การเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning) ดร.จริยา ทองหอม 9 เมษายน 2563 กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1
ก คำนำ เอกสารประกอบการอบรมเก่ียวกับการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning) เล่มน้ี เป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารจัดการด้านการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ท่ีผู้วิจัยได้ สังเคราะห์ข้อมูลความรู้ จากการพฒั นาหลกั สตู รออนไลนม์ าใชใ้ นช่วงท่ีเกดิ ภาวะวิกฤตจากการระบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 ซ่งึ เนอื้ หา สาระในเล่ม ประกอบด้วย ความหมาย ประเภท กระบวนการจดั การเรียนรู้ การประเมินผล ลกั ษณะของ การเรียนรู้ การสงั เคราะห์การเรียนรู้ออนไลน์ แบบทดสอบและเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง การเรียนรู้ออนไลน์ ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านท่ีให้ ความร้ ู และสนับสนุนการเรี ยนร้ ู อันเป็ นประโยชน์ อย่างย่ิงในการทาปริญญานิพนธ์และนาไปใช้ในวิชาชีพ ขอขอบพระคณุ ผู้เช่ียวชาญ ผู้บริหาร คณะครู นักเรียนโรงเรียนวดั โพธ์ิเสด็จ และโรงเรียนวัดพระมหาธาตุ อาเภอเมืองนครศรีธรรมราช ทุกท่าน และ ทกุ หนว่ ยงานที่เอือ้ อานวยความสะดวกให้การดาเนินการวิจยั สาเร็จลลุ ว่ งด้วยดี ขอขอบคุณผู้อานวยการ คณะผู้บริหาร บุคลากรและเจ้าหน้าท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๑ ทุกท่านที่ได้ให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ซ่ึงผู้วิจัยได้นา ความรู้ ประสบการณ์ และส่งิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านจริงให้สาเร็จลลุ ่วงด้วยดี คณุ คา่ และประโยชน์ท่ีเกิดจากเอกสารเล่มนี ้ ผ้วู ิจยั ขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคณุ ของพ่อ-แม่ ครู-อาจารย์ และผ้มู ีพระคณุ ทกุ ๆ ทา่ น ผ้วู จิ ยั ขอกราบขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นเป็นอยา่ งสงู มา ณ โอกาสนี ้ (ดร.จริยา ทองหอม) ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สารบัญ ข เร่ือง หน้า คานา ก สารบญั ข ความหมายของการเรียนรู้ออนไลน์ 1 ประเภทของการเรียนรู้ออนไลน์ 2 กระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ออนไลน์ 6 ลกั ษณะของการเรียนรู้ออนไลน์ 7 การสงั เคราะห์การเรียนรู้ออนไลน์ 9 แบบทดสอบ เรื่อง การเรียนรู้ออนไลน์ 13 เฉลย..แบบทดสอบ เร่ือง การเรียนรู้ออนไลน์ 18 บรรณานกุ รม 23 ภาคผนวก 24 ตวั อยา่ งเกียรตบิ ตั ร 24
การเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning) 1 ดร.จริยา ทองหอม 9 เมษายน 2563 การเรี ยนร้ ู ออนไลน์ เป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาท่ี เปลี่ยนแปลงวิธี เรี ยนจากเดิมเป็ นการเรี ยน ทางไกลหรือการเรียนผ่านเว็บ หรือห้องเรียนเสมือนจริงท่ีนาเอาคณุ สมบตั ิของอินเทอร์เน็ตเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารท่ีก้าวหน้ามาออกแบบเพ่ือใช้ในการจดั การเรียนการสอนเป็นส่ือกลางเชื่อมโยง การเรียนรู้ เป็นการจดั การเรียนรู้ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจบุ นั เพราะชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยในการ เลา่ เรียน เปิดโอกาสในการเรียนให้กบั ทกุ คน ไมจ่ ากดั อายุ เพศ วยั ผ้เู รียนสามารถเรียนได้ทกุ ที่ไม่ว่าจะอยู่ ในสถานที่ใด และเรียนได้ทุกเวลาตามความต้องการ ในที่นีผ้ ู้วิจัยขอนาเสนอเฉพาะส่วนสาคญั ๆ ได้แก่ ความหมาย ประเภท กระบวนการจดั การเรียนรู้ และการประเมินผล รายละเอียดมีดงั นี ้ 1. ความหมายของการเรียนรู้ออนไลน์ นิยามความหมายของการเรียนรู้ออนไลน์มีนกั การศกึ ษาหลาย ๆ ทา่ นได้ให้คานยิ ามไว้มากมาย ซงึ่ ลกั ษณะของการนิยามจะมีลกั ษณะทว่ั ไปหรือกล่มุ เปา้ หมาย เคร่ืองมือ รูปแบบเนือ้ หาสาระ ถ้าพจิ ารณา การให้คานิยามที่สะท้อนความหมายของการเรียนรู้ออนไลน์สามารถจาแนกเป็น 2 มติ ิ ดงั นี ้ มิติที่ 1 การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง โปรแกรมการเรียนรู้ในรูปแบบของไฮเปอร์มีเดีย โดยการนาคณุ ลกั ษณะและทรัพยากรตา่ งๆท่ีมีในเวิลด์ไวด์เว็บมาใช้ประโยชน์ในการจดั สภาพแวดล้อม เพื่อสง่ เสริมและสนบั สนนุ การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Khan. 1997: 6) การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง การจัดสภาพการเรียนการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตหรือ อนิ ทราเนต็ บนพืน้ ฐานของหลกั การและวธิ ีการออกแบบการเรียนการสอนอยา่ งมีระบบ (Hannum. 1998) การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง การเรียนรู้ของกลุ่มคนหลากหลายที่อยู่ห่างไกลกัน มีความ แตกตา่ งกนั มีวตั ถปุ ระสงค์ในการศกึ ษาหรือการฝึกอบรมทงั้ ในรูปแบบที่เป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการโดย อาศยั เทคโนโลยีโทรคมนาคมอินเทอร์เน็ตเป็นโครงขา่ ยเชื่อมตอ่ การเรียนรู้เพ่ือการเรียนรู้ร่วมกนั มี ปฏิสมั พนั ธ์กนั ระหวา่ งผ้เู รียนกบั ผ้สู อนผ้เู รียนกบั ผ้เู รียนและผ้เู รียนกบั ผ้จู ดั การรายวิชา (Clake. 2003) มิตทิ ี่ 2 การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง การส่งสาระความรู้บางส่วนหรือเตม็ รูปแบบผา่ นโครงขา่ ย อินเทอร์เน็ตในรูปแบบท่ีหลากหลายเพ่ือเชื่อมโยงบทเรียน วสั ดชุ ว่ ยการเรียนรู้ของการศกึ ษาทางไกลไปยงั ผ้เู รียน (Parson. 1997) การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง การใช้เวบ็ สาหรับการเรียนการสอนโดยการออกแบบบทเรียนด้วย การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในระบบเครือข่ายอินเทอร์เนตท่ีสามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงเนือ้ หาสาระได้
2 สะดวกรวดเร็วซึง่ ส่งผลให้เกิดการสื่อสารทางการศกึ ษาที่มีประสิทธิภาพสงู สดุ (เอกนฤน บางทา่ ไม้. 2553: 75) จากนยิ ามความหมายของการเรียนรู้ออนไลน์ ทงั้ 2 มิตทิ ่ีกลา่ วมาข้างต้น สรุปได้ดงั นี ้ มิตทิ ี่ 1 การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถงึ การเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวา่ งการเรียน การสอนในชนั้ เรียนกบั การเรียนการสอนที่อาศยั เทคโนโลยีและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตมาสง่ เสริมสนบั สนนุ การเรียนการสอน การจดั สภาพแวดล้อม ออกแบบบทเรียน กิจกรรมการ เรียนรู้ การวัดประเมินผล ที่ผู้เรียนและผู้สอน ไม่จาเป็นต้องอยู่ในสถานที่เดียวกันหรือเวลาเดียวกัน สามารถมีปฏิสมั พนั ธ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งกนั เปิดโอกาสให้ผ้เู รียนทกุ คนสามารถเรียนรู้ได้ทกุ สถานที่ ทกุ เวลา ตามความสะดวกและความเหมาะสมของตนเอง มติ ทิ ่ี 2 การเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีในการจดั การเนือ้ หาสาระ และการบริหาร จัดการเรียนรู้ออนไลน์ทัง้ ระบบ ใช้วิธีการนาเสนอด้วยมัลติมีเดีย เช่น การใช้ ตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว และวีดิทศั น์ ด้วยการเชื่อมโยงส่ือสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต หรือดาวเทียม สร้ าง ปฏิสมั พันธ์ให้แก่ผ้คู นทั่วโลกได้เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ได้สะดวก รวดเร็ว ไม่จากัดสถานท่ี และเวลา เพ่ือ สร้างการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพเป็นการเปิดประตสู กู่ ารศกึ ษาตลอดชีวิต 2. ประเภทของการเรียนรู้ออนไลน์ การเรียนรู้ออนไลน์สามารถทาได้หลากหลายรูปแบบโดยแต่ละเนือ้ หาของหลักสตู รจะมีวิธีการ จดั การเรียนรู้ออนไลน์ท่ีแตกตา่ งกันซึ่งในประเด็นนีม้ ีนกั การศกึ ษาหลายท่านได้นาเสนอประเภทของการ เรียนรู้ออนไลน์ รายละเอียดมีดงั นี ้ ดริสคอลล์ (Driscoll 1997: 5-6) ได้แบง่ ประเภทการสอนบนเว็บตามลกั ษณะของเคร่ืองมือท่ีใช้บน อนิ เทอร์เนต็ เป็น 2 ประเภท คอื 1. แบบข้อมลู อย่างเดียว (text-only) เป็นลกั ษณะของการเรียนการสอนโดยอาศยั อินเทอร์เน็ต ซึ่งมีข้อจากัดบางอย่างในการเข้าถึงข้อมูลมีลกั ษณะเป็นข้อความอย่างเดียวเช่นไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ กระดานขา่ วสารห้องสนทนาโปรแกรมดาวน์โหลด 2. แบบมลั ติมีเดีย (multimedia) เป็นอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอนท่ีมีลกั ษณะโครงสร้าง เป็ นกราฟิ กการสืบค้นโดยใช้ ภาพในรูปแบบของเว็บ พาร์สนั (Parson. 1997: 76) ได้แบง่ ประเภทของการเรียนรู้ออนไลน์ออกเป็น 3 ลกั ษณะ คอื 1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand-Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเคร่ืองมือ และแหล่งท่ีเข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผา่ นระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากท่ีสดุ ถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถท่ี จะไปผ่านระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนีม้ ีลักษณะเป็นแบบวิทยาเขตมี นกั ศกึ ษาจานวนมากท่ีเข้ามาใช้จริงแตจ่ ะมีการสง่ ข้อมลู จากรายวิชาทางไกล
3 2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มี ลกั ษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกบั นกั เรียนและมีแหลง่ ให้มากเช่นการกาหนดงานท่ีให้ทาบน เวบ็ การกาหนดให้อา่ นการส่ือสารผา่ นระบบคอมพิวเตอร์หรือการมีเวบ็ ที่สามารถชีต้ าแหนง่ ของแหล่งเรียนรู้ บนพืน้ ที่ของเวบ็ ไซต์โดยรวมกิจกรรมตา่ งๆเอาไว้ 3. เว็บชว่ ยสอนแบบศนู ย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่ มีวตั ถุดิบเคร่ืองมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนบั สนนุ กิจกรรม ทางการศกึ ษาซึ่งผ้ทู ี่เข้ามาใช้ก็จะมีส่ือให้บริการหลายรูปแบบ เช่นข้อความ ภาพกราฟิ กการสื่อสารระหวา่ ง บคุ คลและการทาภาพเคล่ือนไหวตา่ งๆเป็นต้น ศนู ย์การศกึ ษาตอ่ เนื่องแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั (2545: 8) ได้แบง่ ประเภทการเรียนรู้ออนไลน์ หรือการสอนบนเวบ็ (WBI) ตามสมมตฐิ านการใช้ประโยชน์การสอนบนเว็บ (WBI) ดงั นี ้ 1. การสอนบนเว็บเพื่อประโยชน์ในการนาเสนอข้อมลู ข่าวสาร (Information AccessI) เช่น ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) กาหนดการเรียนการสอนเนือ้ หาเอกสารประกอบการสอนการบ้าน เป็นต้น 2. การสอนบนเว็บเพื่อนาเสนอบทเรียน (Interactive Learning) เป็ นการออกแบบให้ บทเรียน มีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้เู รียนมีการใช้แรงจงู ใจการให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั ในขนั้ ตอนตา่ งๆที่ผ้ใู ช้บทเรียน การ ดาเนินกิจกรรมของบทเรี ยนเป็ นลักษณะเดียวกันกับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพียงแต่นาเสนอใน ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต 3. การสอนบนเว็บเพ่ือเพิ่มมิตกิ ารส่ือสารปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล (Networked Learning) เชน่ ระหวา่ งผ้เู รียนผ้สู อนระหวา่ งผ้เู รียนด้วยกนั เองตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน 4. การสอนบนเว็บเพ่ือเพิ่มมิติการรวบรวมและนาเสนอบทเรียน (Material Development) เป็นการออกแบบให้ผ้เู รียนใช้เว็บเป็นเครื่องมือในการจดั โครงสร้าง รวบรวมข้อมลู และการนาเสนอผลงาน จากจากการเรียนซึ่งทงั้ 4 รูปแบบแสดงให้เห็นถึงมิติตา่ งๆของการใช้เครื่องมือและบริการของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)ในการดาเนินกิจกรรมบนเว็บผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่มีหลายรูปแบบเพิ่มมาก ขนึ ้ อยกู่ บั การออกแบบและการนามาใช้งาน รองรับการจดั การเรียนการสอนใช้ทกุ รูปแบบไมว่ า่ จะเป็นพร้อม กนั ในเวลาเดียวกนั คนละเวลาคนละสถานที่และขนาดผ้เู รียนกลมุ่ ใหญ่หรือรายบคุ คล กล่าวโดยสรุ ปจาก การสัง เคราะห์ ประ เภทการเรี ยนร้ ู ออนไลน์ที่ ผ้ ูวิจัยนามาใช้ ในการพัฒนา หลกั สตู รออนไลน์ ได้แก่ รูปแบบนาเสนอที่เป็นลกั ษณะของสื่อเดียว สื่อคู่ และส่ือมลั ตมิ ีเดีย (Presentation Communication Model) โดยให้ผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์กับเนือ้ หาที่ได้รับ มีการให้คาแนะนา การปฏิบตั ิการ ให้ผลย้อนกลบั การให้สถานการณ์จาลองตลอดจนการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้สู อนและผ้เู รียนด้วยกนั โดยมีการ ส่ือสารท่ีหลากหลายทงั้ แบบประสานเวลาและตา่ งเวลา
4 3. กระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ พสั เซอรินี และแกรนเจอร์ (Passerini; & Granger, 2000) และ วทุ ธิศกั ดิ์ โภชนุกลู (2556: 65-67) ได้พฒั นากระบวนการเรียนการสอนทางไกลผา่ นเว็บเป็น 5 ขนั้ ตอน ได้แก่ คือขนั้ การวิเคราะห์การออกแบบ การพฒั นาการประเมนิ ผลและการจดั สง่ รายละเอียดมีดงั นี ้ 1. ขัน้ การวิเคราะห์ (Analysis phase) เป็นขัน้ ตอนก่อนการพัฒนาการเรียนรู้ที่ผู้สอนต้อง วิเคราะห์วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้วิเคราะห์ผ้เู รียนลกั ษณะการเรียนรู้สภาพสงั คมลกั ษณะทางกายภาพและ วเิ คราะห์ความต้องการของผ้เู รียน 2. ขนั้ การออกแบบ (Design phase) เป็นขนั้ ตอนของการกาหนดรูปแบบการเรียนรู้และกล ยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนสาหรับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ไม่ประสานเวลา ผู้สอนต้องมีความ เข้าใจชดั เจนในรูปแบบการสอนและปฏิสมั พนั ธ์ที่จาเป็นเพ่ือเป็นแนวทางในการจดั ทาแผนการสอน 3. ขนั้ การพฒั นา (Development phase) เป็นขนั้ ท่ีเร่ิมจากการสร้างแผนการเรียนรู้ การสร้าง ส่ือดจิ ิตอลท่ีมีลกั ษณะเป็นไฮเปอร์มีเดียที่ต้องอาศยั ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคของนกั พฒั นาระบบในการ สร้างสื่อให้มีคณุ ภาพ 4. ขนั้ การประเมินผล (Evaluation phase) เป็นขนั้ ของการประเมินเพื่อปรับปรุงและตดั สิน ประสิทธิภาพของเว็บซึ่งแบ่งการประเมินผลออกเป็น 2 ช่วงคือการประเมินระหว่างผลิต (Formative evaluation) คือการให้คาแนะนาตอ่ เนื่องในทกุ ขนั้ ตอนของการการพฒั นามีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อปรับปรุงในแต่ ละขัน้ ตอนให้สมบูรณ์ที่สุดและการประเมินหลังการผลิต (Summative evaluation) เป็ นการประเมิน ภาพรวมของระบบเพื่อตดั สินระดบั คณุ ภาพและประสิทธิภาพของเวบ็ เพ่ือการเรียนรู้ทางไกลที่พฒั นาขนึ ้ 5. ขนั้ การจดั ส่ง (Delivery phase) เป็นขนั้ ของการนาระบบไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน โดยวิธีส่งผ่านคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตการประเมินผลการจดั ส่งจะดูท่ีประสิทธิภาพในการใช้เพ่ือ จดั การเรียนการสอนการสนบั สนนุ การเรียนรู้และบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ท่ีกาหนด ริทชีและฮอฟแมน (Ritchie; & Hoffman 1997: 135-138) ได้การออกแบบโปรแกรมการเรียนรู้ ออนไลน์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ท่ีดที ี่สดุ โดยอาศยั กระบวนการ 7 ขนั้ ตอน ดงั นี ้ 1. การสร้างแรงจงู ใจให้กบั ผ้เู รียนเป็นขนั้ ของการออกแบบเพ่ือเร้าความสนใจของผ้เู รียนโดย การใช้ภาพกราฟิ กภาพเคลื่อนไหวสีและเสียงประกอบเพ่ือกระต้นุ ผ้เู รียนให้อยากเรียนรู้ควรใช้กราฟิกขนาด ใหญ่ไมซ่ บั ซ้อนการเชื่อมโยงไปยงั เว็บอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกบั เนือ้ หาต้องน่าสนใจ 2. การบอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนเป็นขนั้ ของการบอกให้ผ้เู รียนรู้ลว่ งหน้าถึงประเดน็ สาคญั และเค้าโครงของเนือ้ หา อาจบอกเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมหรือวัตถุประสงค์ทวั่ ไปโดยใช้คาสัน้ หลีกเล่ียงคาที่ไมเ่ ป็นที่รู้จกั ควรใช้กราฟิ กง่ายๆเชน่ กรอบหรือลกู ศรเพื่อแสดงวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้น่าสนใจซึง่ จะ เป็นผลให้การเรียนรู้มีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขนึ ้
5 3. การทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดิมของผู้เรียนเป็นขนั้ การเตรียมพืน้ ฐานผู้เรียนสาหรับ การรับความรู้ใหมก่ ารทบทวนความรู้เดิมไมจ่ าเป็นต้องเป็นการทดสอบเสมอไปอาจใช้การกระต้นุ ให้ ผ้เู รียน นึกถึงความรู้ท่ีได้รับมาก่อนโดยใช้เสียงพูดข้อความภาพหรือใช้หลายๆอย่างผสมผสานกันทงั้ นีข้ ึน้ อย่กู ับ ความเหมาะสมของเนือ้ หามีการแสดงความเหมือนความแตกต่างของโครงสร้างบทเรียนเพื่อท่ีผ้เู รียนจะ ได้รับความรู้ใหมไ่ ด้เร็วนอกจากนนั้ ผ้อู อกแบบควรต้องทราบภมู ิหลงั ของผ้เู รียนและทศั นคตขิ องผ้เู รียน 4. การกระต้นุ ให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้ นที่จะเรียนรู้เป็นขนั้ ตอนท่ีนกั การศึกษาเห็นพ้อง ต้องกันว่าการเรียนรู้จะเกิดขึน้ เมื่อผู้เรียนมีความตัง้ ใจท่ีจะรับความรู้ใหม่ผู้เรียนจะจดจาได้ดีถ้ ามี การนาเสนอเนือ้ หาดีสมั พนั ธ์กบั ประสบการณ์เดิมของผ้เู รียน ดงั นนั้ ผู้ออกแบบบทเรียนจึงควรหาเทคนิค ต่างๆเพื่อกระตุ้นผู้เรียนให้นาความรู้เดิมมาใช้ในการศึกษาความรู้ใหม่รวมทัง้ พยายามหาทางทาให้ การศกึ ษาความรู้ใหมข่ องผ้เู รียนกระจ่างชดั มากขึน้ พยายามให้ผ้เู รียนรู้จกั เปรียบเทียบแบง่ กลุ่มหาเหตผุ ล ค้นคว้าวิเคราะห์หาคาตอบด้วยตนเอง 5. การให้คาแนะนาและให้ข้อมูลป้อนกลับเป็นขัน้ ตอนของการให้คาแนะนาและให้ข้อมูล ป้อนกลับในระหว่างท่ีผ้ ูเรี ยนศึกษาอยู่ในเว็บเป็ นการกระต้ ุนความสนใจของผ้ ูเรี ยนได้ ดีผ้ ูเรี ยนจะทราบ ความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองการเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมคิดร่วมกิจกรรมในส่วนที่เก่ียวข้องกับ เนือ้ หาการถามการตอบจะทาให้ผ้เู รียนจดจาได้มากกวา่ การอา่ นหรือลอกข้อความเพียงอยา่ งเดียว 6. การทดสอบความรู้เป็นขนั้ ตอนของการทดสอบความรู้ของผู้เรียนเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียน ได้รับความรู้ซ่ึงผู้สอนสามารถสร้ างแบบทดสอบได้ทงั้ แบบออนไลน์และออฟไลน์เป็นการเปิดโอกาสให้ ผ้เู รียนสามารถประเมนิ ผลการเรียนของตนเองได้ทงั้ การทดสอบระหว่างเรียนและการทดสอบท้ายบทเรียน ทงั้ นีค้ วรสร้ างข้อสอบให้ตรงกับวตั ถุประสงค์ของบทเรียนข้อสอบคาตอบและข้อมูลป้อนกลับควรอยู่ใน กรอบเดียวกนั และแสดงตอ่ เนื่องกนั อยา่ งรวดเร็วไม่ควรให้ผ้เู รียนพิมพ์คาตอบยาวเกินไปควรบอกผ้เู รียนถึง วธิ ีตอบให้ชดั เจนคานงึ ถึงความแมน่ ยาและความเชื่อถือได้ของแบบทดสอบ 7. การนาความรู้ไปใช้และการเสริมความรู้เป็นขัน้ ตอนของการสรุปแนวคิดสาคญั ควรให้ ผ้เู รียนทราบว่าความรู้ใหม่มีส่วนสัมพนั ธ์กับความรู้เดิมอย่างไรควรเสนอแนะสถานการณ์ที่จะนาความรู้ ใหมไ่ ปใช้และบอกผ้เู รียนถงึ แหลง่ ข้อมลู ที่จะใช้อ้างอิงหรือค้นคว้าตอ่ ไป กล่าวโดยสรุ ปจาก การสังเคราะห์กระบวนการเรี ยนร้ ู ออนไลน์ที่ผ้ ูวิจัยนามาใช้ ในการพัฒนา หลักสูตรออนไลน์ ประกอบด้วย 7 ขัน้ ตอน ได้ แก่ 1) การสร้ างแรงจูงใจให้ กับผู้เรียน 2) การบอก วตั ถุประสงค์ของการเรียน 3) การทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดิมของผ้เู รียน 4) การกระต้นุ ให้ผ้เู รียนมี ความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ 5) การให้คาแนะนาและให้ข้อมลู ป้อนกลบั 6) การทดสอบความรู้และ 7) การนาความรู้ไปใช้และการเสริมความรู้
6 4. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ออนไลน์ เอกนฤน บางท่าไม้ (2553: 97-109) ได้อธิบายการประเมินผลการเรียนรู้ออนไลน์ว่ามีลกั ษณะ แตกต่างกับการประเมินการเรียนการสอนแบบปกติซึ่งขึน้ อยู่กับพืน้ ฐานความต้องการคุณภาพและ ประสิทธิภาพสาหรับการประเมินในแงข่ องการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ ซึ่งจดั ว่าเป็นการจดั การเรียนการสอน ทางไกลวิธีในการประเมินผลสามารถทาได้ทงั้ ผู้สอนประเมินผู้เรียนหรือให้ผู้เรียนประเมินผลผู้สอนซ่ึง องค์ประกอบท่ีใช้ เป็ นมาตรฐานจะเป็ นคุณภาพของการเรี ยนการสอนวิธี ประเมินผลที่ใช้ กันอยู่ในการ ประเมนิ ผลมีหลายวธิ ีการแตถ่ ้าจะประเมนิ ผลมีการเรียนรู้ออนไลน์ก็ต้องพิจารณาวิธีการท่ีเหมาะสมและทนั กบั เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วโดยเฉพาะกบั เว็บซ่ึงเป็นการศกึ ษาทางไกลวิธีหนง่ึ การประเมินผล แบบทั่วไปท่ีเป็ นการประเมินระหว่างเรียน(Formative Evaluation) กับการประเมินรวมหลังเรียน (Summative Evaluation) เป็นวิธีการประเมินผลสาหรับการเรียนการสอนโดยการประเมินระหว่างเรียน สามารถทาได้ตลอดเวลาระหวา่ งมีการเรียนการสอนเพ่ือดผู ลสะท้อนของผ้เู รียนและดผู ลที่คาดหวงั ไว้อนั จะ นาไปปรับปรุงการสอนอย่างต่อเน่ืองขณะที่การประเมินหลงั เรียนมกั จะใช้การตัดสินในตอนท้ายของการ เรียนโดยการใช้แบบทดสอบเพื่อวดั ผลตามจดุ ประสงค์ของรายวิชาการประเมินการเรียนรู้ออนไลน์ต้องมีทงั้ การประเมินลกั ษณะสาคญั เบือ้ งต้นคือเป็นเวบ็ ท่ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อการศกึ ษาและเป็นเว็บที่ออกแบบอย่าง เป็นระบบและมีกระบวนการเพื่อการเรียนการสอนเพื่อช่วยในการตดั สินว่าบทเรียนนนั้ มีคณุ ภาพดีหรือมี ประสิทธิภาพในการสอนหรือไมเ่ พราะการแยกระหวา่ งการเป็นเว็บช่วยสอนกบั การเป็นฐานข้อมลู เป็นเร่ือง ท่ีต้องประเมินกอ่ น การประเมินการเรียนรู้ออนไลน์จงึ มีทงั้ การประเมินว่าลกั ษณะทว่ั ไปของบทเรียนออนไลน์โดยการ ประเมินเบือ้ งต้นของบทเรียนจะต้องพิจารณาถึงเนือ้ หาความน่าสนใจเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเช่ือมโยงและ รูปแบบทวั่ ไปของบทเรียนส่ิงที่ต้องระลึกอย่เู สมอคือการออกแบบบทเรียนจะต้องเน้นท่ีความต้องการของ ผู้เรียนโดยสิ่งท่ีต้องพิจารณาอันเป็นองค์ประกอบพืน้ ฐานโดยแลนเบอร์เกอร์ (Landsberger.1998) ได้ นาเสนอไว้ดงั นี ้ 1. หวั ข้อของบทเรียนออนไลน์ 2. เนือ้ หา 3. การสืบค้น (การเชื่อมโยง, คาแนะนา , แผนผงั , เครื่องมือสืบค้นฯลฯ) 4. ตาแหนง่ ที่อยขู่ องเว็บ (URL) 5. ผ้รู ับผดิ ชอบดแู ลเวบ็ 6. ผ้มู ีสว่ นเก่ียวข้อง (สญั ลกั ษณ์ของสถาบนั ) 7. เวลาท่ีปรับปรุงครัง้ ลา่ สดุ 8. หวั ข้อขา่ วสาร
7 นอกจากนี ้ทิลแมน (Tillman 1998) ได้กาหนดเกณฑ์สาหรับการประเมนิ ควรคานงึ ถงึ 6 องคป์ ระกอบ คอื 1. ความเช่ือมน่ั ท่ีมีตอ่ องค์ประกอบของข้อมลู 2. ความนา่ เช่ือถือของผ้เู ขียนหรือผ้สู ร้างเวบ็ 3. การนาไปเปรียบเทียบหาความสมั พนั ธ์กบั เวบ็ อ่ืนๆ 4. เสถียรภาพของข้อมลู ภายในเว็บ 5. ความเหมาะสมของรูปแบบที่ใช้ 6. ความต้องการใช้ซอฟแวร์, ฮาร์ดแวร์และมลั ตมิ ีเดยี ตา่ งๆ แนวคิดการประเมินผลออนไลน์ของเฮนค์ (Henke 1997) เห็นว่าควรยึดหลกั การในการออกแบบ เวบ็ ชว่ ยสอนท่ีโจเนสและโอคยี ์ (Jones; & Okey 1995) ให้แนวคดิ ในการประเมนิ เอาไว้5 ด้านคอื 1. การอา่ นและการเหน็ ของหน้าจอภาพ 2. องคป์ ระกอบรวมของส่ือ 3. การใช้สญั ลกั ษณ์ 4. การเข้าถงึ ข้อมลู 5. ขอบเขตท่ีตา่ งไปจากปกติ จากการสงั เคราะห์การประเมินการเรียนรู้ออนไลน์สามารถสรุปได้ว่าการประเมนิ สามารถแบง่ ได้ 2 ลกั ษณะได้แก่การประเมินโดยผ้เู รียนซึง่ จะทาการประเมินจาก 1) เค้าโครงหรือจากต้นแบบ 2) การประเมิน จากการทดสอบการใช้งาน 3) การประเมินจากการสืบถามและการประเมินโดยผ้เู ชี่ยวชาญซ่ึงจะทาการ ประเมินจาก 1) การตรวจสอบตามแนวทางการเรียนการสอน 2) การตรวจสอบตามแนวทางที่สถาบนั กาหนด 3) การตรวจสอบแบบพหุเป็นการประเมินโดยกลุ่มประเมินที่มีมุมมองหลากหลายแตกต่าง องค์ประกอบร่วมกนั 4) การตรวจสอบความสม่าเสมอ 5) การตรวจสอบเชงิ พทุ ธิพสิ ยั 6) การตรวจสอบการ ใช้ ทงั้ นีจ้ าเป็นต้องอาศยั ปัจจยั ท่ีมีองค์ประกอบร่วมกนั จงึ จะทาการประเมนิ ได้อยา่ งสมบรู ณ์ 5. ลักษณะของการเรียนรู้ออนไลน์ กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย (2557: 27-28) ได้เปรียบเทียบลักษณะการเรียนรู้ออนไลน์ว่ามี ความแตกตา่ งจากการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติ ดงั นี ้ 1. สถานท่ีเรียน การจดั การเรียนรู้ออนไลน์ไมต่ ้องมีสถานท่ีเรียน แตต่ ้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ สามารถเรียนได้เองท่ีใดก็ได้ 2. การเตรียมการสอน ผ้สู อนต้องเตรียมการสอนสาหรับห้องเรียนปกตแิ ล้วนาข้อมลู ที่เตรียมไว้ แปลงให้อยใู่ นรูปของการเรียนรู้ออนไลน์ซง่ึ เปิดใช้งานได้จากบราวเซอร์
8 3. การปฏิสมั พนั ธ์ ผู้สอน ผู้เรียน และเพ่ือนร่วมห้องอาจเห็นหน้ากันหรือไม่เห็นหน้ากันก็ได้ ขนึ ้ อยกู่ บั การออกแบบว่าเป็นอยา่ งไร 4. เวลาเรียน การเรียนรู้ออนไลน์ใครจะเข้าเรียนเมื่อไร เวลาไหน ท่ีไหนก็ได้ ไมจ่ าเป็นต้องมา เรียนพร้ อมกนั 5. คุณภาพการสอน การจัดการเรียนรู้ออนไลน์คุณภาพการสอนจะเท่ากันหมดขึน้ อยู่กับ ความสามารถและความตงั้ ใจของผ้เู รียน 6. ความพร้อมในการเรียน การเรียนออนไลน์ผ้เู รียนสามารถเรียนได้ตามศกั ยภาพของตนเอง สามารถทบทวน เรียนซา้ หรือข้ามบทเรียนได้ไมจ่ าเป็นต้องรอเรียนพร้อม ๆ กนั แบบเรียนในห้องเรียนปกติ 7. การวดั ผลการเรียน ข้อสอบมีโอกาสร่ัวมาก การลอกข้อสอบง่ายขึน้ ต้องแก้ไขด้วยการส่มุ ข้อสอบและทาให้เสร็จภายในระยะเวลาที่จากดั ระบบจะตรวจสอบอตั โนมตั ิ ผ้สู อนไมต่ ้องเหนื่อย 8. ต้นทนุ การเรียน การเรียนออนไลน์มีต้นทนุ ต่ากวา่ การเรียนปกติ 9. จานวนผ้เู ข้ารับการอบรม การเรียนออนไลน์สามารถสอนได้ไม่จากดั จานวนเนื่องจากเรียนท่ี ไหน เม่ือไรก็ได้ 10. การค้นคว้าเพ่มิ เตมิ การเรียนออนไลน์ผ้เู รียนมีโอกาสค้นคว้าเพมิ่ เตมิ มากกวา่ และงา่ ยกวา่ การเรียนปกตเิ พราะผ้เู รียนสามารถลิงคไ์ ปยงั เวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ได้ทนั ที 11. ความเป็นสว่ นตวั การเรียนออนไลน์มีความเป็นส่วนตวั มากว่าการเรียนในห้องเรียน เช่น การแตง่ กาย หรือการปฎิบตั ติ วั ระหวา่ งการเรียน
9 6. การสังเคราะห์การเรียนรู้ออนไลน์ การสังเคราะห์การเรียนรู้ออนไลน์ที่ผู้วิจัยนามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ ดังแสดง ในภาพประกอบ 1 การเรียนรู้ออนไลน์ มีดงั นี ้ ภาพประกอบ 1 การสงั เคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ออนไลน์ จากภาพประกอบ 1 การสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ออนไลน์ที่ผู้วิจัยนามาใช้ในการพัฒนา หลกั สตู รออนไลน์ได้แก่ รูปแบบนาเสนอที่เป็นลกั ษณะของส่ือเดียว สื่อคู่ และสื่อมลั ติมีเดีย (Presentation Communication Model) โดยให้ผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์กับเนือ้ หาท่ีได้รับ มีการให้คาแนะนา การปฏิบตั ิการ ให้ผลย้อนกลบั การให้สถานการณ์จาลองตลอดจนการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้สู อนและผ้เู รียนด้วยกนั โดยมีการ ส่ือสารท่ีหลากหลายทงั้ แบบประสานเวลาและตา่ งเวลา
10 ภาพประกอบ 2 กระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ จากภาพประกอบ 2 กระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ที่ผ้วู ิจยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สูตรออนไลน์ มีดงั นี ้ 1. การสร้ างแรงจูงใจให้กับผู้เรียน เป็นขนั้ ของการออกแบบเพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน เพ่ือกระต้นุ ผ้เู รียนให้อยากเรียนรู้การเช่ือมโยงไปยงั เว็บอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกบั เนือ้ หาต้องนา่ สนใจ 2. การบอกวัตถุประสงค์ของการเรียน เป็นขนั้ ของการบอกให้ผู้เรียนรู้ล่วงหน้าถึงประเด็น สาคญั และเค้าโครงของเนือ้ หา ซงึ่ จะเป็นผลให้การเรียนรู้มีประสทิ ธิภาพยิง่ ขนึ ้ 3. การทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดิมของผู้เรียน เป็นการทาความรู้จักกับภูมิหลังและ ทศั นคตขิ องผ้เู รียนเป็นขนั้ การเตรียมพืน้ ฐานสาหรับการรับความรู้ใหมข่ องผ้เู รียน
11 4. การกระต้นุ ให้ผ้เู รียนมีความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ เป็นขนั้ ของการกระตุ้นให้ผ้เู รียนสนใจ และตงั้ ใจท่ีจะรับความรู้ใหม่ซง่ึ ผ้อู อกแบบควรหาเทคนคิ ตา่ ง ๆ เพ่ือกระต้นุ ผ้เู รียนให้มีความพยายามในการ ค้นคว้าหาความรู้และวิเคราะห์คาตอบด้วยตนเอง 5. การให้คาแนะนาและให้ข้อมูลป้อนกลับ เป็นขนั้ ตอนท่ีทาให้ผู้เรียนทราบความก้าวหน้า ในการเรียนของตนเองเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมคิดร่วมกิจกรรมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนือ้ หาการถาม การตอบจะทาให้ผ้เู รียนจดจาได้มากกว่าการอา่ นหรือลอกข้อความเพียงอย่างเดยี ว 6. การทดสอบความรู้ เพ่ือให้แนใ่ จว่าผ้เู รียนได้รับความรู้ซ่ึงผู้สอนสามารถสร้างแบบทดสอบ ได้ทงั้ แบบออนไลน์และออฟไลน์เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถประเมินผลการเรียนของตนเองได้ทงั้ การ ทดสอบระหวา่ งเรียนและการทดสอบท้ายบทเรียนทงั้ นีค้ วรสร้างข้อสอบให้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ของบทเรียน ควรบอกผ้เู รียนถงึ วิธีตอบให้ชดั เจนคานงึ ถึงความแมน่ ยาและความเช่ือถือได้ของแบบทดสอบ 7. การนาความรู้ไปใช้และการเสริมความรู้ เป็นขนั้ ตอนของการสรุปแนวคิดสาคญั ควรให้ ผ้เู รียนทราบว่าความรู้ใหม่มีส่วนสัมพนั ธ์กับความรู้เดิมอย่างไรควรเสนอแนะสถานการณ์ท่ีจะนาความรู้ ใหม่ ไปใช้และบอกผ้เู รียนถงึ แหลง่ ข้อมลู ที่จะใช้อ้างอิงหรือค้นคว้าตอ่ ไป
12 ภาพประกอบ 3 การประเมินผลการเรียนรู้ออนไลน์ จากการสงั เคราะห์การประเมินผลการเรียนรู้ออนไลน์ สามารถสรุปได้วา่ การประเมินสามารถแบง่ ได้ 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินระหว่างเรียน และการประเมินหลงั เรียน ซ่ึงวิธีการประเมินสามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ลกั ษณะ ได้แก่ วิธีประเมินโดยผ้เู รียนซงึ่ จะทาการประเมินจาก 1) เค้าโครงหรือจากต้นแบบ 2) การประเมินจากการทดสอบการใช้งาน 3) การประเมินจากการสืบถาม และวิธีประเมินโดยผ้เู ชี่ยวชาญซึ่ง จะทาการประเมินจาก 1) การตรวจสอบตามแนวทางการเรียนการสอน 2) การตรวจสอบตามแนวทางท่ี สถาบนั กาหนด 3) การตรวจสอบการใช้ซ่ึงจาเป็นต้องอาศยั ปัจจัยที่มีองค์ประกอบร่วมกันจึงจะทาการ ประเมนิ ได้อยา่ งสมบรู ณ์
13 แบบทดสอบ เร่ือง การเรียนรู้ออนไลน์ คาชีแ้ จง ให้กาเคร่ืองหมาย ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบท่ีถกู ต้อง 1. ข้อใดไมใ่ ชล่ กั ษณะของการเรียนรู้ออนไลน์ ชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยในการเลา่ เรียน เป็นการเรียนแบบปกตใิ นห้องเรียน เปิดโอกาสในการเรียนให้กบั ทกุ คน ไมจ่ ากดั อายุ เพศ วยั สามารถเรียนได้ทกุ ท่ีทกุ เวลาตามความต้องการ 2. “การเรียนการสอนท่ีอาศยั เทคโนโลยีและแหลง่ การเรียนรู้ท่ีหลากหลายบนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ มา สง่ เสริมสนบั สนนุ การเรียนการสอน” เป็นความหมายในมติ ใิ ดของการเรียนรู้ออนไลน์ มิตทิ ่ี 1 มติ ทิ ่ี 2 มติ ทิ ่ี 3 มิตทิ ่ี 4 3. “การใช้เทคโนโลยีในการบริหารจดั การเรียนรู้ทงั้ ระบบ นาเสนอด้วยมลั ตมิ ีเดยี สร้างปฏิสมั พนั ธ์ให้แก่ ผ้คู นทว่ั โลก” เป็นความหมายในมติ ใิ ดของการเรียนรู้ออนไลน์ มิตทิ ่ี 1 มติ ทิ ่ี 2 มติ ทิ ี่ 3 มติ ทิ ี่ 4
14 4. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามสาคญั ของการเรียนรู้ออนไลน์ เข้าถึงแหลง่ การเรียนรู้ได้สะดวก รวดเร็ว ไมจ่ ากดั สถานที่ และเวลา เปิดประตสู กู่ ารศกึ ษาตลอดชีวิต สง่ เสริมนกั เรียนให้เลน่ เกม 5. ดริสคอลล์แบง่ รูปการสอนบนเว็บเป็นกี่ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 ประเภท 6. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระเภทการเรียนรู้ออนไลน์ของพาร์สนั เว็บชว่ ยสอนแบบรายวิชาอยา่ งเดียว เวบ็ ชว่ ยสอนแบบเว็บสนบั สนนุ รายวิชา เวบ็ ชว่ ยสอนแบบมลั ตมิ ีเดยี เวบ็ ชว่ ยสอนแบบศนู ย์การศกึ ษา 7. ใครเป็นผ้แู บง่ ประเภทการเรียนรู้ออนไลน์ตามสมมตฐิ านการใช้ประโยชน์การสอนบนเวบ็ โดเฮอร์ตี ้ ศนู ย์การศกึ ษาตอ่ เนื่องแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั พาร์สนั ดริสคอลล์
15 8. ประเภทการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีผ้วู จิ ยั นามาใช้มีลกั ษณะอยา่ งไร เป็นลกั ษณะของสื่อเดียว สื่อคู่ และส่ือมลั ตมิ ีเดีย ผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์กบั เนือ้ หาที่ได้รับ ให้ผลย้อนกลบั แก่ผ้เู รียน ถกู ทกุ ข้อ 9. ข้อใดไมใ่ ชส่ ง่ิ ที่ต้องคานงึ ถงึ ในการเรียนรู้ออนไลน์ การปฏิบตั ิ การให้คาแนะนา การให้สถานการณ์จาลอง การมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้สู อนและผ้เู รียนด้วยกนั การสื่อสารทงั้ แบบประสานเวลาและตา่ งเวลา การกาหนดวนั เวลาให้ผ้เู รียนปฏิบตั ิ 10. พสั เซอรินี, แกรนเจอร์ และวทุ ธิศกั ดิ์ โภชนกุ ลู ได้พฒั นากระบวนการเรียนการสอนออนไลน์เป็นก่ี ขนั้ ตอน 4 ขนั้ ตอน 5 ขนั้ ตอน 6 ขนั้ ตอน 7 ขนั้ ตอน 11. ข้อใดไมใ่ ชก่ ระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ตามแนวคดิ ของพสั เซอรินี, แกรนเจอร์ และวทุ ธิศกั ด์ิ โภชนกุ ลู ขนั้ การวิเคราะห์ ขนั้ การทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดมิ ของผ้เู รียน ขนั้ การออกแบบ ขนั้ การพฒั นา ขนั้ การประเมินผล ขนั้ การจดั สง่
16 12. กระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ของริทชีและฮอฟแมนมีก่ีขนั้ ตอน 4 ขนั้ ตอน 5 ขนั้ ตอน 6 ขนั้ ตอน 7 ขนั้ ตอน 13. ข้อใดไมใ่ ชก่ ระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ของริทชีและฮอฟแมน การสร้างแรงจงู ใจให้กบั ผ้เู รียน การบอกวตั ถปุ ระสงค์ การทบทวนและเช่ือมโยงความรู้ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพฒั นา การประเมินผล การจดั สง่ การกระต้นุ ให้ผ้เู รียนมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ การให้คาแนะนาและให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั การทดสอบความรู้ การนาความรู้ไปใช้และการเสริมความรู้ 14. กระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ 7 ขนั้ ตอน ท่ีผ้วู จิ ยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รออนไลน์มีอะไรบ้าง สร้างแรงจงู ใจ บอกวตั ถปุ ระสงค์ ทบทวนและเช่ือมโยงความรู้เดมิ กระต้นุ ให้ผ้เู รียนพร้อมที่จะเรียนรู้ ให้คาแนะนาและให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั ทดสอบความรู้ นาความรู้ไปใช้ และเสริมความรู้ ถกู ทกุ ข้อ 15. โดยทว่ั ไปการประเมินการเรียนรู้ออนไลน์ต้องคานงึ ถึงสง่ิ ใดบ้าง เนือ้ หา ความนา่ สนใจ เครื่องมือท่ีใช้ในการเช่ือมโยง ตรงกบั ความต้องการของผ้เู รียน ถกู ทกุ ข้อ
17 16. การประเมนิ การเรียนรู้ออนไลน์ที่เกิดจากการสงั เคราะห์ของผ้วู จิ ยั มีลกั ษณะอยา่ งไร การประเมนิ โดยผ้เู รียนและการประเมนิ โดยผ้เู ชี่ยวชาญ การอ่านการเหน็ ของหน้าจอภาพและองค์ประกอบรวมของสื่อ องค์ประกอบรวมของสื่อ การใช้สญั ลกั ษณ์ และการเข้าถงึ ข้อมลู หวั ข้อของบทเรียน เนือ้ หา การเช่ือมโยง และ URL ของเวบ็ 17. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามแตกตา่ งของการเรียนรู้ออนไลน์และการเรียนรู้ในห้องเรียนปกติ การเรียนออนไลน์มีต้นทนุ ตา่ กวา่ การเรียนปกติ การเรียนออนไลน์มีความเป็นสว่ นตวั มากวา่ การเรียนในห้องเรียน การเรียนรู้ออนไลน์ใครจะเข้าเรียนเม่ือไร เวลาไหน ท่ีไหนก็ได้ ไมจ่ าเป็นต้องมาเรียนพร้อมกนั ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้สู อน ผ้เู รียน และเพ่ือนร่วมห้องต้องเหน็ หน้ากนั ตลอดเวลา 18. การสงั เคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีผ้วู จิ ยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รออนไลน์เป็นอยา่ งไร สื่อเดยี ว ส่ือคู่ และสื่อมลั ตมิ ีเดีย สื่อเดียว ส่ือคู่ ส่ือมลั ตมิ ีเดยี 19. ข้อใดไมใ่ ชข่ นั้ ตอนกระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ที่ผ้วู จิ ยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รออนไลน์ การสร้างแรงจงู ใจ บอกวตั ถปุ ระสงค์ และเชื่อมโยงความรู้ การกระต้นุ ผ้เู รียน แนะนาและให้ข้อมลู ย้อนกลบั การทดสอบ การนาความรู้ไปใช้ และการเสริมความรู้ การวเิ คราะห์ การพฒั นา และการประเมินผล 20. จากการสงั เคราะห์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ออนไลน์ ผ้วู จิ ยั แบง่ การประเมินออกเป็นกี่ลกั ษณะ ได้แก่ อะไรบ้าง 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินระหวา่ งเรียน และการประเมินหลงั เรียน 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินจากการทดสอบ และการตรวจสอบตามแนวทางท่ีสถาบนั กาหนด 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินจากต้นแบบ และการตรวจสอบตามแนวทางการเรียนการสอน ถกู ทกุ ข้อ
18 เฉลย แบบทดสอบ เร่ือง การเรียนรู้ออนไลน์ คาชีแ้ จง ให้กาเคร่ืองหมาย ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบท่ีถกู ต้อง 1. ข้อใดไมใ่ ชล่ กั ษณะของการเรียนรู้ออนไลน์ ชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยในการเลา่ เรียน เป็นการเรียนแบบปกตใิ นห้องเรียน เปิดโอกาสในการเรียนให้กบั ทกุ คน ไมจ่ ากดั อายุ เพศ วยั สามารถเรียนได้ทกุ ท่ีทกุ เวลาตามความต้องการ 2. “การเรียนการสอนท่ีอาศยั เทคโนโลยีและแหลง่ การเรียนรู้ท่ีหลากหลายบนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตมา สง่ เสริมสนบั สนนุ การเรียนการสอน” เป็นความหมายในมติ ใิ ดของการเรียนรู้ออนไลน์ มิตทิ ่ี 1 มติ ทิ ่ี 2 มติ ทิ ี่ 3 มิตทิ ี่ 4 3. “การใช้เทคโนโลยีในการบริหารจดั การเรียนรู้ทงั้ ระบบ นาเสนอด้วยมลั ตมิ ีเดยี สร้างปฏิสมั พนั ธ์ให้แก่ ผ้คู นทวั่ โลก” เป็นความหมายในมติ ใิ ดของการเรียนรู้ออนไลน์ มติ ทิ ี่ 1 มติ ทิ ี่ 2 มติ ทิ ี่ 3 มิตทิ ่ี 4
19 4. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามสาคญั ของการเรียนรู้ออนไลน์ เข้าถงึ แหลง่ การเรียนรู้ได้สะดวก รวดเร็ว ไมจ่ ากดั สถานที่ และเวลา เปิดประตสู กู่ ารศกึ ษาตลอดชีวิต สง่ เสริมนกั เรียนให้เลน่ เกม 5. ดริสคอลล์แบง่ รูปการสอนบนเว็บเป็นกี่ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 ประเภท 6. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระเภทการเรียนรู้ออนไลน์ของพาร์สนั เว็บชว่ ยสอนแบบรายวิชาอยา่ งเดียว เวบ็ ชว่ ยสอนแบบเว็บสนบั สนนุ รายวิชา เวบ็ ชว่ ยสอนแบบมลั ตมิ ีเดยี เว็บชว่ ยสอนแบบศนู ย์การศกึ ษา 7. ใครเป็นผ้แู บง่ ประเภทการเรียนรู้ออนไลน์ตามสมมตฐิ านการใช้ประโยชน์การสอนบนเวบ็ โดเฮอร์ตี ้ ศนู ย์การศกึ ษาตอ่ เนื่องแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั พาร์สนั ดริสคอลล์
20 8. ประเภทการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีผ้วู จิ ยั นามาใช้มีลกั ษณะอยา่ งไร เป็นลกั ษณะของส่ือเดียว สื่อคู่ และส่ือมลั ตมิ ีเดีย ผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์กบั เนือ้ หาที่ได้รับ ให้ผลย้อนกลบั แกผ่ ้เู รียน ถกู ทกุ ข้อ 9. ข้อใดไมใ่ ชส่ ง่ิ ที่ต้องคานงึ ถึงในการเรียนรู้ออนไลน์ การปฏิบตั ิ การให้คาแนะนา การให้สถานการณ์จาลอง การมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้สู อนและผ้เู รียนด้วยกนั การสื่อสารทงั้ แบบประสานเวลาและตา่ งเวลา การกาหนดวนั เวลาให้ผ้เู รียนปฏิบตั ิ 10. พสั เซอรินี, แกรนเจอร์ และวทุ ธิศกั ด์ิ โภชนกุ ลู ได้พฒั นากระบวนการเรียนการสอนออนไลน์เป็นก่ี ขนั้ ตอน 4 ขนั้ ตอน 5 ขนั้ ตอน 6 ขนั้ ตอน 7 ขนั้ ตอน 11. ข้อใดไมใ่ ชก่ ระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ตามแนวคดิ ของพสั เซอรินี, แกรนเจอร์ และวทุ ธิศกั ด์ิ โภชนกุ ลู ขนั้ การวิเคราะห์ ขนั้ การทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดมิ ของผ้เู รียน ขนั้ การออกแบบ ขนั้ การพฒั นา ขนั้ การประเมินผล ขนั้ การจดั สง่
21 12. กระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ของริทชีและฮอฟแมนมีก่ีขนั้ ตอน 4 ขนั้ ตอน 5 ขนั้ ตอน 6 ขนั้ ตอน 7 ขนั้ ตอน 13. ข้อใดไมใ่ ชก่ ระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ของริทชีและฮอฟแมน การสร้างแรงจงู ใจให้กบั ผ้เู รียน การบอกวตั ถปุ ระสงค์ การทบทวนและเช่ือมโยงความรู้ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพฒั นา การประเมินผล การจดั สง่ การกระต้นุ ให้ผ้เู รียนมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ การให้คาแนะนาและให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั การทดสอบความรู้ การนาความรู้ไปใช้และการเสริมความรู้ 14. กระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ 7 ขนั้ ตอน ท่ีผ้วู จิ ยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รออนไลน์มีอะไรบ้าง สร้างแรงจงู ใจ บอกวตั ถปุ ระสงค์ ทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดมิ กระต้นุ ให้ผ้เู รียนพร้อมที่จะเรียนรู้ ให้คาแนะนาและให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั ทดสอบความรู้ นาความรู้ไปใช้ และเสริมความรู้ ถกู ทกุ ข้อ 15. โดยทว่ั ไปการประเมนิ การเรียนรู้ออนไลน์ต้องคานงึ ถึงสง่ิ ใดบ้าง เนือ้ หา ความนา่ สนใจ เคร่ืองมือที่ใช้ในการเช่ือมโยง ตรงกบั ความต้องการของผ้เู รียน ถกู ทกุ ข้อ
22 16. การประเมนิ การเรียนรู้ออนไลน์ท่ีเกิดจากการสงั เคราะห์ของผ้วู ิจยั มีลกั ษณะอยา่ งไร การประเมินโดยผ้เู รียนและการประเมินโดยผ้เู ชี่ยวชาญ การอ่านการเห็นของหน้าจอภาพและองคป์ ระกอบรวมของสื่อ องคป์ ระกอบรวมของส่ือ การใช้สญั ลกั ษณ์ และการเข้าถึงข้อมลู หวั ข้อของบทเรียน เนือ้ หา การเช่ือมโยง และ URL ของเว็บ 17. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามแตกตา่ งของการเรียนรู้ออนไลน์และการเรียนรู้ในห้องเรียนปกติ การเรียนออนไลน์มีต้นทนุ ตา่ กวา่ การเรียนปกติ การเรียนออนไลน์มีความเป็นสว่ นตวั มากวา่ การเรียนในห้องเรียน การเรียนรู้ออนไลน์ใครจะเข้าเรียนเม่ือไร เวลาไหน ที่ไหนก็ได้ ไมจ่ าเป็นต้องมาเรียนพร้อมกนั ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้สู อน ผ้เู รียน และเพื่อนร่วมห้องต้องเหน็ หน้ากนั ตลอดเวลา 18. การสงั เคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ออนไลน์ที่ผ้วู จิ ยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รออนไลน์เป็นอยา่ งไร สื่อเดียว ส่ือคู่ และส่ือมลั ตมิ ีเดยี สื่อเดยี ว ส่ือคู่ ส่ือมลั ตมิ ีเดยี 19. ข้อใดไมใ่ ชข่ นั้ ตอนกระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีผ้วู จิ ยั นามาใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รออนไลน์ การสร้างแรงจงู ใจ บอกวตั ถปุ ระสงค์ และเชื่อมโยงความรู้ การกระต้นุ ผ้เู รียน แนะนาและให้ข้อมลู ย้อนกลบั การทดสอบ การนาความรู้ไปใช้ และการเสริมความรู้ การวเิ คราะห์ การพฒั นา และการประเมินผล 20. จากการสงั เคราะห์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ออนไลน์ ผ้วู จิ ยั แบง่ การประเมินออกเป็นกี่ลกั ษณะ ได้แก่ อะไรบ้าง 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินระหวา่ งเรียน และการประเมนิ หลงั เรียน 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินจากการทดสอบ และการตรวจสอบตามแนวทางท่ีสถาบนั กาหนด 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินจากต้นแบบ และการตรวจสอบตามแนวทางการเรียนการสอน ถกู ทกุ ข้อ
23 บรรณานุกรม กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชยั . (2557). การจดั การเรียนรู้ออนไลน์ดว้ ยแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้แบบเปิ ดโดยใช้ วิธีการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในหลกั สูตรการสร้างสือ่ ดิจิตอลคอนเทนด์.วิทยานิพนธ์ คอ.บ. (เทคโนโลยีการเรียนรู้และสื่อสารมวลชน) กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี.ถา่ ยเอกสาร. จริยา ทองหอม. (2560). การพฒั นาหลกั สูตรออนไลน์เพือ่ เสริมสร้างทกั ษะสร้างสรรค์นวตั กรรม. ปริญญานพิ นธ์ ปร.ด. (การวิจยั และพฒั นาหลกั สตู ร). กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. ถา่ ยเอกสาร. ศนู ย์การศกึ ษาตอ่ เนื่องแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (2545). เอกสารประกอบการฝึกอบรมโครงการ อบรมโปรแกรมการจดั การหลกั สตู ร Web Based Instruction (Chula ELS). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . เอกนฤน บางทา่ ไม้. (2553). การพฒั นารูปแบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิงเพือ่ เสริมสร้างจริยธรรมดา้ นความ รบั ผิดชอบต่อการเรียนสาหรับนกั ศึกษาปริญญาตรี. วทิ ยานิพนธ์ ปร.ด. (หลกั สตู รและการ สอน). นครปฐม: บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ถ่ายเอกสาร. วทุ ธิศกั ดิ์ โภชนกุ ลู . (2556). การพฒั นาระบบการฝึ กหดั ครูเชิงสมรรถนะผ่านการเรียนรู้ทางไกล ดา้ น เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับครูประจาการ. วิทยานพิ นธ์ ปร.ด. (ภาวะผ้นู าและ นวตั กรรมทางการศกึ ษา).บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. ถา่ ยเอกสาร. Hannum, W. (1998). Web-Based Instruction Lessons. Retrieved May 14, 2009, From http://www.soe.unc.edu/edci111/8-100/index_wbi2.htm Henke, Harold. (1997). Web-Based Instruction Design. Retrieved January 9, 2014, from http://hrast.pef.uni-lj.si/~joze/podiplomci/prs/clanki03/evalwbi.pdf Jones. M.G., and J.R. Okey. (1995). Interface Design for Computer-based Learning Environments. Retrieved Oct. 28, 2015. from http://www.hbg.psu.edudocs/idguide Khan, B.H. (1997). Web-Based Instruction. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. Lansberger, J. A. (2010). Basic Web Page and Its Elements. Retrieved January 9, 2014, from http://www.iss.stthomas.edu/webtruth/basicpage.html Parson, R. (1997). Type of Web-Based Instruction.Retrieved May 24, 2009, from http://www.oise.on.ca/~rperson/ypes.htm Ritchie Don, and Hoffman Bob. (1997). “Incorporating Instructional Design Principles with the World Wide Web.” Englewood Cliffs: Educational Technologies Publication.
24 Tillman, H.N. (2008). Evaluating Quality on the Net. Retrieved January 9, 2014, from http://www.tiac.net/users/hope/findqual.html ภาคผนวก ตวั อย่างเกยี รติบัตร
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: