตร์ นครจติ ต์ 5 55 5 19 90.00 18 ด.ญ.กณั ฐมณี คาทอง** 5 55 5 15 100.00 19 ด.ญ.อินทพิ ร จนั ขอนแก่น 3 54 3 19 100.00 20 ด.ญ.จันทิมา ฉมิ ปากแพรก 5 54 5 18 95.00 21 ด.ญ.ณัฐกานต์ จตุ ิมุสิก 5 54 5 18 75.00 22 ด.ญ.ธญั ลักษณ์ เรืองจันทร์ 5 44 5 18 95.00 23 ด.ญ.มณั ฑนา ออ่ นแก้ว 5 35 5 19 90.00 24 ด.ช.ธันวา จันทวงศ์ 5 44 5 14 90.00 3 45 3 17.20 90.00 คะแนนเฉลยี่ 4.41 44 4.29 95.00 4.29 4.20 70.00 86.04 Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๒๑ แบบบนั ทึกคะแนนการจดั การเรยี นร้ทู างไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 วชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เลขท่ี ชือ่ – สกลุ ใบกจิ กรรม/ คะแนน ใบกจิ กรรม/ รวม คิดเป็น ใบงานที่ ใบกิจกรรม/ ใบกจิ กรรม/ ใบงาน เปอรเ์ ซนต์ 1 ด.ช.ธนพร จลุ จงกล ใบงานที่ ใบงาน ท.ี่ 4... 14 2 ด.ช.นฤเบศ ไชยมุด ..1.. 3 20 70.00 3 ด.ช.นพดล ภริ มย์บรู ณ์ 3 ..2.. ท.่ี 3... 5 19 100.00 4 ด.ช.อัฎกฐิ ์ วทิ ยากลู 5 44 4 16 95.00 5 ด.ช.สวุ รรณภมู ิ แสงอรณุ 5 55 4 15 80.00 6 ด.ช.ปญั จพัฒน์ สขุ ปาน 3 55 4 15 75.00 7 ด.ช.ศรนั ยู พงษ์สิทธิ์ 3 45 4 15 75.00 8 ด.ช.ภวู นยั ขนุ จนั ทร์ 3 44 4 12 75.00 9 ด.ช.อนชุ ิด รามพันธ์ 3 44 3 14 60.00 10 ด.ช.กฤตภาส สมมงุ่ 3 44 3 18 70.00 11 ด.ช.ภากร รุยแกว้ 3 33 4 14 90.00 12 ด.ช.เกรียงเดช จันทร์สังสา 5 44 3 15 70.00 13 ด.ช.เกรกิ ชัย จันทรส์ งั สา 3 45 3 15 75.00 14 ด.ช. มงคล พมิ ล 3 44 4 12 75.00 15 ด.ช. จักรภพ รอดแกว้ 3 54 3 0 60.00 16 ด.ญ.ณัฐธดิ า พรหมราช 3 44 0 20 0.00 17 ด.ญ.จริ วรรณ ผิวผอ่ ง 0 33 5 20 100.00 18 ด.ญ.จติ ตรา คงสนิ ลา 5 00 5 16 100.00 19 ด.ญ.เปรมปิยา ศรรี ัตน์ 5 55 3 20 80.00 20 ด.ญ.ภัทรวดี แดงดว้ ง 3 55 5 20 100.00 5 55 5 100.00 21 ด.ญ.กลุ ณัฐ รักหนู 5 55 22 ด.ญ.สโรชา คงขุ้ย 55 100.00 23 ด.ญ.พิชญาภา พัสสระ 100.00 24 ด.ญ.กัญญภ์ นิษฐ์ เลขะจติ ต์ 5 5 5 5 20 95.00 5 5 5 5 20 80.00 คะแนนเฉล่ีย 5 5 5 4 19 80.20 4 4 4 4 16 3.75 4.20 4.25 3.83 16.04 Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๒๒ แบบบันทึกคะแนนการจดั การเรยี นร้ทู างไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 วิชา สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เลขท่ี ชอ่ื – สกลุ ใบกจิ กรรม/ คะแนน ใบกิจกรรม/ รวม คดิ เป็น ใบงานท่ี ใบกจิ กรรม/ ใบกจิ กรรม/ ใบงานที่ เปอรเ์ ซน 1 ด.ช.ณฐั พงศ์ ตาหนิชาติ ใบงานที่ ใบงานที่.3.. 19 2 ด.ช.ธรี พงษ์ พงษส์ ิทธิ์ ..1.. ..4.. 16 ต์ 3 ด.ช.สรนันท์ อักษรพาลี 5 ..2.. 5 19 4 ด.ช.วรวีร์ มณู ีย์ 5 54 3 15 95.00 5 ด.ช.ณัฐวฒุ ิ ไชยมุด 5 44 5 16 80.00 6 ด.ช.ฤทธิชัย กลิ่นนคร 5 54 3 16 95.00 7 ด.ช.ชัยนันท์ ยิ้มสวัสด์ิ 5 43 3 16 75.00 8 ด.ช.ณฏั ฐนยั เพงิ รัตน์ 5 44 3 15 80.00 9 ด.ช.ณฐั วฒุ ิ ทองคา 5 44 3 16 80.00 10 ด.ช.ธนพนธ์ มแี ก้ว 5 44 3 13 80.00 11 ด.ช.ธรี ภัทร รอดพศิ ดาร 5 43 3 17 75.00 12 ด.ช.ภทั รพล ทองคา 4 44 3 16 80.00 13 ด.ช.อภิญญา เพิงรตั น์ 5 33 4 19 65.00 14 ด.ช.ฉัตรมงคล วจิ ติ ร 5 44 3 17 85.00 15 ด.ญ.อธชิ า ยศหลวงทมุ่ 5 44 5 19 80.00 16 ด.ญ.เมษาศิริ ทองจูด 5 54 4 19 95.00 17 ด.ญ.นรศิ า นาคทอง 5 44 5 19 85.00 18 ด.ญ.กิตตยิ า จินพล 5 54 5 19 95.00 19 ด.ญ.วรรี ัตน์ แกว้ อยา่ งดี 5 54 5 17 95.00 20 ด.ญ.กนกรตั น์ สุตาธรรม 5 54 5 18 95.00 21 ด.ญ.ธญั พร อักษรแปน้ 5 54 4 17 95.00 22 ด.ญ.ปสุตา จันใส 5 44 5 17 85.00 23 ด.ญ.พรทพิ ย์ ฉมิ ปากแพรก 5 44 4 16 90.00 24 ด.ญ.โยษิตา เรืองจันทร์ 5 44 4 18 85.00 25 ด.ญ.เสาวรส สว่างวงศ์ 5 44 3 16 85.00 26 ด.ช.ยุทธการ จันทรศ์ รรี กั ษ์ 5 44 4 16 80.00 5 54 3 16.96 90.00 คะแนนเฉล่ีย 5 44 3 80.00 4.96 44 3.84 80.00 4.26 3.88 84.80 Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๒๓ ๔.๒ ผลสาเร็จเชิงคณุ ภาพ ๔.๒.๑ ครูสามารถสร้าง นวัตกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางไกล โดยการใช้เทคโนโลยีที่ ทนั สมัยในการจัดการศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และนาสื่อนวตั กรรมมาใช้ในการจัดการศึกษาทางไกลไดด้ ว้ ยความภาคภูมิใจ ๔.๒.๒. นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านสื่อนวัตกรรมท่ีทันสมัย และสามารถผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามเนื้อหาและตัวชี้วัดที่หลักสูตรกาหนดด้วยความสามารถของนักเรียนโดยความร่วมมือของ ผ้ปู กครอง ๔.๒.๓ ได้ความสัมพันธ์ทีด่ ีระหว่างครู นักเรยี น ผู้ปกครองและโรงเรียน ท่ีรว่ มกันจัด การศึกษาให้กับนักเรียน ด้วยความรู้สึกรับผิดชอบร่วมกันเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีบรรลุตาม วัตถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้ ๔.๒.๔ นกั เรียนมคี วามสนใจ ต้ังใจ และกระตือรือรน้ ในการทากิจกรรมในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รูปแบบการเรียนออนไลน์และชิ้นงาน เฉพาะวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมของ แตล่ ะช้นั เรียนในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-๓) Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นุน่ ศรี

๒๔ ๕. ปจั จยั ความสาเร็จ ความสาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางไกลโดยใช้นวัตกรรม KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโร นา 2019 (COVID-19) ของครชู ั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี นวดั บางใหญใ่ นครัง้ น้ี เกดิ จากปัจจยั ดงั นี้ ๕.๑ สถานศึกษามีความพร้อมในเร่ืองของบุคลากรท่ีมีความรับผิดชอบ มีความสามารถในการจัดการ เรยี นรู้ และมีความตัง้ ใจใฝ่รู้ในการใช้สือ่ เทคโนโลยที ่ที ันสมัย ๕.๒ ผู้บรหิ ารมคี วามรู้ ความสามารถและใหค้ วามสาคญั ในดา้ นวชิ าการ การบรหิ ารจดั การ และ มีการ กระต้นุ ให้กาลังใจ กากับตดิ ตามอย่างใกลช้ ิด ให้คาแนะนา โดยใช้ G o o g l e M e e t และตดิ ตามผ่าน AppicatioLine ในกาปฏบิ ัติงานของคณะครู ๕.๓ ครูมีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าในรายวิชาท่ีสอน สามารถนามาปรับใช้ใน สถานการณน์ ไี้ ด้เปน็ อยา่ งดี ๕.๔ ครูตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในสถานการณ์ ใน สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ๕.๕ ผู้ปกครอง และนักเรียน ให้ความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนทางไกล ๖. บทเรียนทไี่ ดร้ ับ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีผ่านมาทาให้ สถานศกึ ษาไดร้ ับบทเรียนคือ ๑. ครู ผูเ้ รียน ผู้ปกครอง ตอ้ งร่วมกันปรับตวั เพ่ือให้สามารถเรียนได้อยา่ งต่อเน่ือง ในสถานการณ์ที่ ต้องเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ทบ่ี า้ นและกลับมาเรียนตามปกติ เมอ่ื สถานการณ์แพรร่ ะบาดลดความ รนุ แรงลง ๒. ได้มีโอกาสเก็บข้อมูลเพ่ือวางแผนให้การสนับสนุนเพ่ิมเติม แก่ครอบครัวท่ีผู้ปกครองไม่พร้อม สนบั สนุนบุตรหลาน กรณีที่ตอ้ งเรียนทบ่ี ้าน ๓. ผู้ปกครองได้มีโอกาสพบปะกับครูมากยิ่งข้ึน เพ่ือรับทราบปัญหาของผู้เรียน และได้ช่วยกันแก้ไข ปญั หาได้ทันที ๔. สถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง และชุมชน มีความสัมพันธ์อันดีในการให้ความร่วมมือ ร่วมด้วย ช่วยกนั เพื่อตอ่ สกู้ บั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ซง่ึ เปน็ การสรา้ งความสามัคคใี หเ้ กิดขน้ึ ในชุมชน Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๒๕ ขอ้ ควรระวัง / ปญั หา จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรม KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนวัดบางใหญ่ ได้ประสบปัญหาและมีข้อควรระวังในการ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนดังน้ี ๑. ผู้เรียนส่วนใหญ่ มีความจากัดทางอินเตอร์ทาให้นักเรียนไมเ่ ข้าใจในกิจกรรมการเรียนการสอนของ ครแู ละขาดความตอ่ เน่ืองทางการเรยี นรู้ ๒. นกั เรยี นขาดความรบั ผดิ ชอบเรือ่ งไม่มเี วลา เน่อื งจากตอ้ งไปช่วยผู้ปกครองทางาน ๓. ผู้ปกครองบางท่านไม่มีความรู้ในเรื่องการรับส่ง LINE ทาให้เกิดความยากลาบากในการส่งงานให้ ครู ๔. ครไู ม่สามรถอธิบายหรอื แกไ้ ขปัญหาใหน้ ักเรียนเป็นรายบคุ คลได้ เหมอื นกับการเรยี นในภาคปกติ ๗. การเผยแพร่ - เผยแพร่ Facebook - ลงในกลุ่ม LINE ของนกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-๓) การเผยแพร่การเรยี นการสอนออนไลนแ์ ละช้นิ งาน เฉพาะวชิ าสังคมศึกษาศาสนาและ วัฒนธรรมของแต่ละช้นั เรยี นในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-๓) Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๒๖ ภาคผนวก Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นุน่ ศรี

๒๗ แบบรายงานกระบวนการจดั การเรยี นรู้ทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ช่อื ผสู้ อน นางสาวสายพิศ นุน่ ศรี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง มองดเู ศรษฐกจิ ไทยของเรา เวลา 4 ชัว่ โมง ตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ งๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจาเป็น ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ม.1/2 ยกตัวอยา่ งทีส่ ะท้อนให้เห็นการพง่ึ พาอาศยั กัน และการแข่งขันกันทาง เศรษฐกจิ ในประเทศ ม.1/4 อภปิ รายผลของการมีกฎหมายเกยี่ วกับทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ตัวชว้ี ัดบรู ณาการ (ถ้าม)ี กลุ่มสาระวชิ า ภาษาไทย ตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรอื่ งราวในรปู แบบ ตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ม.1/1 คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ม.1/2 เขียนส่อื สารโดยใชถ้ อ้ ยคาถกู ต้องชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย ม.1/6 เขยี นแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับสาระจากสื่อที่ได้รับ Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๒๘ แบบรายงานกระบวนการจัดการเรียนร้ทู างไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรสั โคโรนา _๘ 2019 (COVID-19) ช่ือผูส้ อน นางสาวสายพิศ นุ่นศรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอื่ ง การคมุ้ ครองผู้บริโภค เวลา 4 ช่วั โมง --------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท้ รัพยากร ทีม่ ีอยูจ่ ากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและคมุ้ คา่ รวมทั้งเขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพือ่ การดารงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ ม.2/4 อภปิ รายแนวทางการคมุ้ ครองสทิ ธขิ องตนเองในฐานะผูบ้ ริโภค ตวั ชว้ี ดั บรู ณาการ (ถ้าม)ี กลมุ่ สาระวชิ า ภาษาไทย ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ต่างๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ม.2/1 คัดลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ม.2/2 เขยี นบรรยายและพรรณนา ม.1/3 เขียนเรยี งความ ม.1/4 เขียนย่อความ Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นุน่ ศรี

๒๙ แบบรายงานกระบวนการจดั การเรียนรู้ทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ชอ่ื ผสู้ อน นางสาวสายพศิ นนุ่ ศรี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่ือง พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษติ เวลา 4 ชวั่ โมง --------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทตี่ น นบั ถือและศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาท่ีถกู ต้อง ยึดมั่นและปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เพือ่ อยู่ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข ม.3/6 อธิบายสงั ฆคุณ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบอริยสัจ 4 หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับ ถือตามท่กี าหนด ตัวชี้วัดบรู ณาการ (ถ้าม)ี กล่มุ สาระวชิ า ภาษาไทย ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรปู แบบ ตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ม.3/1 คดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ม.3/2 เขยี นขอ้ ความโดยใชถ้ ้อยคาไดถ้ ูกตอ้ งตามระดับภาษา ม.3/6 เขียนอธบิ าย ช้ีแจง แสดงความคิดเหน็ และโต้แยง้ อยา่ งมีเหตุผล Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

๓๐ สรปุ แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ โรงเรียนวัดบางใหญ่ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม คิดเปน็ (%) 21.52 1. จานวนผูต้ อบแบบสอบถามทงั้ หมด 223 คน คดิ เปน็ 93.31% 78.48 เพศ จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม (คน) ชาย 48 หญิง 175 100.00 78.48 80.00 60.00 21.52 40.00 เพศ 20.00 0.00 เพศชาย เพศหญงิ 2. ท่านเป็นผู้ปกครองของบุตรหลานที่ศึกษาอยู่ในระดบั ช้ันใด ระดับช้ัน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม (คน) คิดเป็น (%) อนุบาล2 24 100.00 อนบุ าล 3 15 83.33 33 100.00 ป.1 16 100.00 ป.2 18 100.00 ป.3 19 82.61 ป.4 9 85.71 ป.5 20 100.00 ป.6 20 83.33 ม.1 23 100.00 ม.2 Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นุ่นศรี

๓๑ ระดับชั้น จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม (คน) คิดเป็น (%) ม.3 26 100.00 ท่านเปน็ ผปู้ กครองของบุตรหลานทศี่ ึกษาอยู่ในระดบั ชนั้ ใด (%) 120 100 100 100 100 100 100 100 100 83.33 82.61 85.71 83.33 80 60 40 20 0 อนบุ าล 2 อนบุ าล 3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 อนุบาล 2 อนุบาล 3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 3. ความสัมพันธ์กับนักเรียน จานวนผ้ตู อบแบบสอบถาม (คน) คิดเป็น (%) 35 15.70 ความสมั พนั ธก์ ับนักเรียน 133 59.64 พอ่ 1 0.45 แม่ 11 4.93 ปู่ 6 2.69 ยา่ 25 11.21 ตา 12 5.38 ยาย อืน่ ๆ Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นนุ่ ศรี

ทา่ นเปน็ ผ้ปู กครองของบุตรหลานทศ่ี กึ ษาอยู่ในระดับชน้ั ใด (%) ๓๒ 70 5.38 60 59.64 อน่ื ๆ 50 40 30 20 15.7 11.21 10 0.45 4.93 2.69 0 พอ่ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย อ่ืนๆ ตอนที่ 2 ขอ้ มูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ปกครองของนกั เรยี นต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ความพึงพอใจ (จานวนคน) คาถาม มากท่ีสดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ยทส่ี ุด 0 กลาง 0 0 1. ท่านมีความเขา้ ใจในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ 89 108 23 3 โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากน้อย 67 เพยี งใด 63 126 30 0 2. ทา่ นคิดว่ามีความจาเปน็ มากนอ้ ยเพยี งใดท่ที าง 142 16 2 โรงเรยี นตอ้ งจดั การเรยี นรู้ทางไกลในรปู แบบออนไลน์ ครง้ั นี้ 3. ท่านคดิ วา่ การจัดการเรียนรู้ของโรงเรยี นใน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสรา้ งกล่มุ ไลน์/กลมุ่ ทาง เฟซบุ๊ก ของโรงเรยี นวดั บางใหญ่ มีความเหมาะสมมาก นอ้ ยเพียงใด Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

คาถาม มากทสี่ ุด ความพึงพอใจ (จานวนคน) ๓๓ มาก ปาน น้อย 4. ท่านสะดวกในการติดต่อกับครผู ้สู อนในแตล่ ะวชิ า 49 นอ้ ยท่ีสุด มากน้อยเพียงใด 92 กลาง 0 63 146 26 2 0 5. ทา่ นคิดวา่ ครูเอาใจใสช่ ่วยเหลอื บุตรหลานของทา่ นให้ 79 0 เกิดการเรียนรใู้ นสถานการณ์ครงั้ นี้มากน้อยเพียงใด 125 6 0 0 57 6. ทา่ นคดิ วา่ ท่านมสี ่วนช่วยให้ลกู หลานของท่านได้ 130 27 3 0 เรียนรมู้ ากนอ้ ยเพียงใดในสถานการณ์คร้งั น้ี 41 83 113 31 0 0 7. ทา่ นมีความรูส้ ึกภาคภูมใิ จมากน้อยเพยี งใดที่ได้ 0 ชว่ ยเหลอื บุตรหลานของท่านไดเ้ รียนร้ใู นรปู แบบ 119 44 3 ออนไลน์ครัง้ น้ี 132 46 4 8. ถา้ มีสถานการณ์ที่จาเปน็ ต้องปิดเรียนเน่ืองจากเหตุ 115 25 0 พเิ ศษโรคระบาด ท่านสามารถชว่ ยสอนบตุ รหลานของ ทา่ นตามช่องทางการเรียนรู้ของโรงเรยี นได้มากน้อย เพยี งใด 9. ทา่ นคิดว่าการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์คร้งั น้ี ส่งผลตอ่ คุณภาพของนกั เรียนมากน้อยเพยี งใด 10. ความพงึ พอใจในภาพรวมของทา่ นต่อรูปแบบของ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ทางไกลในสถานการณก์ าร แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นวดั บางใหญ่ 1. ท่านมีความเขา้ ใจในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มากน้อยเพียงใด (%) 60 50 48.43 39.91 40 30 20 10.31 10 1.35 0 0 มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สายพิศ นุ่นศรี

๓๔ 2. ท่านคิดวา่ มีความจาเปน็ มากน้อยเพียงใดท่ีทางโรงเรียนตอ้ งจดั การเรยี นร้ทู างไกลในรูปแบบออนไลน์ ครั้งนี้ (%) 60 56.5 50 40 30.04 30 20 13.45 10 0 0 0 มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด 3. ท่านคิดว่าการจัดการเรยี นรูข้ องโรงเรยี นในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างกลุ่มไลน์/กลมุ่ ทาง เฟซบุก๊ ของโรงเรียนวัดบางใหญ่ มคี วาม เหมาะสมมากน้อยเพียงใด (%) 70 63.68 60 50 40 30 28.25 20 10 7.17 0 0.9 0 มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ดุ Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๓๕ 4. ทา่ นสะดวกในการติดต่อกบั ครผู ูส้ อนในแตล่ ะวชิ ามากน้อยเพียงใด (%) 70 65.47 60 50 40 30 21.97 11.66 20 0.9 0 10 0 มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ุด 5. ท่านคิดว่าครูเอาใจใส่ช่วยเหลอื บุตรหลานของทา่ นให้เกดิ การเรียนรู้ในสถานการณค์ รั้งน้มี ากนอ้ ย เพยี งใด (%) 60 56.05 50 41.26 40 30 20 10 2.69 0 0 0 มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ น่นุ ศรี

๓๖ 6. ทา่ นคิดว่าท่านมสี ว่ นช่วยให้ลูกหลานของทา่ นไดเ้ รยี นรมู้ ากนอ้ ยเพียงใดในสถานการณค์ รัง้ น้ี (%) 70 60 58.3 50 40 30 28.25 20 12.11 10 1.35 0 0 มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่สี ุด 7. ทา่ นมีความร้สู กึ ภาคภูมิใจมากนอ้ ยเพียงใดท่ีไดช้ ่วยเหลอื บุตรหลานของทา่ นไดเ้ รียนรใู้ นรูปแบบ ออนไลน์คร้งั น้ี (%) 60 50.67 50 40 35.43 30 20 13.9 10 00 0 มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทีส่ ดุ Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ น่นุ ศรี

๓๗ 8. ถ้ามีสถานการณ์ท่จี าเป็นตอ้ งปดิ เรยี นเน่อื งจากเหตพุ ิเศษโรคระบาด ทา่ นสามารถช่วยสอนบุตรหลาน ของท่านตามช่องทางการเรยี นรขู้ องโรงเรียนไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด (%) 60 53.36 50 40 30 25.56 19.73 20 10 1.35 0 0 มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สุด 9. ท่านคิดว่าการจดั การเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์คร้งั น้ีส่งผลต่อคณุ ภาพของนักเรียนมากน้อยเพียงใด (%) 70 60 59.19 50 40 30 20.63 20 18.39 10 1.79 0 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

๓๘ 10. ความพึงพอใจในภาพรวมของท่านต่อรปู แบบของการจัดกระบวนการเรียนรู้ทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นวัดบางใหญ่ (%) 60 51.57 50 40 37.22 30 20 11.21 10 00 0 มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ 1. ไม่อยากให้ส่งงานทางกุล่มไลน์เลยเพราะบางทีพ่อแม่ต้องทางานค่ะไม่ได้ติดตามทางกลุ่มสักเท่าไร อยากจะให้คุณครูให้ใบงานเด็กมาเลยค่ะแล้วส่งอาทิตละคร้ังก็ได้ค่ะขอบคุณค่ะ (ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1) 2. ต้องการให้ครูอธบิ ายการบ้านหรือเเนะเเนวเด็กอยา่ งละเอียดมากกวา่ นี เเละต้องการใหค้ รูระบเุ วลาสง่ การบา้ นดว้ ยเด็กจะได้ตรงต่อเวลา (ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6) 3. อยากให้คณุ ครูส่ังงานแบบใบงานเดก็ มาเลยค่ะแลว้ ค่อยให้เดก็ ไปสง่ งานอาทติ ละครง้ั กุ็ได้เพราะใหง้ านทาง กลุม่ ไลท์บางทีพ่อแมก่ ็ไม่ไดด้ เู ลยทาให้เด็กไม่รุเ้ ร่ืองเลย ขอบคุณค่ะ (ผู้ปกครองนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5) 4. ไม่อยากให้มีโรคโควิด (ผู้ปกครองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2) 5. ขอบคณุ มากครบั (ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3) 6. ให้ทางโรงเรยี นชว่ ยดเู เลนกั เรียนในชว่ งเเพรร่ ะบาด (ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1) 7. อยากให้โรงเรียนส่ังงานเด็กแบบอาทติ ยส์ ่ง1คร้งั คือให้ใบงานมาเลยแลว้ ค่อยไปส่งอาทติ ละครงั้ เพราะพ่อ แมบ่ างคนตอ้ งทางานไมค่ ่อยมีเวลาและสว่ นตวั ดฉิ ันโทรศัพท์มือถือต้องใช้ในการทางานมันมเี ครื่องเดยี วท้ังบ้าน คะ่ ขอบคุณค่ะ (ผู้ปกครองนักเรียนช้ันอนุบาล 2) 8. ถา้ มเี หตุการณจ์ าเป็นต้องใหห้ ยุดเรียนอกี อยากให้คณุ คุรูให้งานเดก็ ๆมาเป็นใบงานกระดาษมาเลยดีกวา่ เพราะเด็กบางคนไม่มีมือถือใช้และผปู้ กครองบางท่านใชม้ ือถือไม่เป็นเพราะเด็กบางคนอาจอยู่กับตายาย และ Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ นุ่นศรี

๓๙ ไมไ่ ดม้ อี นิ เตอร์เน็ตใช้ตลอดเวลา บางคร้งั ผูป้ กครองอาจไม่ว่างในการส่งงานใหก้ บั คณุ ครู และสงสารหัวหน้าช้นั ทต่ี อ้ งตามเพื่อนท่ไี ม่ทางานสง่ เลยอยากให้ทางโรงเรียนจดั งานมาให้เด็กเปน็ ชุดๆดีกวา่ (ผู้ปกครองนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5) Best Practices การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ นุ่นศรี

๔๐ ประวตั ิผูเ้ ขา้ รับการคัดเลือก วิธีปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practices) การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ชอ่ื – นามสกลุ สายพิศ น่นุ ศรี วนั เดอื น ปีเกิด 9 มกราคม 2533 ภูมิลาเนา จังหวัดสงขลา ทอี่ ยู่ปจั จุบนั 27/1 หมู่ 6 ตาบลเขาแดง อาเภอสะบา้ ย้อย จงั หวัดสงขลา 90210 ประวตั กิ ารศกึ ษา - มธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2551 จบมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นวรนารเี ฉลมิ อาเภอเมือง จงั หวดั สงขลา - ปริญญาตรี พ.ศ 2555 จบปรญิ ญาตรี การศึกษาบณั ฑิต วิชาสังคมศกึ ษา มหาวิทยาลยั ทักษณิ วิทยาเขตสงขลา ประสบการณก์ ารทางาน พ.ศ 2555-2562 อาจารยก์ ลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนแจ้งวทิ ยา จงั หวดั สงขลา (ฝ่ายมัธยม) อาชพี ปจั จุบัน ครโู รงเรยี นวดั บางใหญ่ อาเภอเมืองนครศรีธรรมราช จงั หวัดนครศรธี รรมราช สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราชเขต 1 Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สายพศิ นนุ่ ศรี

ก คานา เอกสารเล่มนี้จัดทาข้ึน เพ่ือเสนอผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice ; KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยเี พื่อให้เกิดการเรียนรู้ ซ่งึ เป็นการเรยี นการสอนจากครูส่ผู ู้เรยี น ซ่ึงเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบทางไกล โดยการใช้ระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในสังคมออนไลน์ เพื่อจะ ได้สร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้เรียน และเป็นการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐19 ( COVID 19 ) ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Best Practice ; KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้ เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงจากกิจกรรมกิจกรรมการเรียนการสอนแบบทางไกล โดยการใช้ระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัยในสังคมออนไลนจ์ ากครสู ู่ผู้เรียน ซึ่งเปน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ เพ่อื พฒั นาผ้เู รียนของโรงเรียน และ ผู้เกยี่ วข้องต่อไป ขอขอบคุณ นางฉัตรพิศุทธ์ิ วิจาราณ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบางใหญ่ คณะครู กรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 และผู้ท่ี เก่ียวข้องอ่ืน ๆ ที่มิได้กล่าวถึงได้หมด หวังว่าเอกสารฉบับนี้ (Best Practics) การจัดการศึกษาทางไกลใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-19) โรงเรียนวัดบางใหญ่เล่มน้ี จะ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับโรงเรียนต่างๆ นาไปประยุกต์ใช้ เพ่ือการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมแก่ผ้เู รยี นสืบไป สายพศิ น่นุ ศรี ครูโรงเรียนวัดบางใหญ่ Best Practices การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ นุน่ ศรี

ข สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข ความสาคัญ ความเป็นมา ของวิธปี ฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ 1 จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนนิ งาน 6 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ 6 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ 7 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 8 KT MODEL (Knowledge Technology) การใช้เทคโนโลยเี พือ่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ ในสถานการณ์ 8 การแพร่ระบาดของ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ผลการดาเนนิ การ/ประโยชน์ที่ไดร้ ับ 18 ปจั จัยความสาเร็จ 24 24 บทเรยี นทีไ่ ดร้ บั 2๕ การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั /รางวลั ทไี่ ดร้ บั 26 ภาคผนวก 27 แบบรายงานกระบวนการจัดการเรียนรทู้ างไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19) 30 สรปุ แบบประเมินความพึงพอใจในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ 40 ประวัติผู้เข้ารบั การคดั เลอื ก Best Practices การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สายพิศ น่นุ ศรี

Best Practices การจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพศิ นุ่นศรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook