Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนรู้นำการศึกษา

การเรียนรู้นำการศึกษา

Published by jt2554, 2020-04-24 06:01:57

Description: เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การเรียนรู้นำการศึกษา ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 และการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องรับทราบแนวทางในการดำเนินการและการเตรียมความพร้อม เพื่อจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2563

Keywords: การเรียนรู้นำการศึกษา,การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19)

Search

Read the Text Version

1 การเรียนรู้นาการศกึ ษา นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เก่ียวกับ Covid -19 เพ่อื เตรียมความพร้อมรองรับการเปิ ดภาคเรียนท่ี 1/2563 และการจัดการเรียนการสอน ช่วง Covid-19 ดร.จริยา ทองหอม กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

2ก คานา เอกสารประกอบการอบรม เรื่ อง การเรี ยนรู้ นาการศึกษา ตามนโยบายรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 และการจดั การเรียน การสอนให้สอดคล้องกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) เลม่ นี ้ เรียบเรียงขนึ ้ จากคาแถลงการณ์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการเพ่ือให้คณะรัฐมนตรีรับทราบและ นามาสู่การปฏิบตั ิในวิกฤตที่ทุกคนกาลังเดือดร้ อนจาก Covid -19 ซ่ึงเนือ้ หาสาระในเล่มประกอบด้วย “การเรียนรู้นาการศึกษา”, การเตรียมความพร้ อมเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนที่ 1/2563, นโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับ Covid -19, สพฐ. เคาะรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทางไกลในช่วง สถานการณ์โควิด-19, ครม.รับทราบการเตรียมความพร้อม การจดั การเรียนการสอน เพ่ือรองรับการเปิด ภาคเรียนที่ 1/2563, \"ครูตนั้ \" ลน่ั ถงึ ปลดล็อกดาวน์แล้ว ยงั เปิดเทอม 1 ก.ค.ตามเดมิ , เล็งหนนุ 850 รร. ลด เหลื่อมลา้ ยกระดบั การเรียนผ่านออนไลน์, ศธ. “ปรับบ้านเป็นห้องเรียน เปล่ียนพ่อแมเ่ ป็นครู” และข้อควร ระวงั ในการเรียน Online : Covid-19 โดย มีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องรับทราบแนวทางใน การดาเนินการและการเตรียมความพร้อม เพื่อจดั การเรียนการสอนในปีการศกึ ษา 2563 ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และ เจ้าของเอกสารตาราทางวชิ าการ และทกุ หน่วยงานที่เอือ้ อานวยความสะดวกให้การดาเนินงานสาเร็จลลุ ว่ ง ด้วยดี ขอขอบคุณผู้อานวยการ คณะผู้บริหาร บุคลากรและเจ้าหน้าท่ีสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ทกุ ทา่ นท่ีได้ให้ข้อเสนอแนะ และคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ใน การปฏิบตั งิ านให้สาเร็จลลุ ว่ งด้วยดี ขอขอบคณุ นายวนั ชยั พงษา และนายครรชิต มนูญผล ที่คอยดแู ล แนะนา ให้ความช่วยเหลือ เป็นกาลงั ใจ ให้การสนบั สนนุ ในการศกึ ษาค้นคว้าด้วยดเี สมอมา คณุ คา่ และประโยชน์ที่เกิดจากเอกสารเลม่ นี ้ ผ้เู ขียนขอมอบเป็นเคร่ืองบชู าพระคณุ ของพอ่ -แม่ ครู-อาจารย์ และผ้มู ีพระคณุ ทกุ ๆ ทา่ น ขอกราบขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นเป็นอยา่ งสงู มา ณ โอกาสนี ้ (ดร.จริยา ทองหอม) ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

สารบัญ 3ข เร่ือง หน้า คานา ก สารบญั ข การเรียนรู้นาการศกึ ษา 4 นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ เกี่ยวกบั Covid -19 5 การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนท่ี 1/2563 5 การจดั การเรียนการสอน ชว่ ง Covid-19 สพฐ.เคาะรูปแบบการจดั การเรียนการสอนทางไกลในชว่ งสถานการณ์โควิด-19 6 ครม.รับทราบการเตรียมความพร้อม การจดั การเรียนการสอน 11 เพ่ือรองรับการเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 \"ครูตนั้ \" ลน่ั ถงึ ปลดลอ็ กดาวน์แล้ว ยงั เปิดเทอม 1 ก.ค. ตามเดมิ 17 เลง็ หนนุ 850 รร. ลดเหลื่อมลา้ ยกระดบั การเรียนผา่ นออนไลน์ 18 ศธ. “ ปรับบ้านเป็นห้องเรียน เปลี่ยนพอ่ แมเ่ ป็นครู” 20 ข้อควรระวงั ในการเรียน Online : Covid-19 22 แบบทดสอบการเรียนรู้นาการศกึ ษา 24 บรรณานกุ รม 29 ภาคผนวก 30 ตวั อยา่ งเกียรติบตั ร 30 เฉลย แบบทดสอบการเรียนรู้นาการศกึ ษา 30 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

“การเรียนรู้นาการศกึ ษา” 4 จริยา ทองหอม 24 เมษายน 2563 ความหมายของการเรียนรู้และการศกึ ษา การเรียนรู้และการศึกษาเป็ นเครื่องมือในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มาหลายศตวรรษ มีพฒั นาการทงั้ นิยามและแนวคิดทงั้ สองเร่ืองมาหลายตระกูลความคิด ดงั จะเห็นได้ จากความแตกต่าง ในนิยามและแนวคิด แตน่ นั่ ยงั ไมใ่ ช่จุดเริ่มต้นของปัญหาคณุ ภาพการศกึ ษาที่เป็นอย่ใู นปัจจบุ นั ปัญหาอยู่ ที่ความซับซ้อนและความรวดเร็วของการเปล่ียนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึน้ จนการปรับตวั ด้านการศึกษาและ การเรียนรู้ไมท่ นั กบั การเปลี่ยนแปลงและปัญหาท่ีโลกกาลงั เผชญิ อยู่ การเรียนรู้กับการศึกษาแม้จะเก่ียวข้องกัน แต่ไม่ใช่ส่ิงเดียวกัน การศึกษาเป็นกระบวนการ เพื่ออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ของบคุ คล และการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขนึ ้ ภายในตวั ผ้เู รียน ที่ต้องเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีกระบวนการทางการศกึ ษาเป็นตวั ชว่ ยนน่ั เอง พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 (ราชกิจจานเุ บกษา 2542) ได้บญั ญัติความหมาย การศกึ ษาไว้วา่ “การศกึ ษา หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพ่ือความเจริญงอกงามของบคุ คลและสงั คม โดย การถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อนั เกิดจากการจดั สภาพแวดล้อม สงั คม การ เรียนรู้และปัจจยั เกือ้ หนุน ให้บคุ คลเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต” ในปี 1954 Carter V. Good (Good, 1954) ได้ รวบรวมศัพท์ทางการศึกษาไว้ เป็ นหมวดหมู่ และนิยามคาว่า การศึกษา ไว้ 3 ลกั ษณะ คือ (1) การศึกษาเป็นการผสมผสานของกระบวนการต่างๆ ซ่ึงบุคคลใช้ในการพัฒนาความสามารถ ทัศนคติ และพฤติกรรมตามค่านิยมที่พึงประสงค์ของสังคม (2) การศึกษาเป็นกระบวนการทางสังคมซ่ึงเกิดจากอิทธิพลของส่ิงแวดล้อมท่ีได้รับการเลือกสรรและ กาหนดขนึ ้ เพ่ือการพฒั นาสมรรถภาพทางสงั คม และศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คลให้ถึงขีดสงู สดุ เทา่ ที่จะทาได้ และ (3) การศกึ ษารายวิชาหรือสาขาวชิ าที่กาหนดไว้ในหลกั สตู รในระดบั อดุ มศกึ ษา สาหรับ การเรียนรู้ Hilgard และ Bower (1975) นิยาม การเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อสถานการณ์ซึ่งเกิดจากประสบการณ์ ซา้ ๆ ในสถานการณ์นัน้ ซ่ึงการ เปล่ียนแปลงดงั กล่าวไม่ได้เกิดจากความค้นุ ชิน หรือวยั วฒุ ิหรือเกิดขนึ ้ ระยะสนั้ อนั เนื่องมาจากสภาวะทาง ร่างกาย เชน่ ความเม่ือยล้า เป็นต้น (สมาน อศั วภมู ิ. 2560) กล่าวโดยสรุป การเรียนรู้เป็นกระบวนการในตวั บคุ คลท่ีต้องเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีกระบวนการ ทางการศกึ ษาเป็นตวั ชว่ ยให้เกิดการเรียนรู้ จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

5 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เก่ียวกบั Covid -19 ณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ 21 เมษายน 2563 “การเรียนรู้นาการศกึ ษา” “โรงเรียนหยุดได้ แต่การศกึ ษาหยุดไม่ได้” การเตรียมความพร้อมเพ่อื รองรับการเปิ ดภาคเรียนท่ี 1/2563 การจดั การเรียนการสอน ช่วง Covid-19 โพสต์เมื่อวนั ท่ี : 22 เมษายน 2563 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

6 สพฐ.เคาะรูปแบบการจดั การเรียนการสอนทางไกลในช่วงสถานการณ์โควดิ -19 https://www.kroobannok.com/87994 โพสตเ์ มื่อวนั ท่ี : 17 เม.ย. 2563 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

7 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

8 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

9 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

10 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

11 ครม.รับทราบการเตรียมความพร้อม การจัดการเรียนการสอน เพ่อื รองรับการเปิ ดภาคเรียนท่ี 1/2563 โพสต์เม่ือวนั ที่ : 22 เมษายน 2563 https://www.moe.go.th/ครม.รับทราบการเตรียมความพร้อม การจดั การเรียนการสอน เพื่อรองรับการเปิด ภาคเรียนท่ี 1/2563 วนั ที่ 21 เมษายน 2563 นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เปิดเผย ภายหลังประชุมคณะรัฐมนตรีว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบ การเตรียมความพร้อมในการจดั การเรียนการสอนเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนท่ีหนึ่ง ปีการศึกษา 2563 โดยจะดาเนินการให้สอดคล้อง กบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 1. ปฏทิ นิ การรับนักเรียน 1.1 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน  การรับนักเรียน โดยชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 รับสมคั รระหวา่ งวนั ท่ี 3-12 พฤษภาคม 2563 ส่วนสถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษาพิเศษเพ่ือเดก็ พิการ และผ้ดู ้อยโอกาส รับสมคั ร ระหวา่ งวนั ท่ี 3-31 พฤษภาคม 2563  การสอบ/คัดเลือก ในห้วงเวลาเดือนมิถนุ ายน 2563  การจัดหาสถานศึกษาและการรับรายงานตัว/มอบตัว ของนกั เรียนทกุ คน จะแล้วเสร็จภายใน วนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน 2563 1.2 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (โรงเรียนในระบบประเภทสามัญศึกษา)  การรับนักเรียน การสอบ/คัดเลือก และการประกาศผล ให้อย่ใู นดลุ พินิจของแต่ละโรงเรียน โดยต้องแล้วเสร็จก่อนการเปิดภาคเรียนที่หนง่ึ ปีการศกึ ษา 2563  การรับนักเรียนผ่านระบบออนไลน์ ซงึ่ ได้จดั ทาระบบรับสมคั รนกั เรียนออนไลน์สาหรับภาคเรียน ที่หน่ึง ปีการศึกษา 2563 ให้โรงเรียนเอกชนในระบบประเภทสามัญศึกษาทัง้ หมด โดยไม่คิด คา่ ใช้จา่ ย  การจัดประชุมชีแ้ จงทาความเข้าใจ การเตรียมความพร้อมให้กบั ทกุ ภาคสว่ นท่ีเก่ียวข้อง ในวนั ศกุ ร์ที่ 17 เมษายน 2563 โดยผ่านระบบการประชุมทางไกล เพื่อให้โรงเรียนดาเนินการรับสมคั ร นกั เรียนผา่ นระบบออนไลน์ได้ภายในวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2563 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

12 1.3 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษารัฐและเอกชน สามารถดาเนนิ การรับสมคั รนกั เรียน นกั ศกึ ษาทงั้ ผา่ นระบบออน ไลน์ หรือสมคั รด้วยตนเองท่ีสถานศกึ ษา ดงั นี ้  ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชัน้ ปี ท่ี 1 (ปวช.1) รับสมคั ร ระหวา่ งวนั ที่ 3-12 พฤษภาคม 2563 ประกาศผลการสอบ/คัดเลือก วันท่ี 13 พฤษภาคม 2563 และมอบตัว ระหว่างวันท่ี 15 – 16 มถิ นุ ายน 2563  ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ชัน้ ปี ท่ี 1 (ปวส.1) รับสมคั ร ประกาศผลการสอบ/คดั เลือก และมอบตวั ให้สถานศกึ ษากาหนดตามความเหมาะสมและทนั ตอ่ การเปิดภาคเรียน 1.4 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) การรับสมคั รผ้เู รียนใหม่และลงทะเบียนเรียนผ้เู รียนเก่า ดาเนินการโดยผ่านระบบออนไลน์ หรือ สมคั รด้วยตนเองท่ีสถานศกึ ษา ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 เมษายน – 16 พฤษภาคม 2563 2. การจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล และอุปกรณ์ทางการส่ือสาร 2.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ระยะท่ี 1 การเตรียมความพร้อม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) 1. สารวจความพร้อมในด้านอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ของนกั เรียน ผ้ปู กครอง ครู และ ระบบการบริหารจดั การการเรียนการสอน 2. ขออนุมัตใิ ช้ช่องรายการโทรทศั น์ในระบบดจิ ิทลั จากสานกั งานคณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.) เพ่ือจดั การเรียนการสอนตงั้ แต่ ระดบั ปฐมวยั ถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ขออนุมัติเผยแพร่ การเรียนการสอนจากห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัยถึงระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ของสถานีวิทยโุ ทรทศั น์การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากมลู นิธิ การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 4. จัดทาส่ือวีดิทัศน์การสอน โดยครูต้นแบบ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 5. รวบรวมส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์ม การเรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศกึ ษาธิการ เชน่ Tutor ตวิ ฟรี.com, e-Book เป็นต้น จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

13 6. เตรียมโครงสร้างพืน้ ฐานด้านระบบเครือข่าย เพ่ือรองรับการให้บริการ แพลตฟอร์มการเรียนรู้ ให้เชื่อมโยงกบั ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ระยะท่ี 2 การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม – 30 มถิ นุ ายน 2563) 1. ทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ดงั นี ้(1) ระดบั ปฐมวยั ถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ผา่ น ช่องรายการโทรทศั น์ในระบบดิจิทลั โดยการเผยแพร่สญั ญาณจากมลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ (DLTV) ทงั้ นี ้ระดบั ปฐมวยั เน้นกิจกรรมเตรียมความพร้อมเด็ก และระดบั ประถมศกึ ษาถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และ (2) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ผ่านช่องรายการโทรทศั น์ในระบบดิจิทลั และระบบออนไลน์โดยครูต้นแบบ ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศกึ ษา 2. เปิ ดศูนย์รับฟั งความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกล จากผู้ปกครอง ประชาชน และ ผ้เู ก่ียวข้อง เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและพฒั นา 3. ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ แนะนาช่องทางการเรียนทางไกลให้กบั ผ้ปู กครอง และผ้เู กี่ยวข้อง ระยะท่ี 3 การจัดการเรียนการสอน (1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564) สาหรับ 2 สถานการณ์ ดงั นี ้ 1. สถานการณ์ท่ี 1 กรณีท่ีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) ไม่คล่ีคลาย จะจัดการเรียนการสอนระดบั ปฐมวยั ถึงระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ด้วยระบบ ทางไกลผ่าน DLTV และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดิทศั น์การสอนโดยครูต้นแบบ และ ระบบออนไลน์ด้วยเคร่ืองมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศกึ ษา 2. สถานการณ์ท่ี 2 กรณีท่ีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid–19) คล่ีคลาย จะจัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรียน โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพ่ือรองรับสถานการณ์ฉกุ เฉินตา่ ง ๆ โดยจะต้องได้รับการอนมุ ตั ิ จากคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวดั ซง่ึ มีผ้วู า่ ราชการจงั หวดั เป็นประธาน ระยะท่ี 4 การทดสอบและการศึกษาต่อ (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564) โดยประสานงานกับ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ได้แก่ (1) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ( TCAS GAT PAT) (2) สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เก่ียวกับการทดสอบ O-net ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

14 2.2 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1. ประสานงานขอความร่ วมมือกับโรงเรียน หรือหน่วยงานท่ีมีความพร้ อมด้านสื่อการเรียน การสอนหรือแพลตฟอร์มการเรียนรู้สาหรับจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อให้โรงเรียนเอกชนใช้ จดั การเรียนการสอนได้ตามเงื่อนไขที่แตล่ ะหนว่ ยงานกาหนด และโดยไมค่ ดิ คา่ ใช้จา่ ย 2. อยู่ระหว่างจัดทาสารบัญกลุ่มสาระการเรียนรู้จาแนกตามระดับชั้นและตัวชีว้ ัด เพื่อ การเช่ือมตอ่ ไปยงั สื่อการเรียนการสอนท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงอย่ใู นคลังข้อมูลท่ีได้จดั ทาขึน้ ให้แล้วเสร็จ ภายในต้นเดอื นพฤษภาคม 2563 3. จัดทาเวบ็ ไซต์ท่ใี ช้เป็ นศูนย์กลางในการเช่ือมโยง ไปยงั ข้อ 1 และข้อ 2 2.3 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 1. ดาเนินการเตรียมความพร้ อมด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ดงั นี ้ (1) เตรียม โครงสร้างพืน้ ฐาน (Infrastructure) เชื่อมโยง Platform กับกระทรวงศึกษาธิการ (2) เตรียมระบบ Cloud Computing (3) พัฒนาคลังความรู้ทางวิชาชีพบนระบบ Cloud และ (4) อยู่ระหว่าง ประสานงานเพ่ือขอสนบั สนุนช่องสญั ญาณทีวีระบบดิจิทลั เพิ่มเติม จากเดิมท่ีมี DLTV ช่อง 13 (ถา่ ยทอด 3 วนั /สปั ดาห์) ไปยงั มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 2. จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานศึกษาภาครัฐและเอกชน มี 4 แนวทาง ดงั นี ้(1) ใช้ แบบเรียนหรือเอกสารประกอบการสอนที่บ้าน โดยครูผ้สู อนมีระบบออนไลน์ที่ติดตอ่ ถึงผ้เู รียนได้ หลากหลายช่องทาง (2) ใช้ชุดการเรียนออนไลน์ (Online Course) ซ่ึงมีรูปแบบเหมือนกับ DLTV โดยครูผ้สู อนสามารถสื่อสารถึงผ้เู รียนผ่านสื่อได้หลายช่องทาง อาทิ โทรทศั น์ YouTube เป็นต้น (3) ใช้ระบบการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของสถานศึกษา ได้แก่ (3.1) ประยกุ ต์ใช้แอปพลิเค ชนั ที่สถานศกึ ษาสร้างขนึ ้ หรือท่ีมีใช้แพร่หลายในสงั คมออนไลน์ รวมถึงการผลิตบทเรียนออนไลน์ ด้วยตนเอง และ (3.2) ใช้ห้องเรียนที่มีระบบการเรียนการสอนออนไลน์ของสถานศกึ ษา ซง่ึ สามารถ จดั การเรียนการสอนแบบ Realtime ได้ และ (4) ในบางสาขาวิชาที่ขาดแคลนครูผ้สู อนหรือต้องใช้ ผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะทางในการสอน อาทิ ช่างซอ่ มบารุงอากาศยาน ชา่ งเทคนิคระบบขนส่งทางราง อาจเรียนโดยการรับชมการถ่ายทอดสดการจดั การเรียนการสอน (Live) ผา่ นศนู ย์การสอนออนไลน์ ของสถานศึกษาแม่ข่าย (วิทยาลยั เทคนิคดอนเมือง และศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกาลงั คน อาชีวศกึ ษา) จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

15 2.4 สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) 1. จัดการเรียนรู้ด้วยวธิ ีเรียน กศน. แบบออนไลน์ โดยผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ ได้แก่ (1.1) แอปพลิเค ชั น ONIE Online (1.2) ETV แ ล ะ ที วี ร ะ บ บ ดิ จิ ทั ล ช่ อ ง 37 (1.3) http://www.ETVThai.tv และ http://www.ceted.org และ (1.4) โปรแกรมการสื่อสารอื่น ๆ เช่น Line, Google Classroom, Microsoft Teams, Zoom Meeting, E-book เป็ นต้ น รวมทัง้ พบปะครูผ้สู อนตามความเหมาะสมของเนือ้ หาวชิ า และบริบทพืน้ ที่ 2. จัดช่องทางการเรียนรู้ ได้แก่ (2.1) ทางสถานีโทรทศั น์เพ่ือการศึกษา ETV และทีวีระบบดิจิทัล ชอ่ ง 37 ออกอากาศคขู่ นานพร้อมกนั ทกุ วนั เวลา 06.00 น. – 24.00 น. โดยปรับตารางออกอากาศ ในเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน 2563 เพื่อสนับสนุนสื่อสาหรับในและนอกระบบการศึกษา รวมทงั้ กาหนดช่องทางออกอากาศ ได้แก่ GMMz ช่อง 185, DTV ช่อง 252, PSI ช่อง 110, True ชอ่ ง 371 และ (2.2) ทางแอพพลิเคชนั่ ONIE Online 3. ดาเนินการวัดและประเมินผล โดยจัดสอบด้วยข้อสอบกลางสาหรับนักศึกษา กศน. ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ทงั้ ในรูปแบบข้อสอบ และจดั สอบด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ตามศนู ย์ทดสอบอาเภอ จานวน 148 แหง่ ทวั่ ประเทศ 3. การเตรียมความพร้อมสาหรับครู 3.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พฒั นาครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ที่เก่ียวข้องสาหรับการเรียนการสอนทางไกล ดงั นี ้ (1) จดั ทาคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกลสาหรับครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและผ้ทู ่ีเกี่ยวข้อง (2) ให้ความรู้ในการใช้เคร่ืองมือ เทคนิคและวิธีการจดั การเรียนการสอนทางไกลผ่านช่องทาง DLTV และ OBEC Channel และ (3) นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนทางไกล 3.2 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน จัดฝึ กอบรมครู ให้ สามารถใช้ โปรแกรมท่ีมีอยู่อย่างแพร่ หลายให้ แล้ วเสร็ จประมาณต้ นเดือน พฤษภาคม 2563 และใช้โปรแกรมจดั การเรียนการสอนออนไลน์ที่อยรู่ ะหวา่ งพฒั นา ซึ่งคาดวา่ จะแล้วเสร็จ ประมาณปลายเดอื นพฤษภาคม 2563 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

16 3.3 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 1. ดาเนินการพัฒนาครู โดย (1.1) ร่วมมือกบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เพ่ือพฒั นาครูอาชีวศกึ ษาให้สร้างบทเรียนออนไลน์ ส่ือการสอน เทคนคิ วธิ ีสอน และการประเมนิ ผล ท่ีเหมาะสมกบั การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ โดยกาหนดบทบาทครูเป็น 3 กลมุ่ คือ Excellent Teacher, Mentor Teacherและ Network Teacher และ (1.2) พัฒนาทักษะการใช้ โปรแกรม ที่สนบั สนุนการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อให้ครูสามารถพฒั นาบทเรียนออนไลน์ได้ตาม ความสนใจ 2. การพัฒนาชุดการเรียนออนไลน์ (Online Course) ทุกรายวิชาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั ร วชิ าชีพ (ปวช.) และหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) ซ่งึ สานกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษากาหนด สาหรับระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ซึ่งสถาบัน การอาชีวศกึ ษากาหนด 3.4 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) ดาเนินการเตรียมความพร้อม ได้แก่ (1) การชีแ้ จงผ้เู ก่ียวข้อง ประกอบด้วย ผ้บู ริหารระดบั จงั หวดั และผ้บู ริหารระดบั อาเภอ (2) การอบรมครู ประกอบด้วย การจดั การเรียนรู้ผ่านระบบทางไกล และการสร้าง แบบทดสอบแบบออนไลน์ (3) การชีแ้ จงนักศึกษา และ (4) การจดั ทาคู่มือการจดั การเรียนรู้ผ่านระบบ ทางไกล จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

17 \"ครูตนั้ \"ล่ันถงึ ปลดล็อกดาวน์แล้ว ยงั เปิ ดเทอม 1 ก.ค.ตามเดมิ https://www.kroobannok.com/88010 วนั ท่ี 21 เม.ย.63 - นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (รมว.ศธ.) กลา่ ว ภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่า ตนได้รายงานให้ที่ประชุม ครม. รับทราบถึงแผนการจัด การศกึ ษาออนไลน์ทา่ มกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาหรือโควดิ -19 ที่ยงั ไมพ่ ้นวกิ ฤต ซึ่ง พล.อ.ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้รับทราบถึงการดาเนินการของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) และขอให้บริหารจดั การให้เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ สาหรับแผนการเรียนการสอนออนไลน์ออกเป็น 3 กล่มุ ได้แก่ อนุบาล ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ไปจนถึงมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยการ เรียนการสอนจะเผยแพร่ผ่านช่องทีวีดิจิทัล 17 ช่อง และระบบการศึกษาทางไกลผ่านออนไลน์ ซ่ึงจะ ครอบคลมุ ทกุ หลกั สตู รการเรียนรู้และกลมุ่ สาระวิชาหลกั โดยมีสว่ นกลางจะเป็นผ้กู าหนดเนือ้ การเรียนการ สอน ดังนัน้ ระหว่างวันท่ี 17 พฤษภาคมไปจนถึงวันท่ี 30 มิถุนายนจะเป็นช่วงการทดสอบระบบและ ตรวจสอบดวู ่ามีอุปสรรคของการจดั การเรียนออนไลน์อะไรบ้าง นายณัฏฐพล กล่าวตอ่ ว่า ทงั้ นีต้ นคาดว่า นา่ จะมีกลมุ่ ที่การเรียนการสอนด้วยระบบออนไลน์ยงั ไมม่ ีความพร้อมอยปู่ ระมาณร้อยละ 10-15 เชน่ การท่ี เด็กขาดอปุ กรณ์ส่ือสาร ไม่มีโทรทัศน์ ขาดอุปกรณ์ในการเช่ือมต่อกับระบบออนไลน์ เป็นต้น โดยปัญหา เหลา่ นีช้ ่วงระหว่างการทดสอบระบบ ศธ.จะเร่งบริหารจดั การให้เสร็จก่อนเปิดเรียนวนั ที่ 1 กรกฎาคม ทงั้ นี ้ คาดวา่ จะมีการจดั เรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ร้อยละ 80 และอีกร้อยละ 20 จะประเมินความพร้อม โรงเรียนในบางพืน้ ท่ีหากโรคระบาดอยใู่ นระยะสงบแล้วก็สามารถจดั การเรียนการสอนแบบปกตไิ ด้ ซง่ึ จะมี การประเมินสถานการณ์เป็นระยะๆตอ่ ไป “ผมได้แจ้งให้รัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้องรับทราบด้วย เช่นกันว่า หาก รัฐบาลปลดมาตรการลอ็ คดาวน์เมืองแล้ว แต่ ศธ.ยืนยนั ที่จะยงั ไมใ่ ห้มีการเปิดเรียนแบบเต็มรูปแบบโดยที่มี นักเรียนเดินทางมาเรียน เนื่องจากยังไม่อยากให้มีการรวมกลุ่มกันเป็นจานวนมาก ”รมว.ศธ.กล่าว จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

18 เล็งหนุน 850 รร. ลดเหล่ือมลา้ ยกระดับการเรียนผ่านออนไลน์ https://www.kroobannok.com/88007 กสศ.- สพฐ. พร้อมเครือขา่ ยด้านการศกึ ษา เตรียมหนนุ 850 โรงเรียนพฒั นาคณุ ภาพตนเอง นาร่องชว่ ยครูปรับรูปแบบการสอนให้เดก็ เรียนรู้ได้เตม็ ท่ี มงุ่ ลดเหล่ือมลา้ แม้ในวิกฤตโิ ควดิ -19 ชีก้ ารสร้างห้องเรียนประสิทธิภาพสงู ผา่ นการเรียนออนไลน์ เม่ือวนั ที่ 20 เม.ย. ดร.อดุ ม วงษ์สงิ ห์ ผ้อู านวยการสานกั พฒั นาคณุ ภาพครู นกั ศกึ ษาครู และ สถานศกึ ษา กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) กลา่ วว่า ผลการวเิ คราะห์ PISA 2018 ที่ผา่ น มา ความเหล่ือมลา้ ด้านความรู้ระหวา่ งนกั เรียนในเมืองกบั นกั เรียนในชนบทที่ตา่ งกันถงึ 2 ปีการศกึ ษา อนั เนื่องมาจากคณุ ภาพของโรงเรียนที่ไมเ่ ทา่ กนั มีความแตกตา่ งทงั้ ในด้านงบประมาณและทรัพยากร เม่ือมา เจอสถานการณ์ของโรคระบาดโควิด-19 ท่ีสง่ ผลให้นกั เรียนยงั ไปโรงเรียนไมไ่ ด้และมีแนวโน้มต้อง ปรับเปลี่ยนวธิ ีการเรียนการสอนใหมร่ วมถึงระบบออนไลน์ โรงเรียนในชนบทหา่ งไกลย่อมได้รับผลกระทบนี ้ อยา่ งแนน่ อน โดยเฉพาะเร่ืองของความพร้อม กสศ. ร่วมมือกบั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) และ 5 เครือขา่ ยด้านการศกึ ษา ได้แก่ มลู นิธิลาปลายมาศพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขต ชลบรุ ี มลู นธิ ิโรงเรียนสตาร์ฟิชคนั ทรีโฮม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ เดนิ หน้า โครงการพฒั นาครูและโรงเรียนเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง (Teacher School Quality Program : TSQP) เพ่ือสง่ เสริมให้โรงเรียนพฒั นาคณุ ภาพได้ด้วยตนเอง จงึ เป็นการสร้างโอกาสทาง การศกึ ษาแกเ่ ด็กและเยาวชนให้เข้าถงึ การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ โดยสนบั สนนุ การพฒั นาระบบบริหารจดั การ โรงเรียนให้มีความพร้อมและเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้และสนบั สนนุ ให้มีเคร่ืองมือการจดั การเรียนรู้ในระดบั ชนั้ เรียนที่หลากหลาย เอือ้ ตอ่ การพฒั นานกั เรียนตามความถนดั และศกั ยภาพของผ้เู รียน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง การยกระดบั คณุ ภาพชนั้ เรียนให้เป็นการเรียนรู้แบบ Active Learning สามารถพฒั นาให้เกิดทกั ษะการ เรียนรู้ได้สอดคล้องกบั ศตวรรษที่ 21 โดยปีการศกึ ษา 2562 มีโรงเรียนขนาดกลางร่วมโครงการจานวน 290 แหง่ ใน 35 จงั หวดั และกาลงั ขยายรุ่นท่ี 2 อีก 560 โรงเรียนในปีการศกึ ษา 2563 รวมทงั้ สนิ ้ 850 โรง ทวั่ ประเทศ “กสศ. และเครือขา่ ยวชิ าการไมน่ ้อยกวา่ 8 เครือขา่ ย ได้ปรับแนวทางการสนบั สนนุ เพ่ือชว่ ยเตรียม ความพร้อมให้โรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมายทงั้ 850 โรง หรือประมาณร้อยละ 10 ของโรงเรียนขนาดกลาง ให้ สามารถจดั การเรียนรู้ที่เอือ้ ตอ่ การพฒั นาการเรียนรู้ได้อย่างเตม็ ที่ ทงั้ นีจ้ ะคานงึ ถงึ บริบทของแตล่ ะโรงเรียน ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ด้วย เชน่ สามารถปรับวธิ ีการเรียนรู้เพื่อให้โรงเรียนในเครือขา่ ย จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

19 มีการชว่ ยเหลือครูและนกั เรียนได้เหมาะสมกบั สภาพปัญหาในขณะนี ้เปิดโอกาสให้ผ้บู ริหารและครูเสนอ แนวทางการทางานรูปแบบใหมเ่ พ่ือให้นกั เรียนไมห่ ยดุ การเรียนรู้แม้ในสภาวะที่ไมส่ ามารถมาโรงเรียนได้ รวมถึงการดแู ลสขุ อนามยั ทงั้ นกั เรียนและผ้ปู กครองให้ผา่ นพ้นวิกฤตชิ ว่ งนีไ้ ปให้ได้อีกด้วย สาหรับคณุ ครู อาจจะต้องมีการเพมิ่ ทกั ษะการจดั การเรียนรู้เพื่อพฒั นาผ้เู รียนทงั้ ในด้านการออกแบบแผนการเรียนการ สอน การวดั ผลประเมินผล และชว่ ยให้นกั เรียนด้อยโอกาสได้รับการดแู ลและพฒั นาอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพด้วย ซงึ่ หวั ใจสาคญั คอื พลงั ร่วมของครูและบคุ ลากรทกุ คนในโรงเรียนรวมถึงเครือขา่ ยพนั ธมิตรท่ีจะชว่ ยทาเรื่องนี ้ ให้สาเร็จได้” ดร.อดุ ม กลา่ ว รศ.ดร.ธนั ยวชิ วิเชียรพนั ธ์ หนง่ึ ในเครือขา่ ยร่วมพฒั นาโรงเรียน TSQP กสศ. และผ้อู านวยการสานกั วิจยั และพฒั นานวตั กรรม มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี กลา่ ววา่ ใน สถานการณ์ท่ีไวรัสโควิด-19 กาลงั แพร่ระบาดนนั้ การจดั การศกึ ษาทางไกลถกู หยบิ ยกขนึ ้ มาเป็นประเดน็ สาคญั แตใ่ นมิตขิ องการจดั การเรียนรู้ที่ “ยดึ ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลาง” บนแพลตฟอร์มออนไลน์ หรือการจดั การ เรียนรู้แบบ active learning ใน virtual classroom ยงั ไมไ่ ด้ถกู กล่าวถงึ มากนกั สว่ นใหญ่มงุ่ ประเดน็ ไปท่ี เครื่องไม้เครื่องมือและเทคโนโลยีท่ียงั มิใชห่ วั ใจสาคญั ของการศกึ ษา การจดั การเรียนออนไลน์แบบ Active Learning ให้เป็น High Functioning Classroom หรือห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพสงู ทงั้ กระบวนการและ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผ้เู รียนได้นนั้ องค์ประกอบสาคญั ที่ชว่ ยให้คณุ ครูทางานง่ายขนึ ้ ควรเริ่มจาก การศกึ ษาธรรมชาตผิ ้เู รียน สภาพแวดล้อม และบริบทตา่ งๆ ที่พวกเขาโตมา และสถานการณ์ของโลกท่ีเดก็ ต้องเจอ จะชว่ ยให้คณุ ครูสามารถออกแบบการเรียนการสอนได้งา่ ยและตรงโจทย์ความต้องการมากขนึ ้ “วิชาท่ีสอนอาจไมใ่ ชว่ ิชาสามญั แตเ่ ป็น “Life Project” ท่ีมีความสอดคล้องกบั ชีวิตจริง ให้เดก็ ๆลงมือทาเกิด การเรียนรู้เองได้จริง เป็นการควบรวมรายวชิ าในลกั ษณะของการบรู ณาการให้นา้ หนกั ไปกบั วชิ าสมั มนา วชิ าค้นคว้าอสิ ระ วิชาวทิ ยาการวจิ ยั และวชิ าการสร้างสรรคน์ วตั กรรม เช่น ให้เดก็ แตล่ ะคนไปศกึ ษาใน หวั ข้อ “My family’s happiness” ในชว่ งโควิด-19 แล้วมาแชร์เป็นไอเดยี ตอ่ ยอดไปด้วยกนั ” รศ.ดร.ธนั ยวชิ กลา่ ว รศ.ดร.ธนั ยวชิ กลา่ ววา่ สาหรับกระบวนการเรียนรู้และมอบหมายงานตอ่ ผ้เู รียน 1 หนว่ ย จะไมไ่ ด้มี นกั เรียนแค่ 1 คนอีกตอ่ ไป แตจ่ ะนบั รวมคณุ พอ่ คณุ แม่ ผ้ปู กครองด้วย นนั่ หมายความวา่ ครอบครัวของ นกั เรียนจะเข้ามามีบทบาทสาคญั ที่จะเป็นตวั กลางระหวา่ งคณุ ครูและนกั เรียน รับรู้วา่ บตุ ร หลานกาลงั เรียนอะไร ทาอะไรอยู่ ในบางครัง้ ก็เป็นเหมือนผ้ขู บั เคลื่อน (Facilitator) หรือเป็นโค้ชที่คอยดแู ลระหวา่ งท่ี กาลงั ลงมือเรียนรู้ด้วยตนเองสว่ นการสร้างความ Active Learning บนโลกออนไลน์ ประกอบด้วย 4 ขนั้ ตอนคือ 1.เปิดเวทีให้เดก็ แตล่ ะคน แชร์เรื่องราวตวั เอง 2.เรียนในออนไลน์ แล้วไปตอ่ ในชีวิตจริง 3. ตดิ ตามผลงานไปพร้อมกนั และ 4 รีวิวบทเรียนที่ผา่ นมา และวางขนั้ ตอ่ ไป ซงึ่ วิธีทงั้ หมดนีค้ ณุ ครูจะเป็นพลงั ขบั เคล่ือนสาคญั ท่ีจะชว่ ยให้ห้องเรียนออนไลน์เกิดความ Active Learning ได้อย่างตอ่ เน่ืองและเกิดเป็น ห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ และครูจะต้องปรับตวั เองจากการเป็นนกั บรรยายหรือนกั กิจกรรมมาเป็นนกั จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

20 ออกแบบสื่อประสมที่สอดคล้องและสมั พนั ธ์กบั จดุ มงุ่ หมายเนือ้ หาวิชา “อยา่ งไรก็ตามมากกวา่ 50% ของ นกั เรียนในประเทศไทยมีภาวะยากลาบากในการเรียนรู้ออนไลน์ ขาดแคลนอปุ กรณ์และโครงสร้างพืน้ ฐาน จงึ มีความจาเป็นที่จะต้องพจิ ารณาการเรียนรู้ทางไกล (Distance Learning) ในยคุ Analog เชน่ รายการ โทรทศั น์ทางการเรียนรู้ท่ีเป็น Multimedia จริงๆ ไมใ่ ชแ่ คก่ ารบรรยาย หรือถ้าเป็นกรณีท่ีหา่ งไกลไมม่ ี สญั ญาณโทรทศั น์หรือไฟฟา้ ก็ต้องใช้ชดุ การเรียนรู้ด้วยตวั เอง (Learning Package) ท่ีเป็น Paper-based ตามแนวทางการจดั การศกึ ษาแบบ Self-Directed Learning ที่ผ้เู รียนจะต้องเรียนรู้ผ่านชดุ เครื่องมือ ดงั กลา่ วสร้างองค์ความรู้ด้วยตวั เองโดยมีครูเป็นผ้แู นะนาอยหู่ า่ งๆ ผา่ นทางไปรษณีย์ หรือผา่ นศนู ย์การ เรียนรู้ชมุ ชนที่เป็นตวั ประสาน” รศ.ดร.ธนั ยวชิ กลา่ ว ศธ. “ปรับบ้านเป็ นห้องเรียน เปล่ียนพ่อแม่เป็ นครู” https://www.kroobannok.com/87998 กระทรวงศกึ ษาฯ วนั ท่ี 16 เม.ย.-รมช.ศกึ ษาฯ มอบนโยบายการศกึ ษาพเิ ศษ ปรับบ้านเป็น ห้องเรียน เปล่ียนพอ่ แมเ่ ป็นครู เตรียมการรองรับเปิดภาคเรียน โดยใช้การเรียนการสอนทางไกล คณุ หญิงกลั ยา โสภณพนิช รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ (รมช.ศธ.)เป็นประธานการประชมุ มอบนโยบายการดาเนนิ งานการจดั การศกึ ษาสาหรับคนพกิ ารและผ้ดู ้อยโอกาส ให้กบั สถานศกึ ษา สงั กดั สานกั บริหาร งานการศกึ ษาพเิ ศษทว่ั ประเทศ ผา่ นระบบวดิ ีโอคอนเฟอร์เรนส์ โดยมี นายอานาจ วชิ ยานวุ ตั ิ เลขาธิการ กพฐ. นายวฒุ ศิ กั ดิ์ เหล็กคา ผอ.สานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ และผ้เู ก่ียวข้อง เข้าร่วม ประชมุ ณ ห้องประชมุ สพฐ. 1 กระทรวงศกึ ษาธิการ คณุ หญิงกลั ยา กลา่ วถงึ นโยบายสาคญั ขณะนีค้ อื การ เตรียมการรองรับการเปิดภาคเรียน โดยใช้การเรียนการสอนทางไกล ซง่ึ ศธ.มีความค้นุ เคยกนั มาพอสมควร แล้ว ตามท่ีเรียกกนั วา่ “ครูต้”ู โดยต้องทาให้เข้มข้นมากขนึ ้ ขณะเดยี วกนั ต้องเตรียมกระบวนการบริหาร จดั การการศกึ ษาพิเศษด้วยนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ ไมท่ งิ ้ ใครไว้ข้างหลงั โดยมีแพลตฟอร์มของ ศธ. เอง เพ่ือเป็นเวทีเชื่อม 176 หนว่ ยงาน และโยงคนพิการทงั้ ประเทศให้สามารถเข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษา การพฒั นาตนเองได้มากขนึ ้ ตามแนวทาง “ปรับบ้านเป็นห้องเรียน เปลี่ยนพ่อแมเ่ ป็นครู” โดยที่แพลตฟอร์ม นี ้จะสามารถทาให้พอ่ แม่ ผ้ปู กครองเรียนรู้วิธีการดแู ล พฒั นาผ้เู รียนท่ีพิการ ตามแบบตา่ ง ๆ ตอ่ ไปได้ อีก ทงั้ ยงั สามารถบรรจสุ ่ือการเรียนการสอนออนไลน์ การให้คาปรึกษา แนะนา และเร่ือง อื่น ๆ ไปยงั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษาในสงั กดั ศธ. ได้ด้วย ขณะนี ้ศธ. กาลงั ทาแพลตฟอร์มของโรงเรียนที่จดั การศกึ ษาพเิ ศษ คอื เม่ือค้นหาเข้าไปก็จะทราบข้อมลู วา่ จงั หวดั นีม้ ีคนพกิ ารประเภทใดบ้าง มีก่ีคน บ้านอยทู่ ่ีไหน เป็นต้น โดย ดาเนินการได้แล้ว 3 จงั หวดั และจะขยายผล ให้ครบทกุ จงั หวดั นอกจากนี ้ศธ.ยงั มีแนวทางสนบั สนนุ ให้มี จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

21 ครูตอ่ จานวนนกั เรียน อยา่ งเหมาะสม รวมถงึ เรื่องการสอบเล่ือนวิทยฐานะและการบรรจคุ รูการศกึ ษาพิเศษ เนื่องจากคนท่ีทางานเกี่ยวกบั การศกึ ษาพิเศษ ต้องอย่ปู ระจา และดแู ลเดก็ เหมือนเป็นพอ่ แม่ ดงั นนั้ หน้าที่ และความรับผิดชอบจะมีความแตกตา่ งจากครูประเภทอ่ืน จงึ อยากสนบั สนนุ ให้มีหนทางได้เล่ือนวิทยฐานะ และบรรจุ โดยการแขง่ ขนั กนั เอง ตามที่สานกั งาน ก.ค.ศ. เห็นชอบหลกั การให้มีการปรับปรุงหลกั เกณฑ์และ วิธีการคดั เลือกบคุ คลเพ่ือบรรจแุ ละแตง่ ตงั้ เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กรณีท่ีมีความจาเป็นหรือมีเหตพุ ิเศษ เพื่อให้เป็น ไปตามเจตนารมณ์ตามมาตรา 50 แหง่ พ.ร.บ.ระเบยี บข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2547 ซงึ่ เลขาธิการ กพฐ.ก็เน้นยา้ วา่ ต้อง ดาเนนิ การอยา่ งโปร่งใส เพ่ือให้ได้ครูที่มีความสามารถและเหมาะสม สาหรับสานกั บริหารงานการศกึ ษา พเิ ศษ เป็นหนว่ ยงานสงั กดั สพฐ.มีภารกิจหลกั คอื จดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานสาหรับเดก็ พกิ ารและเดก็ ด้อย โอกาสผา่ นการให้บริการในรูปแบบที่หลากหลายและมีคณุ ภาพ มีทกั ษะชีวิตที่ดี สามารถพง่ึ ตนเองได้ อยู่ ในสงั คมอย่างมีความสขุ มีศกั ด์ศิ รี มีคณุ ภาพชีวิตที่ดี มีสถานศกึ ษาในสงั กดั ฯ รวม 16 แหง่ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์ 51 แหง่ 2.โรงเรียนเฉพาะความพิการ 48 แหง่ และ 3.ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ 77 แหง่ ทวั่ ประเทศ . จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

ข้อควรระวังในการเรียน Online : Covid-19 22 ครรชติ มนญู ผล 21 เมษายน 2563 1. เดก็ อยกู่ บั ส่ือไมไ่ ด้อยกู่ บั ครู ไมใ่ ชห่ ้องเรียน... เดก็ ต้องควบคมุ ตนเอง การบงั คบั ให้นงั่ น่งิ ๆดผู า่ นส่ือ ทงั้ วนั …ไมค่ วรอยา่ งย่ิง โดยเฉพาะเดก็ ชนั้ เรียนขนาดเลก็ ยิง่ ควบคมุ ตนเองยากท่ีสดุ 2. ชิน้ งานท่ีให้ทา ต้องแตกตา่ งจากการเรียนปกต.ิ .. ต้องไมม่ ากชนิ ้ ตา่ งคนตา่ งสงั่ น้อยชนิ ้ และเป็นแบบ บรู ณาการชีวิตจริง 3. กาหนดเปา้ หมายการเรียนให้ชดั เน้นมีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว มีวินยั มีทกั ษะการดแู ล ตนเองให้ปลอดภยั มีองค์ความรู้ ท่ีจาเป็นสามารถประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริงได้ 4. วดั ผลและประเมินอยา่ งไร ใช้วิธีการอยา่ งไร ร่องรอยอะไร ถี่หา่ งแคไ่ หน ฯลฯ ***นี่ไมใ่ ชส่ ถานการณ์ปกติ ***อยา่ นาเข้าวธิ ีสอนห้องเรียนปกตไิ ปใช้โดยไมเ่ ปล่ียนแปลงใดๆ ***น่ีคอื ความท้าทายแหง่ ยคุ สมยั ของการศกึ ษาไทย ***ประสบการณ์ Covid-19 จะสอนเราวา่ เราควรเปลี่ยนแปลงการศกึ ษาอยา่ งไร จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

23 ท่ีมา-: สืบค้นเม่ือ 22 เมษายน 2563 จาก https://www.facebook.com/ครรชิต มนญู ผล/210463/ข้อควรระวงั ในการเรียน Online : Covid-19 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

24 แบบทดสอบ เลือกคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสดุ เพียงข้อเดียว 1. เพราะเหตใุ ดรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการจงึ ออกแถลงการณ์เก่ียวกบั การจดั การเรียนการสอน ครัง้ ท่ี 1 เม่ือวนั ท่ี 22 เมษายน 2563 ก. การแพร่ระบาดของโรคไข้หวดั ใหญ่ (Influenza) ข. การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ค. การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (Dengue Fever) ง. การแพร่ระบาดของโรคเอชไอวี/เอดส์ 2. ปฏิทินการรับนกั เรียนระหวา่ งวนั ท่ี 3-12 พฤษภาคม 2563 รับสมคั รนกั เรียนในระดบั ชนั้ ใด ก. ป.1 ข. ม.1 ค. ม. 4 ง. ม.1 และ ม. 4 3. ปฏิทินการรับนกั เรียนระหวา่ งวนั ท่ี 3-12 พฤษภาคม 2563 เป็นการรับสมคั รนกั เรียนในสงั กดั ใด ก. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ข. สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ค. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ง. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4. การสอบ/คดั เลือกตามปฏิทนิ ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานอยใู่ นชว่ งระยะเวลาใด ก. เดือนเมษายน 2563 ข. เดอื นพฤษภาคม 2563 ค. เดือนมิถนุ ายน 2563 ง. เดอื นกรกฎาคม 2563 5. การจดั หาสถานศกึ ษาและการรับรายงานตวั /มอบตวั ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ต้องดาเนนิ การให้เสร็จเม่ือไหร่ ก. ภายในวนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2563 ข. ภายในวนั ที่ 15 มถิ นุ ายน 2563 ค. ภายในวนั ที่ 15 กรกฎาคม 2563 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

25 ง. ก. ภายในวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2563 6. สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนเปิดรับนกั เรียนในระบบใด ก. การรับนกั เรียนผา่ นระบบออนไลน์ ข. สมคั รด้วยตนเองที่สถานศกึ ษา ค. รับสมคั รทงั้ 2 ระบบ ง. ไมม่ ีข้อถกู 7. การเตรียมความพร้อมให้กบั ทกุ ภาคสว่ นที่เกี่ยวข้องของสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษา เอกชนจะดาเนนิ การเม่ือใด ก. 17 เมษายน 2563 ข. 30 เมษายน 2563 ค. 17 พฤษภาคม 2563 ง. 30 พฤษภาคม 2563 8. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาเปิดรับสมคั รระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ชนั้ ปีที่ 1 (ปวช.1) เม่ือไหร่ ก. ระหวา่ งวนั ท่ี 3-12 พฤษภาคม 2563 ข. ระหวา่ งวนั ที่ 1 เมษายน – 16 พฤษภาคม 2563 ค. ระหวา่ งวนั ท่ี 15-16 มถิ นู ายน 2563 ง. สถานศกึ ษากาหนดตามความเหมาะสม 9. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาเปิดรับสมคั รระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู ชนั้ ปีท่ี 1 (ปวส.1) เมื่อไหร่ ก. ระหวา่ งวนั ที่ 3-12 พฤษภาคม 2563 ข. ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เมษายน – 16 พฤษภาคม 2563 ค. ระหวา่ งวนั ที่ 15-16 มิถนู ายน 2563 ง. สถานศกึ ษากาหนดตามความเหมาะสม 10. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) เปิดรับสมคั รผ้เู รียนด้วยวธิ ี ใด ก. ระบบออนไลน์ ข. สมคั รด้วยตนเองที่สถานศกึ ษา ค. ทงั้ 2 ระบบ ง. ไมม่ ีข้อถกู จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

26 11. สพฐ. วางแผนการจดั การเรียนการสอนทางไกลเป็นก่ีระยะ ก. 3 ระยะ ข. 4 ระยะ ค. 5 ระยะ ง. 6 ระยะ 12. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารจดั การเรียนการสอนระบบทางไกล และอปุ กรณ์ทางการส่ือสารของ สพฐ. ก. การเตรียมความพร้อม ข. การทดลองจดั การเรียนการสอนทางไกล ค. การจดั ทาเว็บไซตท์ ่ีใช้เป็นศนู ย์กลางในการเชื่อมโยง ง. การจดั การเรียนการสอน 13. ข้อใด ไมใ่ ชร่ ะยะการเตรียมความพร้อมของ สพฐ ก. การทดลองจดั การเรียนการสอนทางไกล ข. สารวจความพร้อมในด้านอปุ กรณ์การเข้าถงึ อินเทอร์เน็ต ค. ขออนมุ ตั ใิ ช้ช่องรายการโทรทศั น์ในระบบดจิ ทิ ลั ง. จดั ทาส่ือวีดทิ ศั น์การสอน 14. การทดลองจดั การเรียนการสอนทางไกลอยใู่ นชว่ งระยะเวลาใด ก. 7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563 ข. 18 พฤษภาคม – 30 มิถนุ ายน 2563 ค. 1 กรกฎาคม – 30 เมษายน 2564 ง. 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564 15. การจดั การเรียนการสอนระบบทางไกลของ สพฐ. ถกู กาหนดให้อยใู่ นชว่ งเวลาใด ก. 7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563 ข. 18 พฤษภาคม – 30 มิถนุ ายน 2563 ค. 1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564 ง. 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564 16. สพฐ. ประสานงานกบั หนว่ ยงานใดท่ีเกี่ยวข้องกบั การทดสอบและคดั เลือกเข้าศกึ ษาตอ่ ก. กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ข. สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ ค. ถกู ทกุ ข้อ ง. ไมม่ ีข้อถกู จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

27 17. ข้อใดไมใ่ ชร่ ะยะการดาเนินงานของสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ก. เตรียมโครงสร้างพืน้ ฐานด้านระบบเครือขา่ ย ข. ประสานงานขอความร่วมมือกบั โรงเรียน ค. อยรู่ ะหวา่ งจดั ทาสารบญั กลมุ่ สาระการเรียนรู้จาแนกตามระดบั ชนั้ และตวั ชีว้ ดั ง. จดั ทาเว็บไซต์ที่ใช้เป็นศนู ย์กลางในการเช่ือมโยง 18. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนดวธิ ีการเตรียมความพร้อมไว้กี่วิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วธิ ี ง. 5 วธิ ี 19. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) กาหนดวิธีการเตรียมความ พร้ อมไว้ ก่ีวิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วธิ ี ค. 4 วธิ ี ง. 5 วธิ ี 20. สพฐ. กาหนดแนวทางการเตรียมความพร้อมสาหรับครูอยา่ งไรบ้าง ก. จดั ทาคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกล ข. ให้ความรู้ในการใช้เครื่องมือ เทคนิคและวิธีการจดั การเรียนการสอนทางไกลผา่ นช่องทาง DLTV และ OBEC Channel ค. นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การเรียนการสอนทางไกล ง. ถกู ทกุ ข้อ 21. สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนกาหนดแนวทางการเตรียมความพร้อมสาหรับครู อยา่ งไรบ้าง ก. จดั ฝึกอบรมครูให้สามารถใช้โปรแกรมที่มีอยอู่ ยา่ งแพร่หลาย ข. ใช้โปรแกรมจดั การเรียนการสอนออนไลน์ที่อย่รู ะหวา่ งพฒั นา ค. ถกู ทงั้ 2 ข้อ ง. ไมม่ ีข้อถกู จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

28 22. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนดแนวทางการเตรียมความพร้อมสาหรับครูอยา่ งไรบ้าง ก. ดาเนินการพฒั นาครู ข. การพฒั นาชดุ การเรียนออนไลน์ (Online Course) ทกุ รายวชิ า ค. ถกู ทงั้ 2 ข้อ ง. ไมม่ ีข้อถกู 23. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) กาหนดแนวทางการเตรียม ความพร้อมสาหรับครูอยา่ งไรบ้าง ก. การชีแ้ จงผ้เู กี่ยวข้อง ข. การอบรมครู ค. การจดั ทาคมู่ ือการจดั การเรียนรู้ผา่ นระบบทางไกล ง. ถกู ทกุ ข้อ 24. ข้อควรระวงั ในการเรียน Online : Covid-19 คือข้อใด ก. บรู ณาการกบั ชีวติ จริง ข. ครูตา่ งคนตา่ งสงั่ ให้นกั เรียนทางาน ค. ครูวางแผนการสอนร่วมกนั ง. เน้นความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง 25. การวางแผนของครูในการเรียน Online : Covid-19 ควรคานงึ ถงึ สง่ิ ใด ก. กาหนดเปา้ หมายทีชดั เจน ข. เน้นความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ค. ประยกุ ต์ใช้ได้ในชีวติ จริง ง. ถกู ทกุ ข้อ จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

29 บรรณานุกรม ครรชติ มนญู ผล. (2563 เมษายน 21). ข้อควรระวงั ในการเรียน Online : Covid-19 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล การจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1. ณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ. (2563 เมษายน 22). นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ เก่ียวกบั Covid -19 สมาน อศั วภมู ิ. (2560). ทบทวนนยิ ามการศกึ ษาและการเรียนรู้: จดุ เร่ิมต้นการแก้ปัญหาคณุ ภาพ การศกึ ษา kroobannok.com. (2563 เมษายน 17). สพฐ.เคาะรูปแบบการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในชว่ งสถานการณ์โควิด-19 _____________ . (2563 เมษายน 21). \"ครูตนั้ \" ลนั่ ถงึ ปลดล็อกดาวน์แล้ว ยงั เปิดเทอม 1 ก.ค.ตามเดมิ _____________ . (2563 เมษายน 20). เลง็ หนนุ 850 รร. ลดเหลื่อมลา้ ยกระดบั การเรียนผา่ นออนไลน์ _____________ . (2563 เมษายน 16). ศธ. “ปรับบ้านเป็นห้องเรียน เปลี่ยนพอ่ แมเ่ ป็นครู” จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

30 ภาคผนวก ตัวอย่างเกียรตบิ ัตร เฉลย แบบทดสอบการเรียนรู้นาการศกึ ษา 1. ข 2. ง 3. ก 4. ค 5. ข 6. ก 7. ก 8. ก 9. ง 10. ค 11. ข 12. ค 13. ก 14. ข 15. ค 16. ค 17. ก 18. ก 19. ข 20. ง 21. ค 22. ค 23. ง 24. ข 25. ง จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

31 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.

32 จริยา ทองหอม. (2563 เมษายน 24). การเรียนรู้นาการศกึ ษา. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook