Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา 2565 - 2570

แผนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา 2565 - 2570

Published by jt2554, 2022-04-22 03:50:12

Description: แผนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา 2565 - 2570
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1
มีภารกิจจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมโรงเรียนในพื้นที่ 4 อำเภอ โรงเรียนส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มีกระจายอยู่ในทุกอำเภอ และแนวโน้มมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจึงมีความจำเป็นต้องขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา เพื่อเป็น แนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาให้โรงเรียนขนาดเล็กที่มีจำนวนนักเรียนต่ำกว่า 120 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564) เข้าสู่โรงเรียน
คุณภาพระดับประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2565 – 2566 จำนวน 23 จุด
การจัดทำแผนขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา
ระยะ 6 ปี (พ.ศ. 2565 – 2570) ได้รับความร่วมมือจากตัวแทนบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และองค์คณะบุคคลในการดำเนินการ ซึ่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะได้ใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการบริหาร

Keywords: แผนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา 2565 - 2570

Search

Read the Text Version

แผนการขบั เคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ คํานาํ ระดับประถมศึกษา ระยะ 6 ป (2565 - 2570) สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 มีภารกจิ จัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ครอบคลุมโรงเรียนในพ้ืนที่ 4 อาํ เภอ โรงเรยี น Nakhonsithammarat Primary Educational Service Area Office สวนใหญเ ปนโรงเรียนขนาดเล็กท่มี กี ระจายอยูใ นทุกอําเภอ และแนวโนมมจี าํ นวน เพมิ่ มากขึ้นจึงมคี วามจาํ เปน ตอ งขับเคล่ือนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา http://www.nst1.go.th เพือ่ เปน แนวทางในการขับเคลือ่ นการพัฒนาใหโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่มี ีจาํ นวน โทร.0-7535-6151 ตอ 120 โทรสาร. 0-7534-7536 นักเรยี นต่ํากวา 120 คน (ขอมลู ณ วันท่ี10 พฤศจิกายน2564) เขา สโู รงเรยี น คณุ ภาพระดบั ประถมศึกษา ภายในป พ.ศ. 2565 – 2566 จาํ นวน 23 จดุ การจดั ทําแผน ขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพระดับประถมศกึ ษา ระยะ 6ป (พ.ศ. 2565 – 2570) ไดร บั ความรวมมอื จากตัวแทนบคุ ลากร ท่เี กี่ยวของในสํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาและองคค ณะบคุ คลในการดําเนนิ การ ซ่งึ สํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 และหนว ยงานทเี่ กย่ี วของ จะไดใ ชเ ปน เคร่ืองมอื ในการขบั เคลอ่ื นการบริหาร จัดการโรงเรยี นโรงเรยี นคุณภาพระดับประถมศึกษาใหม ีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธผิ ลยงิ่ ขึ้น หวังเปน อยา งยิง่ วา แผน ขบั เคล่ือนโรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศึกษา ระยะ 6 ป (พ.ศ. 2565 – 2570) ฉบับนี้ จะบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปาหมายที่กําหนดไว จงึ ขอขอบคณุ คณะกรรมการ และผูมสี ว นเกย่ี วของ ทุกทานที่มสี ว นรวมในการจดั ทาํ แผนฉบบั นี้ และรว มกันขับเคลื่อนไปสูค วาม สาํ เร็จ ตอ ไป สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1

สารบัญ บทนํา หนา เหตุผล และความเปนมา บทนํา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน และสาํ นักงานเขต สวนท่ี 1 ขอมลู สภาพปจ จุบันของโรงเรียนคุณภาพระดบั ประถมศึกษา 4 สว นที่ 2 แนวทางการดาํ เนนิ งานโรงเรยี นคุณภาพระดบั ประถมศกึ ษา 6 พ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษา มีภารกิจเรง ดวนในการปฏบิ ตั ิงานเพอื่ สง เสรมิ ให สว นท่ี 3 บทบาทหนา ท่ขี องกลุม งานในสาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา 19 ระบบการศกึ ษาเปนระบบทีม่ คี ุณภาพ และมปี ระสิทธิภาพ ควบคูกนั ไป คอื การขบั เคล่ือนโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศกึ ษา ตอ งสง เสรมิ สนับสนุนให ในการบริหารจัดการโรงเรียนคณุ ภาพระดับประถมศึกษา โรงเรยี นขนาดเลก็ ในเครอื ขายโดยรอบ สามารถนํานักเรียนมาเรยี นรวม และโรงเรยี นลูกขาย เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาใหเ กิดความเชอื่ มน่ั ตอชมุ ชน และผูป กครอง ภาคผนวก เขาสโู รงเรยี นคณุ ภาพระดับประถมศกึ ษา สรา งโอกาสใหน กั เรียนไดเ ขาเรียน ไดต ามมาตรฐานทห่ี ลกั สตู รกําหนด ภายใตก ารใชทรพั ยากรอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือรองรับนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร จากขอ มูลในสภาพปจ จบุ นั สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา นครศรีธรรมราช เขต 1 มีโรงเรียนคณุ ภาพระดับประถมศึกษา จาํ นวน 1 โรง คอื โรงเรียนบา นตลาด ตําบลเขาแกว อาํ เภอลานสกา ซึง่ ในป 2565 ภาคเรียนที่ 1 มีโรงเรยี นไปเรยี นรวม จาํ นวน 1 โรง จาํ นวนนกั เรียน 34 คน ทาํ ใหก ารจัด การศึกษาสามารถสะทอ น ถงึ คุณภาพและประสทิ ธภิ าพไดเพยี งพอ กลาว คอื เกิดการใชทรัพยากรอยางคมุ คา ดานการใชค รู โรงเรยี นมาเรียนรวม ทาํ ใหมีครู ครบชนั้ ครบกลุม สาระการเรียนรู และ มีความพรอมดา น สื่อเทคโนโลยี ทางการศกึ ษา ซ่งึ จะนาํ ผลไปสู คณุ ภาพ การศึกษา ของนักเรียนท่ี มาเรียนรวมได อยา งตอเนื่อง ในการน้ี สํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 จงึ ไดดําเนนิ การจดั ทําแผน ขับเคลื่อนโรงเรยี นคณุ ภาพระดับประถมศึกษา ระยะ 6ป (พ.ศ. 2565 – 2570) ขึน้ เพื่อใชเ ปนกรอบกําหนดทศิ ทางในการ ขบั เคลอ่ื นการบริหารจัดการของโรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษา อันจะ นาํ ไปสกู ารยกระดับคณุ ภาพการศึกษาใหเ กดิ ความเชื่อมัน่ ตอ ชมุ ชน และ ผูป กครองตามเปา หมายของโรงเรียน และสํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ตอไป

วัตถุประสงค สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เพอ่ื สงเสริมสนบั สนุนใหโ รงเรียนขนาดเล็กในเครือขายโดยรอบ 3 สามารถนาํ นักเรยี นมาเรียนรวม เขาสโู รงเรยี นคุณภาพระดบั ประถมศึกษา เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาใหเ กดิ ความเช่อื มน่ั ตอชมุ ชน และผปู กครอง สํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ไดก าํ หนดภาพ เพื่อรองรบั นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ความสาํ เร็จของการดําเนินการโรงเรยี นคุณภาพระดับประถมศกึ ษา ไวเ ปนดังน้ี เปา หมาย 1. ดา นประสิทธิภาพ ภายในปก ารศกึ ษา 2570 จะดําเนนิ การขับเคลื่อนโรงเรียน 1.1 จํานวนโรงเรยี นคณุ ภาพระดบั ประถมศึกษา บริหารจัดการใหโรงเรยี น คณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษาของสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา ขนาดเลก็ ในเครือขายโดยรอบนํานกั เรยี นมาเรียนรวมได นครศรธี รรมราชเขต 1 โดยดาํ เนนิ การนํานักเรียนจากโรงเรยี นขนาดเลก็ มา 1.2 การบริหารจัดการบุคลากรมีความสมดลุ และสอดคลองกับภารกิจ เรียนรวมกบั โรงเรยี นหลกั (โรงเรยี นคุณภาพระดับประถมศึกษา) ดังน้ี 1.3 การบริหารจดั การทรัพยากรดานการศกึ ษามีประสทิ ธภิ าพ และ เกดิ ประสทิ ธิผล ปก ารศึกษา 2565 ดาํ เนินการ 9 จดุ (9 โรงเรียนหลกั 11 โรงเรยี นลูกขาย) 2. ดานคุณภาพ ปก ารศกึ ษา 2566 ดาํ เนินการ 17 จุด 2.1 โรงเรียนไดม าตรฐานทางกายภาพ ทง้ั สง่ิ แวดลอ ม และอาคารสถานที่ (17 โรงเรียนหลกั 26 โรงเรยี นลกู ขาย) 2.2 นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นจากการทดสอบระดบั ชาตสิ งู กวาระดบั ชาติ ปก ารศึกษา 2567 ดาํ เนินการ 1 จดุ (1 โรงเรยี นหลกั 6 โรงเรียนลูกขา ย) 3. ดา นโอกาสทางการศกึ ษา ปการศึกษา 2568 ดาํ เนินการ 1 จุด เพิ่มโอกาสใหน กั เรียนไดเรยี นรใู นโรงเรยี นดีที่มีคุณภาพดว ยนโยบายการพัฒนา (1 โรงเรยี นหลกั 1 โรงเรยี นลูกขาย) ปก ารศึกษา 2570 ดาํ เนนิ การ 3 จดุ คณุ ภาพ ประสิทธภิ าพ และการปฏิบตั งิ านภาครฐั สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาและ (3 โรงเรียนหลกั 9 โรงเรยี นลูกขาย) โรงเรียน จึงมคี วามจาํ เปน ตอ งปรบั เปลี่ยนการดาํ เนินการใหเกดิ คณุ ภาพ และ ประสิทธิภาพ สาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา สาํ นักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน จงึ ตระหนักถึงความสําคญั อยางย่งิ ในการดาํ เนนิ การรวมโรงเรยี น ขนาดเล็กในครัง้ นี้ โดยกําหนดแนวทางการดําเนินงานเสนอแนะไวด ังกลาวขางตน

สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 สวนท่ี 1 รายช่อื โรงเรยี นคุณภาพ และโรงเรียนลกู ขา ย สังกัดสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา ขอมูลสภาพปจ จุบนั ของโรงเรียนคณุ ภาพระดับประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 โรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศึกษา หมายถึง โรงเรยี นท่ีผูบริหาร ครแู ละ ภายในปก ารศึกษา 2565 โรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศึกษา บุคลากรทางการศกึ ษามีสวนรวมในการสง เสริม สนบั สนนุ ใหโ รงเรยี นมีสภาพแวดลอ ม การกําหนด จุดโรงเรยี น จํานวน 1 โรง และโรงเรียนลูกขายที่มีความประสงค ท่ีสง เสริมการเรียนรูข องผเู รียน โรงเรยี นมีความสะอาด และปลอดภัยท้งั รางกายและ ไปเรียนรวม ภาคเรยี นที่ 1/2565 จิตใจ มแี หลงเรียนรู หรอื กิจกรรมทเ่ี อ้ือตอ การเรียนรูต ามบริบทของโรงเรียนหอ งเรียน มีบรรยากาศการเรยี นรูสง เสริมทกั ษะในศตวรรษที่ 21 มีการปฏิบัติทเ่ี ปนเลิศตามสภาพ ท่ี ชื่อโรงเรยี นหลกั ที่ ช่ือโรงเรียนลูกขาย นร. ครู บริบทของโรงเรยี น นักเรียน ผปู กครอง และชุมชนมคี วามพึงพอใจ อาํ เภอลานสกา (ภาคเรียนที่ 1/2565) 1 บา นตลาด 1 วดั ไทรงาม 34 1 สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 อาํ เภอเมืองนครศรีธรรมราช (ภาคเรยี นที่ 1/2565) มโี รงเรียนคุณภาพระดับประถมศกึ ษา จาํ นวน 1 โรง คอื โรงเรียนบานตลาด ตงั้ อยทู ี่ 1 วัดทา งาม 1 วัดเทพธดิ าราม 12 1 ตาํ บลเขาแกว อาํ เภอลานสกา มเี นื้อท่ี 8 ไร 3 งาน มนี ักเรียน จํานวน 431 คน อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช (ภาคเรียนท่ี 2/2565) จํานวนหอ งเรียน 18 หอ ง ครู จาํ นวน 19 คน มีอาคารเรียน อาคารประกอบ ดงั นี้ 1 วดั ชัน 1 บา นยานซือ่ 21 2 2 วดั บา นตาล 1 วดั พระมงกฏุ 43 2 1. อาคารเรียนแบบ ป.1 ก จาํ นวน 1 หลัง 3 บานปากพญา 1 บานปากนาํ้ ปากพญา 54 2 2. อาคารเรยี นชน้ั อนุบาล จํานวน 1 หลงั อําเภอเฉลมิ พระเกยี รติ 3. อาคารเรยี นสปช. 105/29 จํานวน 2 ช้ัน จาํ นวน 8 หอง ใตถ นุ โลง3 หลัง 1 ราษฎรบ ํารุง 1 บา นปากชอ ง 69 4 4. อาคาร 107 จํานวน 1 หลัง 2 วัดสระไคร 1 บา นปลายคลอง 49 4 5. อาคารสํานักงาน 1 หลัง 3 วัดดอนตรอ 1 บานอา วตะเคยี น 33 2 6. อาคารโรงอาหาร 1 หลัง 2 วัดปา หวาย 31 2 7. อาคารเรียนระดบั ช้นั อนบุ าล 1 หลัง 4 วัดพังยอม 1 วดั โคกกะถนิ 15 1 ปง บประมาณ2564 ไดร ับงบประมาณจากสาํ นักงานคณะกรรมการ 2 วดั บางหวา 31 2 การศึกษาข้ันพน้ื ฐานเพอ่ื เปน การยกระดบั คุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ “โครงการยกระดับคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนตามแนวทางการเรยี นรผู สมผสาน (Blended Learning) และการเรยี นรเู ชิงรุก (Active Learning) ดวยสอื่ นวัตกรรมและ เทคโนโลยกี ารศึกษาเพือ่ พฒั นาสมรรถนะสาํ คัญของผเู รยี นระดบั ปฐมวยั ป-ระถมศึกษา จํานวนงบประมาณทไ่ี ดร ับ 350,000 บาท ปงบประมาณ 2565 ไดร ับงบประมาณจากสํานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ในการกอ สรา งอาคารเรยี น แบบ สปช. 2/28 ปรบั ปรุง 3 ช้ัน 15 หองเรยี น จาํ นวน 1 หลัง งบประมาณ 9,441,000 บาท

สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 5 แผนการขับเคล่อื นโรงเรียนคณุ ภาพระดับประถมศกึ ษาในภาคเรยี นที่ 1/2566 ดังนี้ แผนการขับเคลอื่ นโรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษาในภาคเรียนที่ 1/2567 ท่ี ช่อื โรงเรียนหลกั ท่ี ชื่อโรงเรยี นลกู ขาย นร. ครู ที่ ช่อื โรงเรียนหลกั ท่ี ชอื่ โรงเรยี นลูกขาย นร. ครู อําเภอเมอื งนครศรธี รรมราช 1 วัดมะมวงสองตน 57 4 อาํ เภอเมืองนครศรธี รรมราช 1 บานบางเตย 72 4 1 วัดนํา้ รอบ 62 4 1 ชมุ ชนวดั หมน 2 บา นหนองหนอน 47 4 1 วดั พระมหาธาตุ 1 วดั ราษฎรเจริญ 67 4 3 วัดพังสงิ ห 56 4 2 วัดทงุ แย 2 วัดนางพระยา 90 5 4 วดั จังหูน 70 4 3 บานบางหลวง 3 วดั ทานคร 103 5 5 วัดโดน 28 2 4 วดั นารปี ระดิษฐ 101 6 6 วดั สวางอารมณ 63 4 4 วัดบานตาล 1 วดั สวนพล 36 2 5 วัดมหาชัยวนาราม 1 วัดดอนยาง 99 6 แผนการขบั เคลอื่ นโรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศึกษาในภาคเรียนท่ี 1/2568 6 บา นทวดทอง 1 วัดวนาราม 33 2 2 วัดโพธิท์ อง 44 3 ท่ี ช่ือโรงเรยี นหลัก ที่ ช่ือโรงเรยี นลูกขาย นร. ครู 7 วดั ชัน 3 บา นทวดเหนือ 52 3 อําเภอเมอื งนครศรีธรรมราช 1 บานเนนิ 68 4 8 บานนาเคียน 4 วัดหัวอฐิ 67 6 1 วดั บางใหญ 9 วดั โบสถ 5 วัดหนองบวั 77 4 10 วดั ทา แพ 1 บา นยา นซ่ือ 21 2 แผนการขบั เคลอื่ นโรงเรียนคุณภาพระดบั ประถมศึกษาในภาคเรยี นที่ 1/2570 11 บานหว ยไทร 1 วัดหญา 79 4 12 ราชประชานเุ คราะห 4 1 วดั ทา มวง 70 4 ที่ ช่อื โรงเรยี นหลัก ท่ี ชอ่ื โรงเรียนลูกขา ย นร. ครู 13 บา นปากพญา 2 วดั มะมวงทอง 45 3 อาํ เภอลานสกา 2 บานมะมว งทอง 68 4 อําเภอพระพรหม 1 บานชะเอียน 64 4 1 บานตลาด 3 บา นรอ น 86 5 1 วัดกัด 1 บานปากนํา้ เกา 32 3 4 ชุมชนลานสกา 53 3 2 วัดทา ยสําเภา 1 วัดวิสุทธยิ าราม 86 5 2 วัดโคกโพธ์ิสถิตย 5 วัดเจดีย 66 3 3 วัดพระเพรง 2 วัดนาวง 95 5 3 บา นสาํ นักใหม 1 วนั จนั ทร 44 2 4 วดั แพร 1 วัดหวยพระ 44 3 2 วัดดนิ ดอน 102 7 1 วดั ราษฎรเจริญวราราม 87 5 1 บา นคดศอก 31 3 1 วดั คันนาราม 68 4 2 วดั ใหมทอน 72 4 2 วดั หนองแตน 62 4 3 วดั สอ 43 3 1 วัดทาชา ง 87 6

สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 โรงเรยี นท่ีกาํ หนดตนเองเปนโรงเรยี น Stand Alone สว นที่ 2 ท่ี ช่อื โรงเรยี น อําเภอ นักเรียน ครู แนวทางการดาํ เนนิ งานโรงเรียนคุณภาพระดบั ประถมศกึ ษา 1 วัดนาํ้ รอบ ลานสกา 138 11 2 ไทยรฐั วทิ ยา 74 (ชุมชนบานคีรีวง) ลานสกา 256 14 1 เพ่อื เปน การขบั เคลื่อนและพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษา ใหเ ปนไป 3 วดั สมอ ลานสกา 246 13 1ตามจุดเนน การดาํ เนินงาน ทัง้ 8 จดุ เนนโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ ไดแก 4 วัดวังหงส ลานสกา 143 11 1. ความปลอดภยั กลมุ สงเสริมการจัดการศึกษา 5 บานสันยงู ลานสกา 133 14 1 2. ระบบประกันคุณภาพ 6 บานสาํ นักใหม ลานสกา 231 14 3. หลักสตู รฐานสมรรถนะ กลมุ นเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา 7 วัดไสมะนาว พระพรหม 173 10 8 บานหวยยูง พระพรหม 138 10 1 4. การพัฒนาครู กลมุ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา 9 บา นไสใหญ พระพรหม 240 16 10 วดั พระพรหม พระพรหม 301 16 1 5. การเรยี นการสอน กลมุ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 11 บา นหว ยระยา พระพรหม 143 11 12 วัดมะมวงตลอด พระพรหม 165 13 1 6. การวดั และประเมนิ ผล กลุมนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา 13 วัดเชิงแตระ พระพรหม 143 10 1 7. การนเิ ทศ กาํ กับ ตดิ ตาม กลุมนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 1 8. Big Data กลมุ นเิ ทศติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา กลมุ สง เสรมิ การศกึ ษาทางไกลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ระดับเขตพ้ืนที่การศกึ ษามีการดําเนินการ มดี ังนี้ 1. ผอ.สพป.นศ.1 มอบจดุ เนน โรงเรียนคณุ ภาพใหก บั สถานศึกษาในสังกดั 2. จัดทาํ เกณฑก ารประเมนิ รวมกับผมู สี ว นเกีย่ วของและแจงสถานศึกษาทกุ แหงตามแผน และขัน้ ตอนการพฒั นาเพ่ือเปน แนวทางใหโรงเรยี นสงั กัด 3. มีการนิเทศ กาํ กับ ติดตามการดาํ เนนิ การตามจดุ เนนโรงเรยี นคุณภาพระดับประถมศกึ ษา 3.1 มีการนิเทศ กาํ กับ ตดิ ตามการดาํ เนนิ การตามจุดเนน โรงเรียนคณุ ภาพ 8 ดาน 3.1.1 ผูอํานวยการสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรมีสว นรวมในการสงเสริม สนบั สนนุ การดําเนนิ งานโรงเรยี นคุณภาพ 3.1.2 โรงเรียนมีสภาพแวดลอ มทสี่ ะอาดและปลอดภัย 3.1.3 โรงเรยี นมกี ารจดั บรรยากาศในหอ งเรียนทส่ี งเสริมทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 ตามบริบทของโรงเรยี น มีโครงการ กิจกรรม การปฏิบตั ิท่ีเปน เลศิ ตามสภาพบริบท ของโรงเรียน 3.1.4 นกั เรียน ผปู กครอง และชมุ ชนมีความพงึ พอใจ

ระดับสถานศึกษาจะตองดําเนินการ ไดแ ก สํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 1. รับนโยบาย ประชุม ชี้แจง ทาํ ความเขาใจและสรางความตระหนกั เก่ยี วกับการดําเนนิ งาน 7 ตามนโยบายโรงเรยี นคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษา 2. แตงตั้งคณะกรรมการรบั ผิดชอบการดาํ เนนิ งาน ตามกรอบแนวทางจดุ เนน ซึ่งมปี ระเด็น ระดับสถานศกึ ษา 1. กําหนดนโยบายท่ีเกย่ี วขอ งกบั ระบบดแู ลชวยเหลอื นักเรยี น การเสริมสรา งทกั ษะชีวติ สําหรับการดําเนนิ การ ดงั น้ี 2.1 ความปลอดภยั และการคุมครองนักเรยี นอยา งปลอดภัยท้ังในและนอกสถานศกึ ษา 1 2.2 ระบบประกนั คุณภาพ 2. จดั ทาํ ขอมลู สารสนเทศและสถิติของโรงเรยี นทเี่ กยี่ วขอ งกบั ระบบการดูแลชว ยเหลือนกั เรยี น 2.3 หลักสตู รฐานสมรรถนะ 3. การดําเนนิ งานระบบดแู ลชวยเหลอื นักเรยี น ในโรงเรียนครบท้งั 5 ขนั้ ตอน โดยดาํ เนนิ งาน 1 2.4 การพัฒนาครู 1 2.5 การเรียนการสอน ใหส อดคลอ งอยา งเปน ระบบ 1 2.6 การวัดและประเมนิ ผล 4. การดําเนินการเสรมิ สรา งทักษะชีวิติอยางเปน รปู ธรรม 1 2.7 การนเิ ทศ กาํ กบั ติดตาม 6. ดําเนินการดานความปลอดภยั ในโรงเรยี นอยา งเปน ระบบ 1 2.8 Big Data 7. ดําเนินการคุมครองนกั เรียนอยา งเปน รปู ธรรม 2.1 ความปลอดภยั 8. การมสี ว นรวมของภาคีเครือขา ยทุกภาคสวนทีเ่ กี่ยวขอ งในการดแู ลชว ยเหลอื นกั เรียน นโยบายสําคัญของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน คือ การใหส ถานศกึ ษา และความปลอดภัยของโรงเรียน ทุกแหง มีระบบการดูแลชว ยเหลอื นักเรียนทีเ่ ขมแข็ง และดาํ เนินการอยา งตอเนอื่ งเพ่ือใหเกดิ ความ 9. การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหมีความรู ความเขาใจระบบการดูแลชวยเหลือ ยั่งยืนในการดูแลชว ยเหลอื นักเรยี นไดอยางมีประสทิ ธภิ าพในทกุ มิติ โดยเฉพาะเรอ่ื งพฤติกรรม ของนกั เรยี นไดเ ปลยี่ นแปลงไปตามกระแสโลกาภิวฒั นท ง้ั ในดา นที่เปนคุณและเปน โทษ ซ่งึ สง ผล นักเรียนการเสรมิ สรางทักษะชวี ติ การเสรมิ สรางความปลอดภยั และการคมุ ครองนกั เรยี น กระทบตอ การเรียนรูแ ละการดําเนินชวี ิตของนักเรยี นที่ตอ งเผชญิ ปญ หาในสภาพสงั คมปจ จบุ ัน 10. การนเิ ทศภายใน ติดตาม สงเสริม สนบั สนนุ และใหข วญั กําลงั ใจแกครูและบุคลากร แนวทางการดําเนินงานระดับเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา มดี งั นี้ 1. ประชมุ ช้แี จงนโยบายระบบการดูแลชว ยเหลือนักเรยี นและคมุ ครองนักเรยี นใหผ ูบ ริหาร ทางการศกึ ษาในการดาํ เนินงานระบบการดแู ลชว ยเหลอื นักเรียน การเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต การเสรมิ สรางความปลอดภยั และการคมุ ครองนักเรียนอยา งตอเน่ือง จัดกิจกรรมชวยเหลือนกั เรยี นและเสริมสรา งภูมคิ ุมกนั ทางสังคม 2.2 ระบบประกันคณุ ภาพ 2. จดั ทาํ ระบบขอ มูลสารสนเทศเกี่ยวกบั ระบบการดแู ลชวยเหลือนักเรยี นรายบุคคล และกจิ กรรม “การประกนั คุณภาพการศกึ ษา” หมายความวา การประเมนิ ผลและการตดิ ตาม เยย่ี มบา น ตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาแตล ะระดับและประเภทการศึกษา 3. คัดเลือกสถานศกึ ษาทมี่ ผี ลงานระบบการดูแลชว ยเหลอื นกั เรยี นทเี่ ปน เชิงประจักษ เพ่ือเสนอ โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารคณุ ภาพการศึกษาทส่ี ถานศกึ ษาจัดขึน้ เพอื่ ใหเกดิ การพฒั นาและสรา งความเชอ่ื มั่นใหแกผูมสี วนเกยี่ วของและสาธารณชนวา รายชื่อใหเขารบั การประเมนิ และรับรางวลั ระบบการดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี น สถานศึกษานน้ั สามารถจดั การศึกษาไดอยา งมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและบรรลุ 4. อบรมทบทวนความรพู นักงานเจาหนา ทส่ี งเสรมิ ความประพฤตนิ ักเรยี นและนกั ศึกษา เปาประสงคของหนวยงานตนสงั กดั หรอื หนว ยงานที่กาํ กับดแู ลใหสถานศึกษาแตล ะแหง 5. นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดําเนินงานระบบการดแู ลชวยเหลอื นักเรียนที่สมั ฤทธผิ ล จัดใหม รี ะบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยการกาํ หนดมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศกึ ษาแตละระดับและประเภท ตอ การพัฒนาสถานศึกษาอยางเปนองครวมทุกดา น การศกึ ษาที่รัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนดพรอมทง้ั จัดทาํ แผนพัฒนา การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาทมี่ งุ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาํ เนินการ ตามแผนที่กาํ หนดไว จดั ใหม กี ารประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายใน สถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการเพือ่ พฒั นาสถานศึกษาใหม ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา และจัดสงรายงานผลการประเมินตนเองใหแ กหนว ยงานตน สงั กัดหรอื หนว ยงาน ทก่ี าํ กบั ดูแลสถานศึกษาเปนประจาํ ทกุ ป เพือ่ ใหก ารดําเนนิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา

ตามวรรคหนง่ึ เปนไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ใหห นว ยงานตน สงั กัดหรอื หนวยงานทกี่ าํ กบั ดแู ล สาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 สถานศกึ ษามีหนาที่ในการใหค ําปรกึ ษา ชวยเหลือ และแนะนาํ สถานศกึ ษาเพ่ือใหก ารประกัน คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพฒั นาอยา งตอเน่อื ง 8 แนวทางการดาเนนิ งานระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มดี งั น้ี 2.3 หลักสตู รฐานสมรรถนะ 1. กาํ หนดนโยบาย เปาหมายของระดับคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาในสังกัด 2. สรา งความตระหนักใหก บั สถานศกึ ษาในสงั กดั ความรแู ละความเขาใจทีถ่ กู ตอ ง หลักสตู รสถานศกึ ษา เปนแผนหรือแนวทางหรอื ขอกําหนดของการจดั การศึกษา ทจ่ี ะพัฒนาใหผ ูเ รียนมีความรู ความสามารถ โดยสงเสริมใหแตล ะบคุ คลพัฒนาไปสูศักยภาพสงู สดุ เก่ยี วกับการประกันคณุ ภาพ ของตน รวมถงึ ลาํ ดับขั้นของมวลประสบการณทก่ี อใหเกิดการเรียนรูสะสมซ่ึงจะชว ยใหผ เู รียน 3. กําหนดแผนการนเิ ทศ กํากบั ตดิ ตามผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา มอบหมาย นําความรไู ปสูการปฏิบตั ไิ ด ประสบความสาํ เร็จในการเรียนรูดวยตนเอง รูจ ักตนเอง มีชีวิตอยู ในโรงเรียน ชมุ ชน สังคมและโลกอยางมคี วามสุข หลักสตู รสถานศึกษามีความสําคญั ตอ การชว ย ผรู บั ผดิ ชอบ พฒั นาผูเรียนในทุกๆ ดา น สามารถชแี้ นะใหผูบรหิ ารสถานศึกษา ครู อาจารย ตลอดจนผูเก่ียวของ 4. รวมดําเนนิ การวางระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหเขม แข็ง กับการจดั การศึกษา ไดพ ยายามจดั มวลประสบการณใ หแ กผเู รียนไดพ ฒั นาตนเองในดานความรู 5. นเิ ทศ และสงเสริมใหระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานดาํ เนนิ ไปอยา งตอเนื่อง ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค บรรลุตามจดุ หมายของการจดั 6. ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ การพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาแตละแหงอยา งนอ ย การศึกษา โดยมีองคประกอบท่ี สําคัญ ดังนี้ ปละ 1 คร้ัง และแจง ผลใหส ถานศึกษาทราบเพื่อรวมมือกนั พัฒนาใหกาวหนาตอไป 1. จุดมุงหมายของหลักสตู ร เพ่ือสรางแนวทางในการจัดการศึกษาวา หลักสตู รนน้ั ๆ 7. ตดิ ตามผลการดําเนนิ การ ปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ของสถานศกึ ษาหลงั จาก มุง ใหผเู รียนเปน ไปในลกั ษณะใดบาง เชน ผูเรียน สามารถอานออกเขียนได หลังจากจบการศึกษา ระดับน้นั ๆ แลว เปนตน ไดข อเสนอแนะจาก สาํ นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องคการมหาชน) 2. เน้ือหา เปน เนอ้ื หาสาระที่กาํ หนดไว โดยจะตอ งครอบคลมุ ถงึ ท้งั ดานความรู ทัศนคติ แนวทางการดาเนินงานระดบั สถานศึกษา และพฤติกรรมตางๆ ดว ย เพอ่ื ใหบ รรลุตามจดุ มุงหมายของการศึกษาทีว่ างไว สถานศึกษาดาํ เนนิ การตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ดังน้ี 1. กาํ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเ ปน ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาแตละระดับ 3. การนําหลักสตู รไปใช กจิ กรรมการจัดการเรียนการสอนซึ่งครูผสู อนจะมีบทบาท และประเภทการศึกษาท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาํ หนด มากทส่ี ดุ สาํ หรับองคป ระกอบนี้โดยถอื วาการสอนเปนส่ิงที่สาํ คัญทีส่ ดุ ในการนําเน้อื หาในหลกั สูตร 2. จดั ทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาทม่ี งุ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ท่ีสถานศึกษากําหนด น้ันๆ ไปใช 3. ดําเนินการตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาทีก่ ําหนดไว 4. จดั ใหม ีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 4. การประเมินผล เปน ส่ิงท่ีชใี้ หเห็นวา หลักสตู รนนั้ ๆ บรรลจุ ดุ มงุ หมายหรือไม 5. ติดตามผลการดาํ เนินการเพอื่ พัฒนาสถานศกึ ษาใหมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา แกไ ข ปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สตู รตอ ไป 6. จัดทํารายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา (SAR) และจดั สงรายงานผล เชิงคณุ ภาพ การประเมินตนเองใหแกห นวยงานตนสงั กัดหรือหนว ยงานทก่ี ากับดูแลสถกานษศาเึ ปน ประจําทุกป มิตทิ ่ี 1 1) โรงเรียนมหี ลักสตู รสถานศึกษาฉบบั ปรบั ปรงุ ที่ถกู ตองและเปนปจ จบุ นั ตามบรบิ ท จุดเนน ของโรงเรียน 2) โรงเรยี นมรี ะเบยี บวา ดว ยการวดั และประเมนิ ผล ฉบบั ปรบั ปรุงทีถ่ กู ตองและเปน ปจจุบนั 3) โรงเรยี นมเี อกสารประกอบหลักสูตรครบทุกกลมุ สาระการเรยี นรู คมู อื การจัดกจิ กรรม พฒั นาผูเรียน มติ ทิ ่ี 2 ครูออกแบบหนว ยการเรียนรู และแผนการจัดการเรียนรู Active Learning ไดอยางถกู ตอง อยางนอยคนละ 1 รายวชิ า

สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 มิติที่ 3 5. ผบู รหิ ารและครูทกุ คนรว มกนั ทบทวน พฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาทม่ี ีอยูแลว 9 1. ครูมีส่อื การเรยี นการสอนทย่ี ดึ ผูเ รยี นเปน สําคัญ พรอมเอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษาทุกเลม 2. โรงเรยี นมที ะเบียนสือ่ เทคโนโลยี และแหลง เรียนรู มิตทิ ่ี 4 6. จัดประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการสาํ หรบั ครทู กุ คน 1. ครมู วี ธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย 7. ครูทกุ คนออกแบบหนวยการเรยี นรูทกุ รายวชิ า 2. ครูมเี ครือ่ งมอื วัดและประเมินผลท่ี สอดคลอ งกบั มาตรฐานและตัวชว้ี ดั ของหลักสูตร 8. ครทู กุ คนจัดทาํ แผนการจดั การเรยี นรอู ยา งนอ ยคนละ 1 รายวิชา 3. โรงเรียนมีทะเบียนเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล /มคี ลังขอ สอบ 9. ครูทุกคนสงหนวยและแผนการจัดการเรียนรู มติ ิที่ 5 10. ครทู ุกคน จัดหา จดั ทาํ สื่อ แหลง เรียนรู และเทคโนโลยี ตามหนว ยและแผนท่ีไดอ อกแบบไว 1. ผบู ริหารมแี ผนการนเิ ทศภายใน 11. ครทู กุ คน จดั ทําเคร่อื งมอื การวัดและประเมนิ ผล 2. ครมู แี ผนการ PLC 12. ผบู รหิ าร/ครวู ิชาการ/ผูทีไ่ ดร บั มอบหมาย เยย่ี มหอ งเรยี น สงั เกตการสอน มติ ิท่ี 6 13. ผบู รหิ าร ครู รวม PLC ตามบันทกึ หลงั สอน 1. ผูบริหาร มีงานวจิ ยั อยางนอ ย คนละ 1 เร่อื ง ตอ ปการศึกษา 14. ครจู ัดทําวจิ ัยในชัน้ เรยี น 2. ครู มีงานวจิ ยั อยา งนอ ยคนละ 2 เรื่อง ตอปก ารศกึ ษา 15. ผบู ริหารจดั ทาํ วจิ ัยการใชห ลักสูตร แนวทางการดําเนนิ งานระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มดี งั นี้ 1. จัดทําคูมือการดําเนนิ ขับเคลอ่ื น นโยบาย 6 มิติคณุ ภาพสูการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 2.4 การพัฒนาครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนบุคคลที่จะตอ งไดร บั การเสรมิ สรางทกั ษะ ความรู 1) คมู อื การขับเคล่ือนนโยบาย 6 มิติคุณภาพ สาํ หรับผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2) คูมอื การขับเคล่อื นนโยบาย 6 มิติคณุ ภาพ สาํ หรบั ครู และความสามารถใหกับบคุ ลากรในสังกัด เพอื่ ใหการปฏิบตั หิ นาทีด่ าํ เนินไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) คูมอื การขับเคลื่อนนโยบาย 6 มติ ิคณุ ภาพ สาํ หรับผบู ริหารการศึกษา/ศึกษานเิ ทศก โดยเฉพาะอยางยงิ่ ตองมคี วามสามารถเทาทนั กับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกดา นตา งๆ 2. จดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ ท้งั เศรษฐกจิ สงั คม สิง่ แวดลอ ม และทรัพยากรธรรมชาติ เงื่อนไขสําคัญตอการจัดทาแนวทาง 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการตัวแทนครผู ูสอน พฒั นาประเทศ โดยจะตอ งพฒั นาขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในทุกตําแหนง 4. ชี้แจงแนวทางการพฒั นาสอื่ แหลงเรียนรู และเทคโนโลยี ทุกระดับอยา งครบถวนทวั่ ถงึ ในทกุ มติ ิ 5. ชีแ้ จงแนวทางการวัด และประเมนิ ผลการเรยี นรู ครูวิชาการ เปาหมาย 6. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรในเร่ืองการทําวจิ ัยในชนั้ เรียน 7. นเิ ทศ กํากบั ตดิ ตาม พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท้ังระบบใหม ีสมรรถนะและทกั ษะในการ 8. จดั เวที แลกเปล่ยี นเรียนรู ปฏิบตั ิงานตรง ตามสภาพปญ หาและความตองการ ดวยการสงั เคราะหแ ผนพฒั นาตนเอง ระดับสถานศกึ ษาตองทําอยางไร รายบุคคล (ID-Plan) เพือ่ พัฒนาใหเ ปน ครูมืออาชพี ดงั นี้ 1. โรงเรยี นจัดทําแผนปฏบิ ัตริ าชการ 1. ครูผสู อนในสงั กดั สพป.นครศรธี รรมราช เขต 1 จัดทําแผนพฒั นาตนเองรายบุคคล (ID-Plan) 2. ศึกษาเอกสาร 6 มติ ิคณุ ภาพสกู ารปฏบิ ตั ิ 2. สถานศึกษาทกุ แหงจัดทําแผนพัฒนาบคุ ลากร ดว ยการสงั เคราะหแ ผนพัฒนาตนเอง 3. ศกึ ษาเอกสารคมู ือการขบั เคลื่อนนโยบาย 4. จดั ทาํ ปฏทิ ินการดาํ เนินงาน รายบคุ คล (ID –Plan) ของครูในสถานศึกษา 3. สถานศึกษาทกุ แหงดาํ เนินกิจกรรมจัดการความรู (KM) เพ่ือเพมิ่ ประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การศกึ ษา 4. สถานศึกษาทกุ แหง ดําเนนิ กิจกรรมชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 5. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร ับการพฒั นาตนเองสอดคลอ งกับแผนพัฒนาตนเอง รายบุคคล (ID Plan)

6. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพฒั นาความรแู ละทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ านในหนาที่ สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 7. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดไดรบั การยกยอ งเชิดชูเกยี รติ แนวทางการดําเนนิ งานระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามี ดงั นี้ 10 1. กําหนดนโยบายการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตองอาศยั อยูบนหนากากของการเรยี นรูจากความหลากหลายของแหลง ที่มา ขณะเดยี วกัน 2. นาํ เสนอโครงการเขาในแผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ป ครูผสู อนควรจะไดร บั การฝก อบรมเก่ยี วกับวิธีการจดั การเรียนรแู บบใหมๆ เพอ่ื รับมอื กบั การ 3. จัดทาํ คมู อื การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เปลีย่ นแปลง ความรเู ก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะนาํ ไปสกู ารพัฒนาทกั ษะของมนุษย 4. ดําเนินการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามโครงการในแผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ป ของพวกเขา อีกทงั้ ครตู อ งเรยี นรูทีจ่ ะทํางานรว มกบั ชมุ ชนที่หลากหลายมากขึ้น และเหน็ พอแม เปน แหลงของการเรียนรูแ ละการสนบั สนนุ มากกวา การแทรกแซง ของสพป.นครศรธี รรมราช เขต 1 หรือตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา การถา ยทอดความรูส าหรับผูเรยี นยคุ ใหม ข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5. สรุปผลการดาํ เนนิ โครงการ ครูสามารถเรยี นรูส่งิ ตางๆ ไดโดยการลงมือปฏบิ ตั ิเชน เดียวกบั การเชญิ ชวนใหน กั เรยี น รว มลงมือกบั ครดู วย ครูจะอาศัยโอกาสดังกลาวนี้ในการสังเกตการณการทางานและรว มแบงปน 12.5 การเรียนการสอน ประสบการณท่คี นพบดวยกัน การเรยี นรูลักษณะนจ้ี ะชว ยใหครูผสู อนทจ่ี ะทําใหก าวกระโดดจาก การเรยี นการสอนแนวใหม ทฤษฎไี ปสูก ารปฏิบตั ิท่ปี ระสบความสําเร็จ เพราะการเรยี นการสอนในยคุ ใหมไมเ พยี งแตส อน เปน การนาํ แนวคิด วธิ ีการ กระบวนการหรือส่งิ ประดษิ ฐใ หมๆ มาใชในการจดั การ นักเรียน แตย ังตองดูแลและสรางความสัมพันธก ับพวกเขาดวยกระบวนการของการเรียนรผู า น เรียนรู ในการแกปญ หา หรอื พฒั นาการเรียนรอู ยา งมปี ระสิทธภิ าพตรงตามเปา หมายของหลกั สูตร การแกปญหาเปน ข้นั ตอนสําคญั ครูจะกระตุนใหผเู รียนต้ังคําถามและตรวจสอบคําถามของ ซงึ่ จะชว ยใหการศึกษาและการเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพดยี ิง่ ข้นึ ผเู รยี นสามารถเกิดการเรียนรู พวกเขา วธิ ีการเชน นจี้ ะทาํ ใหห ลักสูตรมีความหมายมากข้ึน บทเรยี นไมจําเปนตอ งจบลงดวย ไดอยา งรวดเรว็ มีประสทิ ธผิ ลสงู กวาเดิม เกดิ แรงจูงใจในการเรยี นดว ยนวัตกรรมเหลานน้ั และ คําตอบทถ่ี ูก แตควรจะเปน คําตอบทสี่ ามารถขยายผลไปสูก ารตง้ั คาํ ถามของผเู รยี นตอ ไป เพราะ ประหยัดเวลาในการเรยี นไดอกี ดว ย แนวคิดสมัยใหม มองวา ความคดิ ของนักเรียนมีคณุ คา นกั เรียนจะใชพัฒนาความหมายของตัวเอง กระบวนทัศนใหมข องการเรียนรู แทนการถายโอนความรจู ากครู โดยจะเนน การคิดเชิงวิพากษมากกวาขอ มลู ท่ีเปน ขอ เท็จจรงิ กรรมการเรยี นควรมีความหมายและนาสนใจใหก บั นกั เรียน พวกเขาควรไดร ับอนุญาตในการสรา ง แนวคิดแบบใหมๆ เรมิ่ เขามามอี ทิ ธิพลตอการจดั การศกึ ษาโดยเฉพาะอยางยิ่งกบั การ พฒั นาและประยุกตใชค วามรหู รอื ทกั ษะเพ่มิ เติม พวกเขาควรจะมที างเลือกและไดรบั โอกาสทีจ่ ะ ปฏิรปู การศึกษาในปจจบุ ัน ดวยมมุ มองท่ีวา ผูเรียนแตล ะคนมคี วามแตกตา งกนั และตางกม็ ี เปนนักวางแผนและผูม ีอาํ นาจตดั สนิ ใจ กจิ กรรมควรจะสรางขึน้ ที่ชว ยใหเดก็ ทีจ่ ะใชป ระโยชนจาก เอกลกั ษณของตน ดังนน้ั การจัดหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรยู อมตอ งมกี ารปรับเปลยี่ นให ความรใู นสถานการณใ หม เดก็ ควรจะเปน การสนับสนนุ ในการหาคาตอบสาํ หรับคาํ ถามของตัวเอง คํานงึ ถึงลักษณะดังกลาว โดยใชก ารวิเคราะห แนวคดิ การจัดการเรยี นรทู ีเ่ นนผเู รียนเปนสาํ คัญ การเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็วสรางความวติ กกงั วลและความไมม ั่นคงในหมคู รู ซึ่งถอื เปน ความทาทายทจ่ี ะเรยี นรูก ลยุทธใ หม ในฐานะทีเ่ ปน ผนู าการศกึ ษา ครูอาจารยต อง ปจจัยสาํ คญั ท่มี อี ิทธิพลอยางมากตอ วธิ กี ารศึกษา ไดแกแนวคดิ พนื้ ฐานในการจัดกจิ กรรม ยอมรับท่ีจะเรียนรูแ ละแกปญหาท่อี าจจะเกิดจากทฤษฎีใหมๆ ทเ่ี ขามาอยางมสี ติ ครตู องเปน การเรียนรทู ่ีเนน ผเู รียนเปน สาํ คัญ พอจะสรุปได ๔ ประการ คือ ตวั อยางของผูทีม่ ีการเรยี นรตู ลอดชวี ติ การศึกษาจะตอ งเรยี นรูวิธกี ารคดิ นอกกรอบและพฒั นา มากขน้ึ งานของครูไมไดเ ปนเพียงแคป รบั แตงสภาพทีเ่ ปนอยู ถาหากจะทาใหเ กดิ การเปล่ยี นแปลง 1. ความแตกตา งระหวา งบุคคล (Individual Different) ท่ยี ่งั ยืนในระบบโรงเรยี น เราควรจะแสวงหาความจรงิ จากหลายมิติ ในฐานะทเ่ี ปนมนษุ ยเรามี การจดั การศึกษาของไทยไดใหความสาํ คัญในเรอื่ งความแตกตา งระหวา งบุคคลเอาไว ความซบั ซอ นหลายแงม ุมชีวิตทไี่ มส ามารถจากัดอยูเพยี งรปู แบบเดียว มนษุ ยชอบความจริงแตก ็ อยางชดั เจนซงึ่ จะเห็นไดจากแผนการศกึ ษาของชาติ ใหม งุ จัดการศกึ ษาตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแตละคนเปน เกณฑ ตวั อยางทเ่ี ห็นไดชดั เจนไดแ ก การจัดระบบหองเรยี น โดยใชอ ายเุ ปนเกณฑบา ง ใชค วามสามารถเปนเกณฑบาง นวตั กรรมทีเ่ กิดขน้ึ เพื่อสนอง แนวความคิดพน้ื ฐานน้ี เชน การเรียนแบบไมแบง ชนั้ (Non-Graded School) แบบเรยี นสาํ เร็จรูป

(Programmed Text Book) เครอ่ื งสอน (Teaching Machine) การสอนเปนคณะ (Team สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 Teaching) การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) เครือ่ งคอมพิวเตอรชว ยสอน (Computer Assisted Instruction) 11 2. ความพรอม (Readiness) ซ่งึ บางครั้งจะรวมสื่อตา งๆ ไมวา เพลง หรอื วิดีโอในหลายรูปแบบได จดุ ท่ีแตกตางของบล็อก เดิมทีเดยี วเชอื่ กนั วา เดก็ จะเริ่มเรยี นไดก็ตอ งมคี วามพรอมซงึ่ เปน พัฒนาการตามธรรมชาติ กบั เว็บไซตโดยปกตคิ อื บลอ็ กจะเปด ใหผูเขา มาอา นขอ มูล สามารถแสดงความคิดเหน็ ตอทา ย แตใ นปจ จุบนั การวจิ ยั ทางดา นจติ วทิ ยาการเรยี นรู ชใี้ หเหน็ วา ความพรอ มในการเรียนเปนสิ่งท่ี ขอ ความท่เี จา ของบล็อกเปนคนเขยี น ซึ่งทาํ ใหผเู ขียนสามารถไดผ ลตอบกลบั โดยทนั ที สรา งข้ึนได ถาหากสามารถจัดบทเรียน ใหพ อเหมาะกบั ระดับความสามารถของเดก็ แตล ะคน คําวา \"บล็อก\" ยังใชเ ปน คํากริยาไดซงึ่ หมายถงึ การเขียนบล็อก และนอกจากน้ผี ทู ่ีเขยี น วชิ าที่เคยเชอื่ กนั วายาก และไมเ หมาะสมสาํ หรับเด็กเล็กก็สามารถนาํ มาใหศ กึ ษาได นวัตกรรม บลอ็ กเปน อาชีพก็จะถูกเรียกวา \"บลอ็ กเกอร\" ที่ตอบสนองแนวความคิดพ้นื ฐานน้ีไดแก ศนู ยการเรยี น การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน นวัตกรรม บลอ็ กเปนเวบ็ ไซตท ่ีมีเน้ือหาหลากหลายขึ้นอยกู ับเจาของบล็อก โดยสามารถใชเ ปนเครือ่ งมอื ทส่ี นองแนวความคิดพ้นื ฐานดานน้ี เชน ศูนยก ารเรยี น (Learning Center) การจดั โรงเรยี น ส่อื สาร การประกาศขา วสาร การแสดงความคดิ เห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดา นไมวา ในโรงเรียน (School within School) การปรับปรุงการสอนสามช้ัน (Instructional อาหาร การเมอื ง เทคโนโลยี หรอื ขาวปจจบุ นั นอกจากนบ้ี ล็อกท่ีถูกเขียนเฉพาะเร่อื งสวนตัว Development in 3 Phases) หรือจะเรียกวาไดอารีออนไลน ซึ่งไดอารีออนไลนนี่เองเปนจดุ เรมิ่ ตน ของการใชบ ล็อกในปจ จบุ นั 3. การใชเ วลาเพอื่ การศึกษา ตัวอยา ง OK Nation Blog http://www.oknation.net/blog/start_blog.php GotoKnow https://www.gotoknow.org/home แตเดิมมาการจัดเวลาเพอ่ื การสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศยั ความสะดวก Blognone https://www.blognone.com เปนเกณฑ เชน ถือหนวยเวลาเปนช่วั โมง เทากันทกุ วิชา ทุกวันนอกจากน้นั ก็ยงั จัดเวลาเรยี นเอาไว เสิรช เอ็นจน้ิ (search engine) หรือ โปรแกรมคนหา แนน อนเปนภาคเรยี น เปน ป ในปจ จุบันไดม คี วามคดิ ในการจดั เปนหนวยเวลาสอนใหส ัมพันธกับ คือ โปรแกรมที่ชว ยในการสืบคน หาขอมูล โดยเฉพาะขอมูลบนอนิ เทอรเ น็ต โดยครอบคลุม ลกั ษณะของแต ละวิชาซ่งึ จะใชเวลาไมเ ทากัน บางวิชาอาจใชช วงสน้ั ๆ แตสอนบอ ยครัง้ การเรยี น ทงั้ ขอความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟตแวร แผนท่ี ขอมลู บคุ คล กลุมขา ว และอ่ืน ๆ กไ็ มจ าํ กดั อยแู ตเฉพาะในโรงเรียนเทานนั้ นวัตกรรมทส่ี นองแนวความคดิ พ้นื ฐานดา นนี้ เชน การ ซึง่ แตกตางกันไปแลวแตโปรแกรมหรือผใู หบริการแตล ะราย. เสิรชเอ็นจิ้นสวนใหญจะคน หาขอ มูล จัดตารางสอนแบบยืดหยุน (Flexible Scheduling) มหาวทิ ยาลัยเปด (Open University) จากคําสาํ คญั (คยี เวริ ด) ทผี่ ูใชปอนเขา ไป จากน้ันกจ็ ะแสดงรายการผลลัพธที่มนั คิดวาผใู ชน า จะ แบบเรยี นสําเร็จรูป (Programmed Text Book) การเรียนทางไปรษณีย ตอ งการข้นึ มา ตัวอยา ง 4. ประสิทธภิ าพในการเรยี น Google https://www.google.co.th Bing http://www.bing.com การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลย่ี นแปลงของสังคม ทําใหมสี ่ิงตางๆ ทีค่ น Yahoo https://www.yahoo.com จะตองเรียนรูเพมิ่ ขน้ึ มาก แตก ารจดั ระบบการศกึ ษาในปจจุบนั ยงั ไมม ปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอ Ask http://www.ask.com จึงจาํ เปน ตอ ง แสวงหาวธิ ีการใหมท ม่ี ปี ระสิทธิภาพสูงขน้ึ ทั้งในดา นปจ จัยเก่ยี วกบั ตัวผูเรยี น หอ งเรียนออนไลน และปจ จัยภายนอก นวตั กรรมในดา นนี้ท่เี กดิ ขน้ึ เชน การเรยี นทางโทรทศั น การเรียนทาง Quipper School https://school.quipper.com/th/index.html ไปรษณยี  การเรียนการสอนทางไกล การเรยี นทางเวบ็ ไซต การเรียนผานเครอื ขาย แบบเรยี น สาํ เร็จรปู ควปิ เปอรสคูล คอื ฟรี -แพลตฟอรม ออนไลน สาหรับคุณครแู ละ นกั เรยี น ควิปเปอรส คูล นวตั กรรมการสอนแบบใหมๆ การอานและการเขียน Weblog ประกอบดวยสองสวนดวยกัน คอื สาํ หรับครผู ูสอน และสาํ หรับนักเรยี น เปน ที่ทค่ี รจู ัดการ หองเรยี นออนไลน และยังสามารถติดตาม ตรวจสอบผลการเรียนของนักเรียนได สามารถเลือก บล็อก (องั กฤษ: blog) เปน คาํ รวมมาจากคาวา เวบ็ ลอ็ ก (องั กฤษ: weblog) จากบทเรียนและแบบฝก หัดหลายพันหวั ขอครอบคลมุ หลกั สตู รหลกั เพ่อื สงเปน การบา น เปนรปู แบบเวบ็ ไซตประเภทหนึง่ ซึ่งถูกเขยี นขน้ึ ในลาํ ดับที่เรยี งตามเวลาในการเขียน ซง่ึ จะ ใหน กั เรียนท้งั ชนั้ หรือกลมุ ยอยในชั้นเรยี นได ครสู ามารถสามารถแกไขจากบทเรียนทีม่ อี ยู แสดงขอมูลท่ีเขยี นลาสุดไวแรกสุด บล็อกโดยปกตจิ ะประกอบดวย ขอ ความ ภาพ ลิงก หรอื สรา งเนือ้ หาและแบบทดสอบขึ้นมาใหมท้งั หมดดวยตวั เองได สามารถดูและดาวนโ หลด ผลวิเคราะหค ะแนนของนกั เรียน อตั ราการสง การบาน การบา นท่ที าํ เสร็จไปแลว จดุ แขง็

และจุดออนของนักเรยี น ครทู ํางานกับชั้นเรยี นของเขาหรือสามารถทางานรว มกันระหวา งครู สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 (สองคนหรือมากกวาน้นั )ในชน้ั เรียน หรือโรงเรยี นเดยี วกันได Classroom https://classroom.google.com/ 12 Classroom เปดใหบริการสาหรบั ทกุ คนท่ใี ช Google Apps for Education ซ่ึงเปน ชดุ เครอื่ งมอื 4) DLIT PLC (Professional Learning Community) เครอ่ื งมือในการสรา งและพฒั นาชุมชน เพม่ิ ประสิทธิภาพการทางานที่ใหบ ริการฟรี ประกอบดว ย Gmail, เอกสาร และไดรฟ Classroom แหง การเรียนรูท างวชิ าชพี ครู พรอ มพนื้ ทแ่ี หง การแบงปน และเรียนรหู รอื Share and Learn ไดรับการออกแบบมาเพอื่ ชว ยใหค รูสามารถสรางและเก็บงานไดโ ดยไมตอ งส้นิ เปลอื งกระดาษ 5) DLIT Assessment คลังขอ สอบ มคี ุณลักษณะทีช่ ว ยประหยดั เวลา เชน สามารถทาํ สาเนาของ Google เอกสารสาหรบั นกั เรยี น แตละคนไดโดยอตั โนมัติ โดยระบบจะสรา งโฟลเดอรของไดรฟสําหรบั แตละงานและนกั เรียน ศูนยก ลางความรูแหง ชาติ TKC http://www.tkc.go.th แตล ะคนเพอ่ื ชวยจัดระเบียบใหทุกคน นกั เรยี นสามารถตดิ ตามวามีอะไรครบกําหนดบาง ของกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เปน บรกิ ารเวบ็ ทา ทีร่ วบรวม ขอมลู ในหนางาน และเร่ิมทาํ งานไดดว ยการคลกิ เพยี งครง้ั เดียว ครูสามารถดูไดอ ยา งรวดเร็ววา ใครทาํ งานเสร็จหรือไมเสร็จบาง ตลอดจนสามารถแสดงความคดิ เห็นและใหคะแนนโดยตรงได ขา วสารความรูตา ง ๆ เพื่อใหบรกิ ารแกประชาชนท่วั ไปทีส่ นใจคน ควา หาความรูเพ่มิ เติมบนระบบ แบบเรียลไทมใน Classroom อินเทอรเ น็ต แหลง การเรียนรสู าหรบั ครู สานักงานราชบัณฑิตยสภา www.royin.go.th โทรทัศนค รู http://www.thaiteachers.tv โครงการโทรทศั นค รู โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา มบี รกิ ารออนไลน ไดแ ก พจนานกุ รม, ศพั ทบ ัญญัตวิ ิชาการ, อกั ขรานกุ รมภมู ศิ าสตรไทย, TEACHERS as LEARNERS http://www.teachersaslearners.com คลังความร,ู สื่อสง่ิ พมิ พ, E-Book, กระดานสนทนา ฯลฯ Education World http://www.educationworld.com/ โครงการการพฒั นาชุมชนครูผูเรียนรู บนฐานนวตั กรรมสรา งสรรคทางการศกึ ษา นวตั กรรม เวบ็ ไซตใ หความรูขาวสารวงการศกึ ษา สรา งสรรคท างการศกึ ษาในรปู ของสอื่ ดจิ ติ อล (Digital Media) เพอ่ื สงเสรมิ ใหเ กิดชมุ ชนครู วิชาการดอทคอม http://www.vcharkarn.com ผูเรยี นรู และการพัฒนาการศึกษาไทย ประกอบดว ยรายการสากล พรอมคําอธิบายในการ ประยุกต และรายการไทย ซึ่งทุกรายการมีองคความรทู างการศกึ ษาและการปฏิบัตกิ ารสอนที่ดี เปน เว็บไซตทมี่ จี ดุ มุงหมายสง เสริมความรู และกระตนุ ความสนใจ โดยเปนสอ่ื กลางความรู คลงั สมองของครูไทย http://www.thinkttt.com ท่ีนาสนใจ และเปน สอื่ กลางในการกระจายความรู ผา นไปยังภมู ิภาคตา งๆ ทวั่ ประเทศอยา งท่ัวถงึ หวังกระตุนในนกั เรียน นกั ศกึ ษา อาจารยและผทู ส่ี นใจ เกิดการเรียนรดู ว ยตนเอง ประกอบดวย โครงการยกระดับบคุ ลากรครูและนกั เรยี นดา นการนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศสูก ารปฏริ ูป บทความ, ขาว, ทุนการศึกษา, โครงงาน, มมุ คร,ู ขอ สอบ, บทเรียนออนไลน, นวนยิ าย, BLOG กระบวนการเรยี นการสอน โดยสาํ นกั เทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการสอน สาํ นกั งานคณะกรรมการ สมาชิก, Webboard, คา ย, ประชาสมั พันธ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สหวิชาดอทคอม http://www.sahavicha.com DLIT http://www.dlit.ac.th/index.php เปน แหลงรวมเน้ือหาความรตู าง ๆ บอกเลา ประสบการณเ ก่ียวกับเนอ้ื หา และการจัดกจิ กรรมการ เรยี นการสอนจากครทู ั่วประเทศ โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดวยเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยสํานักงานคณะกรรมการ ทรูปลูกปญญา http://www.trueplookpanya.com การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ประกอบดว ย เปนเว็บไซตคลังความรูคูคุณธรรมที่ประกอบดวยสาระความรู ทุกวิชาทุกระดบั ช้ัน นําเสนอ 1) DLIT Classroom หองเรียน DLIT การถายทอดการจดั การเรียนรูห ัวขอเร่ืองทย่ี าก อยา งสรางสรรคใ นรูปแบบมัลตมิ เี ดีย สนุกกบั การเรียนรดู ว ยตวั เอง ท้งั ยงั เปดโอกาสใหทกุ คน สรา งคอนเทนต แลกเปลีย่ นความรู แบงปน ประสบการณรวมกนั ประกอบดวย คลงั ความรู , จากครตู น แบบของโรงเรยี นชัน้ นําไปยงั หองเรยี นปลายทาง คลงั ขอ สอบ, มุมคณุ ครู (ไดแ ก ครตู นแบบ, ขาวแวดวงคุณคร,ู บทความทางวชิ าการ/มาตรฐาน 2) DLIT Resources คลังส่อื ประกอบการจัดการเรียนการสอนทตี่ รงกับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษา, เทคนคิ การสอน, แผนการสอน, ผลงานทางวชิ าการและงานวิจัย, กฎหมายคร,ู เว็บบอรด มุมคณุ คร)ู , ความรูคูคุณธรรม (รวบรวมแหลงความรูท างพุทธศาสนา ประกอบดว ยสือ่ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ธรรมะทงั้ ท่เี ปน วดี โี อคลปิ , บทความธรรมะ, เสยี งธรรมเทศนา, นทิ านธรรมะ และการปลูกฝง 3) DLIT Digital Library หอ งสมุดดิจิทัล คณุ ธรรมความดแี กเ ยาวชนบุคคลทั่วไป), แนะแนว (ขอมลู ดานการศกึ ษาตอ ), You Tube แปลไทย ฯลฯ

ถามครู http://taamkru.com สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 เปน ส่อื กลางในการใหค วามรู ขา วสาร ขอมลู อนั เปน ประโยชนแกพอแมผปู กครอง 13 ตลอดจนผเู กีย่ วของในการพฒั นาเด็ก มีผูเขยี นบทความซึ่งเปน ครู อาจารยจากมหาวิทยาลัยซ่งึ มี ความเชีย่ วชาญดา นการศึกษาและการพฒั นาเด็กทีใ่ หข อ มลู ซึ่งอางองิ ได และเปนกลาง มเี วบ็ TED-Ed http://ed.ted.com บอรดพรอมทจ่ี ะตอบคาถามหรอื ขอ สงสยั ท่เี กย่ี วขอ งกับการเรียนการสอนในโรงเรยี น ทั้งระดบั Krutube http://krutube.thinkttt.com/index.php เดก็ เล็ก อนุบาล และประถมตน ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง มแี บบฝก หดั และการทดสอบออนไลน เพอื่ วัด ทวิก (Twig) https://www.twig-aksorn.com ความพรอมของเด็กในแตละดา น โดยเก็บผลคะแนนของเด็กจากการทาแบบฝก หัดดังกลาวไวเปน เวบ็ ไซตใ หบ ริการสรา งสือ่ การศกึ ษา สถติ เิ ฉพาะของเดก็ แตละคน และยงั สามารถคนหาโรงเรยี นทต่ี ้ังอยูใกลบ า น หรือใกลทีท่ างานได Prezi https://prezi.com สราง presentation TK park www.tkpark.or.th Barry Fun English http://www.barryfunenglish.com สรางใบกิจกรรม สานกั งานอทุ ยานการเรียนรู หรอื Thailand Knowledge Park (TK park) เปน หนว ยงานหนึ่งที่ Twinkl http://www.twinkl.co.uk สรา งใบกจิ กรรม กอ ตง้ั ขึน้ ภายใตก ารกากบั ดูแลของ \"สานักงานบริหารและพัฒนาองคค วามร\"ู (องคการมหาชน) ใน Have Fun Teaching http://www.havefunteaching.com สรางใบกจิ กรรม สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี โดยมภี ารกิจหลกั ดานการรณรงคส งเสริมใหเ ยาวชน และประชาชนมี Puzzle Maker http://www.discoveryeducation.com/free-puzzlemaker อปุ นิสยั รักการอาน และการเรยี นรู เพอ่ื สรางสรรคส ังคมไทยใหเปน สงั คมแหงการเรียนรใู นที่สดุ Popplet http://popplet.com สราง mind map ประกอบดว ย นานาสาระ, กิจกรรม, หอ งสมดุ , ส่อื วดี ิทศั น, เอกสารวชิ าการ, E-book Audio Spider scribe http://www.spiderscribe.net สรา ง mind map book และ Application Time Toast http://www.timetoast.com สรา ง timeline เด็กดีดอทคอม www.dek-d.com Timeline http://www.readwritethink.org/files/resources/interactives/timeline_2 เว็บสาหรบั วัยรนุ โดยเฉพาะ ติดอันดบั ๑ เวบ็ ไทยยอดนิยมสาหรบั วยั รุน และมขี นาดใหญเ ปน Rubistar http://rubistar.4teachers.org สรางตาราง Rubrics อนั ดับ ๔ ในกลุมเว็บไทยทรี่ วมทกุ กลมุ เปา หมาย Face your manga http://www.faceyourmanga.com สรา งตัวการต ูน UTQ http://www.utqplus.com เว็บไซตใหบริการการจัดการเรยี นการสอน โครงการยกระดับคณุ ภาพครูท้ังระบบ ดวยระบบ e-Training (การอบรมออนไลน) โดยคณะ Stormboard https://stormboard.com ประชุมออนไลน ครศุ าสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั kahoot https://kahoot.it ถามตอบออนไลน แหลง เรียนรทู างดานส่อื และนวตั กรรม Ping Pong http://gogopp.com โปรแกรมถามตอบ NECTEC http://www.nectec.or.th โปรแกรมประยกุ ต ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสแ ละคอมพิวเตอรแ หง ชาติ (National Electronics and ราชบัณฑติ ยฯ โมไบล : แอปพลเิ คชนั พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ Computer Technology Center : NECTEC หรอื เนคเทค) ตัวอยา ง ซอฟตแวรส ังเคราะห ราชบณั ฑิตยฯ โมไบล : แอปพลเิ คชันอานอยา งไรและเขียนอยางไร ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน เสยี งพูดภาษาไทยวาจา (VAJA), LEXiTRON พจนานกุ รมส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกสไทย, PARTY: พาที Kint studio : สุภาษติ , คาไวพจน, คาคมขงเบง, คาทบั ศพั ท, สานวนไทย, อักษรยอ ฯลฯ ระบบรจู าเสยี งพดู ภาษาไทย อนื่ ๆ : Undecided, สแกนเนิรด , DoctorMe, EmojiNation, 4 Pics 1 word, ปรศิ นาฟา แลบ, แหลงใหบรกิ ารเผยแพรคลปิ วีดทิ ศั น iKnowledge, รูรอบตอบได, ELN, นิทานอีสป, แชรคาคม, , ทายคาไทย, ใบค า, Kinraidee, Youtube https://www.youtube.com Foursquare, Localscope, TrueBook, Taamkru, AIS U Academy, Video dl pro, Line Tools, Thai Pray

1 2.6 การวัดและประเมินผล สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 การวดั ผลทางการศึกษา เปนกระบวนการวัดการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผเู รยี น 14 นยิ มวดั ผลการเรยี นรเู ปน 3 ดานคอื พุทธพิ ิสยั (cognitive domain) จติ พิสยั (affective . ลักษณะสาํ คัญของเคร่อื งมือวดั ผลทางการศกึ ษา domain) และทกั ษะพสิ ยั (psychomotordomain) ซึ่งการวัดลักษณะของการวัดดงั กลาว มปี ระเดน็ ทนี่ า สนใจดังน้ี แบบทดสอบแบบวดั หรอื เคร่อื งมอื สําหรับในการวดั และประเมนิ ผลทางการศกึ ษาทค่ีดวีรมี 1) เปน การวดั ทางออม การวดั สตปิ ญญาซึ่งเปนคุณลักษณะทแี่ ฝงอยใู นตวั บุคคล มักแสดงออก 1) ความเทย่ี งตรงสงู นั่นคือ สามารถวดั ไดตรงตามวัตถุประสงค หรือส่งิ ท่ตี อ งการวดั ทางดา นพฤติกรรมท่ตี อบสนองตอ สงิ่ เรา หรือเหตุการณ ดังน้นั การวดั ผล จึงเปน การวัดทางออม 2) มคี วามเชอ่ื ม่นั ดี หมายถึง ผลทีว่ ัดคงทแ่ี นน อนไมเ ปล่ยี นไปมา วดั ซํา้ ก่คี รัง้ กับ โดยการสังเกตพฤตกิ รรมทต่ี อบสนองตอ สง่ิ เรา เหตกุ ารณ สภาวการณท ่ีผูประเมนิ กําหนด กลมุ ตัวอยา งเดมิ ไดผลเทา เดมิ หรือใกลเ คยี งกนั สอดคลอ งกัน (หรอื สรา งขึ้นเพอ่ื ใชสาํ หรบั การประเมนิ หรอื สถานการณส มมต)ิ 3) มีความยากงายพอเหมาะ คือไมยากหรอื งา ยเกนิ ไป 2) ลักษณะการวัดมักไมส มบูรณ เนื่องจากลกั ษณะการวัดสว นใหญจะเปนการใชขอสอบ 4) มอี ํานาจจาํ แนกได สามารถแบงแยกผสู อบออกตามระดับความสามารถเกงและออ น เปน เครื่องมือ หรอื สถาณการณส มมติ ซึ่งการสรา งขอสอบแตล ะชดุ ก็เปนการสมุ ตวั อยา ง ได โดยคนเกง จะตอบขอสอบไดถูกมากกวา คนออน จากเนอ้ื หา (ไมสามารถนําเนอื้ หามาสอบไดทัง้ หมด) ถงึ แมจ ะใชขอ สอบชดุ เดยี วกันผถู กู วัด 5) มีประสทิ ธภิ าพ หมายถงึ ทําใหไ ดขอ มูลทถ่ี กู ตอ งเชือ่ ถอื ไดลงทุนนอ ย คนเดมิ แตวัดคนละเหตกุ ารณ ก็จะไดผลไมตรงกนั เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องบคุ คลจะเกดิ 6) มคี วามยตุ ธิ รรม ไมเปดโอกาสใหไ ดเ ปรยี บเสยี บเปรียบ การเรียนรแู ละพัฒนาตลอดเวลา การวัดผลครั้งท่ีสองยอมไดผ ลท่ีดีกวา ครั้งแรกเสมอ 7) มีความจาํ เพาะเจาะจง 3) ผลการวัดมกั เปน คา คะแนนสัมพทั ธ ที่เปรียบเทยี บกบั ผสู อบอื่นๆในกลมุ เดียวกัน 8) ใชค าํ ถามท่ีลกึ หรอื เปรียบเทยี บระหวางการสอนในแตล ะครง้ั และมีความคลาดเคลื่อนเสมอ ถึงแม 9) คาํ ถามยวั่ ยุ จะใชเ คร่อื งมือวดั ท่ีมีมาตรฐานก็ตาม ลกั ษณะการประเมินผลทางการศกึ ษาที่นยิ มใช มี 2 ลักษณะ คือ 1. ความเท่ยี งตรง (validity) ในการสรางแบบทดสอบหรอื เครอื่ งมอื วจิ ยั สาํ หรับเก็บขอ มลู มักจะกลา วถงึ ความเท่ียงตรง ซงึ่ มักจะมคี วามหมายและรายละเอยี ดดงั น้ี 1) ประเมินผลเพอ่ื การพัฒนา (formativeevaluation) เปนการประเมินผลระหวาง 1.1 ความเท่ียงตรงตามเนอ้ื หา (content validity) หมายถงึ การวัดน้ันสามารถวดั ได การจัดการเรียนการสอน นิยมใชเพ่ือตรวจสอบการเรยี นรแู ละความกา วหนา ของผเู รยี น หรอื ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน มกั ใชแบบทดสอบ การสงั เกต การซักถาม หรอื ครอบคลมุ เนือ้ หาและวดั ไดค รบถวนตามจุดประสงคข องการวดั ในทางปฏิบัตมิ กั จะตอ งทาํ ตาราง เคร่อื งมือวัดอ่นื ๆ ที่เหมาะสม ระยะเวลามกั ทาํ เมอ่ื สิน้ สดุ การเรียนการสอนเร่อื งหนึ่ง ๆ จําแนกเนือ้ หา จุดประสงค ตามที่ตองการกอ นจะทาํ การออกขอสอบหรอื แบบวดั 2) การประเมนิ ผลสรุป (summativeevaluation) เปนการประเมินผลเม่ือส้นิ สุด 1.2 ความเทยี่ งตรงเชงิ สมั พนั ธ (criterion-related validity) แบงการออกเปน 2 ลกั ษณะ คอื การเรยี นการสอนแลว มวี ตั ถปุ ระสงคเพอื่ ประเมินผลสมั ฤทธ์กิ ารเรยี นรขู องผเู รยี นมักทาํ 1) ความเทย่ี งตรงเชิงพยากรณ (predictive validity) คือ คาคะแนนจากแบบสอบ ปลายภาคการศึกษา และตดั สนิ ผลการเรียน โดยมเี กณฑต ดั สนิ ท่ชี ัดเจน เชน การตัดสิน แบบองิ กลมุ (เกรด A, B, C, D, F) การตดั สนิ แบบอิงเกณฑ (60 เปอรเซ็นต สอบผา น) เปนตน สามารถทํานายถึงผลการเรียนในวิชานน้ั ๆ ไดอ ยางเทย่ี งตรง โดยท่วั ไปของการวัดสง่ิ ใดกต็ าม มักจะตอ งกาํ หนดเปา หมายหรือสิง่ ทจี่ ะวัดใหชดั เจนวาจะ 2) ความเท่ยี งตรงตามสภาพ (concurrent validity) หมายถงึ คาคะแนนทไ่ี ดจ ากแบบ ประเมนิ อะไรและประเมินอยางไร จากน้ันจงึ เลือกใชเ ครื่องมือและเทคนิคทสี่ อดคลองกับสง่ิ ทจี่ ะประเมนิ หากไมม ีเคร่อื งมอื ทีเ่ ปน มาตรฐาน มักนยิ มสรางขน้ึ เองอยางมหี ลกั การ และข้นั ตอน สอบสะทอ นผลตรงตามสภาพเปนจรงิ กลาวคือ เด็กเกงจะไดค ะแนนสอบสูง สวนเดก็ ออนจะได สุดทา ยคือการนําวธิ กี ารและเคร่ืองมอื ไปประเมินอยา งไมม อี คติและยุติธรรม ผูว ดั ควรตระหนกั คะแนนคา จรงิ วา การวดั ผลจะมคี วามคาดเคลอื่ นหรือขอ ผดิ พลาดเสมอ 1.3 ความเที่ยงตรงตามโครงสราง (construct validity) หมายถึงคะแนนจากแบบวดั มี ความสอดคลอ งกับลกั ษณะและพฤตริ รมจรงิ ของเดก็ เชน สอดคลองกับความรู ความมีเหตุผล ความเปนผนู าํ เชาวป ญ ญา เปนตน 2.ความเชอ่ื ม่นั (reliability) แบบทดสอบทีด่ ตี องมีความเชื่อม่ันไดวา ผลจากการวดั คงท่ีแนนอน ไมเ ปล่ียนไปมา การวดั ครง้ั แรกเปน อยา งไร เมื่อวัดซํา้ อีกโดยใชแบบทดสอบชุดเดิมผถู กู ทดสอบกลมุ เดิม จะวัด กี่คร้งั กต็ ามผลการวัดควรจะเหมอื นเดมิ หรือใกลเคียงเดมิ สอดคลอ งกัน แบบทดสอบท่เี ชอ่ื มั่นได

จะสามารถใหคะแนนที่คงท่แี นน อน ปกตกิ ารสอบแตล ะคร้งั คะแนนที่ไดม ักไมค งที่ สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 แตถ า อนั ดับของผทู ีท่ าํ ขอ สอบยังคงที่เหมือนเดิมก็ยงั ถอื วา แบบทดสอบนั้นมีความเช่อื มั่นสูง ความเช่ือมั่นของแบบทดสอบ หมายถึงความคงที่ของคะแนนที่จากการสอบของคน 15 กลมุ เดิมหลายๆคร้งั การหาคาความเชือ่ มนั่ ไดจงึ ยึดหลักการสอบหลายๆ ครง้ั แลว หา 2.3 วิธแี บงครง่ึ ขอ สอบ (split-half) ความสมั พันธข องคะแนนทไี่ ดจากการสอบหลายๆ ครัง้ นน้ั ถา คะแนนของผสู อบ เปนการสรางขอสอบชดุ เดยี วใชผ ูสอบชดุ เดยี วกนั (แตแ บงคร่ึงขอสอบ และไดคาคะแนน แตละคนคงทห่ี รือขน้ึ ลงตามกนั แสดงวาแบบทดสอบนั้นมคี า ความเชื่อม่ันสงู 2 ชุด) เปน การแกปญ หาความยากในการสรางแบบทดสอบแบบคขู นาน แตไดผ ลเชน เดยี วกบั (reliability) คาความเช่ือมั่นคํานวณไดจากการหาคา สมั ประสิทธส์ิ หสัมพันธ การสอบซา้ํ หรอื การใชขอสอบแบบคขู นาน วธิ ีการอาจแบง ตรวจขอ สอบครงั้ ละคร่ึงฉบบั ระหวางคะแนนทง้ั 2 ชุด จากการสอบผสู อบกลมุ เดิม 2 ครงั้ โดยใชแ บบทดสอบ (แบงขอ คีก่ ับขอคู หรอื คร่ึงแรกและคร่ึงหลงั ) นิยมใชขอคแู ละคีม่ ากกวา เนอื่ งจากการเรียงลําดับ เดยี วกันความเชื่อม่นั มีคา อยูระหวา ง 0 ถงึ 1.00 วธิ ีการหาคาความเช่อื ม่นั ขอสอบนยิ มเรยี งตามเนอ้ื หาเปนตอนๆจากงายไปยาก ดงั น้นั การแบงคร่งึ ลกั ษณะนจี้ งึ มลี ักษณะ ของแบบทดสอบสามารถทําไดห ลายวธิ ีดงั ตอ ไปนี้ คลายคลงึ พออนโุ ลมใหเ ปนแบบทดสอบคขู นานได เมอ่ื ตรวจและไดคะแนน 2 ชดุ แลว นาํ คะแนน ทั้งสองมาหาคา ความสมั พันธกนั เปน คา ความเช่อื มนั่ ของแบบทดสอบครึง่ ฉบบั เรยี กวา 2.1 การสอบซํา้ (test and retest) “internal consistency”จากนน้ั จึงนํามาคํานวณคา ความเช่อื ม่ันทั้งฉบบั อกี ครง้ั หน่งึ ซงึ่ คา เปนการนาํ แบบทดสอบชุดเดียวกันไปสอบผเู รยี น กลมุ เดียวกนั 2 ครง้ั ในเวลาหา งกัน ความเชอ่ื ม่นั ขอ สอบเต็มฉบับนนั้ จะสูงกวา ครง่ึ ฉบบั เน่อื งจาก คาความเชือ่ ม่นั ขึ้นกบั ความยาว หรอื จาํ นวนขอของคาํ ถาม ขอ สอบท่ีมีขอ คาํ ถามมากจะมรี ะดับความเช่อื มั่นสงู กวา แบบสอบ พอสมควร (ปองกนั การจําขอ สอบได) แลว นาํ คา คะแนนทง้ั 2 ชดุ น้ัน มาหาคาความสมั พันธ ทมี่ จี าํ นวนขอ สอบนอ ย ทีไ่ ด คือคา ความเชอ่ื มนั่ ของแบบทดสอบวิธีการนเ้ี รียกวา “measure of stability” 2.4 วิธี Kuder-Richardson (KR) การหาความเชอื่ มั่นลกั ษณะนม้ี ีขอ จาํ กดั บางประการ กลา วคือ 1) ผทู ําแบบทดสอบ เปนการหาคาความคงทภ่ี ายในของแบบทดสอบ เรยี กวา ความเชอ่ื มน่ั ภายใน (internal อาจเกิดความเบอ่ื หนาย เพราะธรรมชาตขิ องบคุ คลไมช อบความซา้ํ ซากจําเจ 2) เสยี เวลา consistency) สูตรทน่ี ิยมใชค ือสตู รคาํ นวณ KR-20 และ KR-21 รายละเอยี ดการคํานวณไมข อ ในการสอบมาก 3) ผูส อบเกิดการเรยี นรจู ากการสอบครง้ั แรก ทําใหสอบครง้ั หลังทําได กลาวในทีน่ ี้ คลอ งขนึ้ เกดิ ความคลาดเคล่ือนจากความเปนจริง ดังนนั้ การหาคา ความเชอ่ื มนั่ ของ 3. ความเปน ปรนัย (objectivity) ขอ สอบนจี้ ึงไมเ ปน ทีน่ ิยม ความเปน ปรนัยหมายถึง ความชดั เจน ความถกู ตอง ความเขาใจตรงกัน โดยยึดถอื 2.2 ใชแบบทดสอบคูขนาน (parallel test หรือ equivalence tests) ความถกู ตองทางวชิ าการเปน เกณฑ การสรา งแบบทดสอบใดๆ จาํ เปนตอ งมีความชัดเจนเขาใจ แบบทดสอบคูข นานหมายถึง แบบทดสอบ 2 ชุด ท่ีมีลกั ษณะและคณุ ภาพใกลเ คยี งกนั มาก ตรงกนั ระหวางผอู อกขอ สอบและผทู าํ ขอ สอบ คณุ สมบตั ิความเปน ปรนยั ของแบบทดสอบ พจิ ารณาไดเ ปน 3 ประการ คือ 1) ผูอานขอสอบทุกคนเขาใจตรงกนั 2) ผตู รวจทุกคนใหคะแนน ท่ีสุด ทงั้ ดา นเน้ือหา ความยากงาย อาํ นาจจําแนก ลักษณะคาํ ถาม และจาํ นวนขอ คาํ ถาม จนอาจ ไดต รงกัน 3) แปลความหมายของคะแนนไดต รงกนั กลาวไดว า เปนแบบทดสอบฉบับเดียวกนั สามารถใชแทนกนั ได การใชแบบทดสอบคูข นานนี้ 4. ความยากงาย (difficulty) เปน การแกป ญ หาขอจาํ กัดตา งๆ ของการหาคา ความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบโดยการสอบซ้าํ วิธกี ารหาความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบทําไดโ ดย นําแบบทดสอบคขู นานไปทดสอบนกั เรียน แบบทดสอบทดี่ ตี องมคี วามยากงา ยพอเหมาะ คือไมยากเกินไปหรือไมงา ยเกนิ ไป กลมุ เดยี วกันทัง้ 2 ฉบบั ในเวลาเดยี วกนั แลวนาํ คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบทง้ั 2 ชุดน้ี ในแบบทดสอบชดุ หนงึ่ ๆอาจมีท้งั ขอ สอบท่คี อนขา งยาก ปานกลาง และคอนขา งงา ยปะปนกันไป มาหาความสัมพันธก ัน กจ็ ะไดคา ความเชอื่ มั่นดังกลาว วธิ กี ารน้เี รียกวา “measure of ความยากงา ยของแบบทดสอบพจิ ารณาได จากผลการสอบของขอ สอบทง้ั ฉบับเปนสําคัญ equivalence test” ขอจํากดั ของการทดสอบน้คี อื การสรา งแบบทดสอบท่มี ีลักษณะที่ใกลเ คยี ง ความยากงา ยพิจารณาไดจ าก 1) ความยากงา ยของแบบทดสอบทั้งฉบับ และ 2) ความยากงาย กนั ทง้ั เนือ้ หา ความยากงา ย และอาํ นาจการจําแนก ฯลฯ ทําไดยาก ตองใชประสบการณสงู ขอ คําถามรายขอ

4.1 ความยากงา ยของแบบสอบทงั้ ฉบับ พิจารณาจาก 1) คะแนนรวมของแบบทดสอบท้งั ฉบับ สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 หากคะแนนเฉลี่ยสงู กวาคร่ึงหนึ่งของคะแนนเตม็ แสดงวา งาย ถาต่าํ กวา ครึ่งของคะแนนเตม็ ถือวา ยากหรอื คอ นขา งยาก ทัง้ น้ีพจิ ารณารวมกับจดุ ประสงคแ ละเกณฑข องการสอบดวย 16 2) พจิ ารณาจากความยากงา ยของขอคําถามรายขอ โดยนาํ ความยากงายรายขอมาคํานวณหา 5.2 คา อาํ นาจจําแนกของแบบทดสอบรายขอ ซ่ึงพิจารณาจากหลักทวี่ าคนเกง ยอมตอบถูกมาก คาเฉล่ยี (คา เฉล่ยี ความยากรายขอรวมทง้ั ฉบบั ) ซึ่งมคี า อยูร ะหวา ง 0-1.00 หาก กวาคนออ นดังนัน้ หากขอ ใดทมี่ คี นออ นตอบถกู มากกวาเรยี กวา “จาํ แนกกลบั ” สว นขอ ใดหากคน คาเฉลี่ยความยากงายรายขอ ท้งั ฉบับสงู กวา 0.50 ถือวา ขอสอบนน้ั งา ยหรอื คอนขางงา ย หากมี เกงและคนออนตอบถกู พอๆกันเรยี กวา “จาํ แนกไมไ ด” ดงั นนั้ หากขอสอบใด คาอาํ นาจจําแนก คา ต่ํากวา 0.50 ถือวา แบบทดสอบนน้ั คอ นขา งยาก (r) มีคา บวกแสดงวา จาํ แนกได มคี าลบแสดงวา จําแนกคนกลบั และเปน ศูนยห รือใกลศ นู ยแสดง 4.2 ความยากงา ยรายขอ พิจารณาจากจาํ นวนผตู อบถูกในขอสอบแตละขอ ถาขอ ใดผตู อบถกู วาขอคาํ ถามนน้ั ไมม ีอํานาจจําแนกคนเกง และคนออนตอบผดิ ถูกพอๆกันควรมีการปรบั ปรงุ มากกวค รง่ึ หนึง่ ของผูสอบท้ังหมดถอื วา ขอสอบงา ย ในทํานองเดยี วกนั ขา มหากตอบถูกนอ ยกวา กอนนาํ ไปใช ครึง่ หน่งึ ของผูส อบถือวา ยากหรอื คอ นขางยาก ดงั นน้ั คาความยากงา ยของขอสอบ หมายถึง 6.ความมปี ระสิทธภิ าพ (efficiency) สดั สวนของผทู ่ีตอบขอ คาํ ถามถูกนนั่ เอง ซ่งึ นยิ มแทนดว ย “p” มีคาต้งั แต 0-1.00 ถาคา p สูง เครือ่ งมือวดั ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ หมายถึงเคร่อื งมอื ท่ีทาํ ใหไ ดข อ มูลท่ถี ูกตอ ง เชือ่ ถอื ไดป ระโยชนส ูง แสดงวาคาํ ถามขอน้ันมผี ตู อบถูกมาก แสดงวา ขอสอบนั้นงา ย ถาคา p คา แสดงวา คําถามขอ นน้ั ประหยดั สดุ โดยลงทุนนอ ยท่สี ุด ไมวา จะเปนดานเวลา แรงงาน ความสะดวกสบาย แบบทดสอบ มีผตู อบถกู นอ ย แสดงวาขอสอบยาก แบบทดสอบทีด่ ี ควรมคี า ความยากงา ยพอเหมาะ คา p ทดี่ ี ควรพิมพผิดพลาดตกหลน นอ ย รูปแบบดงู า ย เปนระเบยี บเรียบรอยอา นงาย อยรู ะหวาง 0.20-0.80 อยางไรก็ตามการพิจารณาความยากงายของขอ สอบ อาจแตกตางกัน 7.ความยุติธรรม (fair) ตามจุดประสงคของการสอบ เชน แบบทดสอบสาํ หรับประเมินผลการเรียนการสอนทวั่ ไป แบบทดสอบท่ดี ตี อ งไมเปด โอกาสใหผสู อบไดเปรยี บเสยี เปรียบกัน เชน แบบทดสอบบางฉบับ อาจใชแบบสอบที่มีคาความยากงาย 0.20-0.80 แตแ บบทดสอบเพ่อื คัดเลอื กเรยี นตออาจใชแ บบ ผสู อนออกขอ สอบเนน เรือ่ งใดเร่อื งหนึ่งทผ่ี เู รียนบางคนไดเ คยคนควา ทาํ รายงานมากอ น เปน ตน สอบทม่ี ีคา ความยากงาย 0.15-0.75 สวนแบบสอบสาํ หรบั การประเมินแบบองิ เกณฑอาจใช ดงั นัน้ ผอู อกขอ สอบควรคาํ นึงถงึ ขอไดเปรยี บเสยี บเปรยี บของผทู ําแบบทสอบดว ย แบบทดสอบที่งา ยอกี เนอ่ื งจากการประเมินผลแบบองิ เกณฑมักใชเกณฑในการประเมนิ 8.คาํ ถามลกึ (searching) 80-90 เปอรเ ซน็ ต แบบทดสอบทีส่ อบถามเฉพาะความรคู วามเขาใจ ผอู อกขอ สอบไมค วรถามลึกจนกระทั่งตองใช 5.อํานาจจําแนก (discrimination) ความรรู ะดับวเิ คราะห สังเคราะห แกป ญหา ดังน้ัน ความลึกซง้ึ ของคาํ ถามควรสอดคลอ งกับ แบบทดสอบท่ดี ีตองสามารถจาํ แนกผสู อบทีม่ ีความสามารถเกง ออ นตา งกันออกได โดยคนเกง ลกั ษณะและจดุ ประสงคข องการวดั จะตอบขอสอบถูกมากกวา คนออ น โดยพิจารณาจาก 9. คาํ ถามย่ัวยุ (exasperation) 5.1) คาอํานาจจําแนกแบบทดสอบท้ังฉบบั กลา วคือ 1) หากคะแนนรวมของผทู าํ ขอสอบทงั้ กลมุ คําถามย่ัวยมุ ลี กั ษณะเปนคําถามทที่ ายทายใหผสู อบอยากคิดอยากทาํ มลี ีลาการถามที่นาสนใจ มกี ารกระจายตัวตงั้ แตศ ูนยถงึ เกือบเต็ม แสดงวา แบบทดสอบนั้นจําแนกได แตถา คะแนนรวมมี ไมถ ามวกวนซํ้าซากนา เบือ่ อาจใชรูปประกอบคาํ ถาม การเรยี งขอ คําถามในขอสอบ ควรเรียง การเกาะกลมุ กนั หรือมกี ารกระจายตัวของคะแนนนอย แสดงวาแบบทดสอบน้นั มอี ํานาจการ หลายแบบคละกัน อาจเรียงลําดบั เนอ้ื หา เรยี งลําดบั ความยากงา ย สลบั กนั เปนตน จําแนกคา หรือจาํ แนกไมไดนน่ั เอง 2) คา เฉลยี่ ของคา อํานาจจาํ แนกรายขอ ของแบบทดสอบทัง้ 10 ความจาํ เพาะเจาะจง (definite) ฉบับ โดยทว่ั ไปคา อํานาจจาํ แนกรายขอ (r) ของแบบทดสอบมีคาระหวาง-1.00-+1.00 หากคา ลักษณะคําถามท่ีดไี มค วรถามกวา งเกินไป ไมถ ามคลุมเครอื หรอื เลน สํานวนจนผสู อบงง ผอู า น เฉลี่ยของคา อาํ นาจจําแนกรายขอ เทา กบั หรอื มากกวา 0.20 แสดงวาแบบทดสอบฉบับนนั้ อา นแลวตอ งมคี วามชัดเจนวา ครถู ามอะไร สว นจะตอบถูกหรอื ไมเปนอีกเรอ่ื ง ขึน้ กับความรู จําแนกได ความสามารถของผตู อบ 4.เครื่องมอื ทใี่ ชวัดและประเมนิ ผลดา นการศกึ ษา ในการวัดและประเมนิ ผลดานการศกึ ษานนั้ จะใชเครื่องมอื ใดยอมข้ึนอยกู บั ลักษณะจุดประสงค การศึกษาและแนวทางการจัดประสบการณก ารเรยี นรู เคร่อื งมือท่ีใชวดั และประเมินผลการเรยี นรู มลี ายลกั ษณะ แตละชนิดมที ้งั ขอดีและขอจํากดั พอสรปุ ไดดังตอ ไปนี้

4.1.แบบทดสอบ สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 แบบทดสอบคือชดุ ของคําถามหรอื ส่งิ เราทีนําไปใชใ หผสู อบตอบสนองออกมา ชดุ ของสง่ิ เรา น้ี มกั อยใู นรูปของขอ คาํ ถาม ซึง่ อาจใหเขยี นตอบ แสดงพฤตกิ รรม ใหพ ูดออกทางวาจาก็ได ทําให 17 สามารถวดั ได สังเกตได และนําไปสกู ารแปลความหมายได แบบทดสอบนส้ี ามารถใชไ ดกับ การวัดพฤตกิ รรมดานพทุ ธิพสิ ยั จติ พิสัย และทักษะพสิ ัย แตสว นใหญน ยิ มวดั ทางดา นพทุ ธพิ ิสยั แบบสอบถามเปนชุดของคําถามทเี่ ก่ยี วกับเรือ่ งใดเรอื่ งหนง่ึ สรา งขนึ้ เพื่อตรวจสอบ ขอ เทจ็ จริง แบบทดสอบแบงตามจุดมงุ หมายออกเปน 3 ชนดิ ดงั นี้ ความคดิ เห็น ความรสู ึก ความเชอ่ื และความสนใจตางๆ ในทางการศึกษามกั นิยมใชวดั และ 1) แบบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (achievement test) เปน แบบทดสอบที่ใชวดั ความรู ทกั ษะ ประเมนิ ผลดานจิตพสิ ัยไดแกม าตราสวนประมาณคา (rating scale) เปนเครอื่ งมอื ที่ใชไดทง้ั ใหผู และความสามารถสมอง ดานตา งๆ เชน ความรคู วามจํา ความเขาใจ การนาํ ไปใช การวิเคราะห ถูกวัดประเมนิ ตนเอง และผอู น่ื ประเมนิ การตอบกระทาํ โดยใหผ ตู อบหรอื ผสู ังเกตประเมนิ คาของ สังเคราะห และการประมาณคา ซึ่งแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรอู าจเปนประเภททีผ่ สู อน คุณลกั ษณะออกมาเปน ระดบั ตางๆ มากนอยตามปริมาณหรอื ความเขม ของความรสู กึ หรือ สรา งข้ึนเอง เชน ขอ สอบปลายภาค หรอื เปนแบบทดสอบมาตรฐาน ท่ีมผี สู รา งไวแ ลว เชน พฤติกรรมทแ่ี สดงออก มาตราสว นประมาณคา มีหลายลกั ษณะ ทน่ี ยิ มใชและสรางไดง ายคือ ขอ สอบ TOFEL รูปแบบและวธิ ีการใชแบบทดสอบแบงเปน 3 ลกั ษณะคอื (1)แบบสอบปากเปลา มาตราสว นประมาณคาของลิเคริ ท (Likert rating scale) และมาตราสวนประมาณคา แบบ (oral test) เปนการทดสอบทอ่ี าศยั การซักถามเปน รายบคุ คล เหมาะสําหรบั ผสู อบ ซีแมนติก ดฟิ เฟอเรเชียล (Semantic differential rating scale) จํานวนนอ ย ขอดคี ือ สามารถถามไดละเอยี ด และสามารถโตตอบได (2 )แบบเขียนตอบ (paper- 12.7 Big Data pencil test) เปนการทดสอบทมี่ กี ารเขยี นตอบ แบงออกเปน 2 ประเภท คอื แบบทดสอบอตั นัย หมายถึงแบบทสอบที่ถามใหต อบยาวๆ สามารถแสดงความคดิ เห็นไดอยางกวางขวาง เหมาะ ขอ มลู ขนาดใหญ ซ่ึงจริงๆ แลว คํานิยามของมนั กค็ อื จาํ นวนขอ มูลในรปู แบบตา งๆ ท่มี ี สาํ หรับการวดั ความสามารถในการใชภาษาและแสดงความคิดเหน็ ท่หี ลากหลาย และแบบทดสอบ มากมายมหาศาล ชนิดทีเ่ รยี กวาชอฟตแวรห รือฮารด แวรธ รรมดาน้นั ไมส ามารถรองรับขอ มูล ปรนยั หมายถงึ แบบทดสอบประเภท ถกู -ผดิ จบั คู เติมคาํ และเลือกตอบ เหมาะสาํ หรับสอบ เหลา นี้ได โดยสวนใหญแ ลวเปน ขอ มูลท่ีถกู เก็บไวในองคก ร เชน ขอ มูลพื้นฐาน ขอ มลู บุคลากร ผสู อบจาํ นวนมากๆมีเวลาตรวจขอสอบนอย (3)แบบปฏบิ ัติ (performance test) เปน วิดีโอ ไฟลรปู ภาพ หรอื ไฟลเอกสารตางๆ ฯลฯ เปนตน การทดสอบทผี่ สู อบไดแ สดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทําหรอื ลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ เชน คณุ ลักษณะของ Big data (4V) มดี งั ตอไปน้ี การสอบนวด การสอบปฏิบตั ิทางกายภาพบาํ บดั เปน ตน 2) แบบทดสอบวัดความถนัดหรือทักษะ (aptitude test) เปนแบบทดสอบทใ่ี ชวัดศักยภาพ มปี รมิ าณมาก (Volume) : อยา งทีไ่ ดกลาวไปแลวในขางตนวา Big Data เปนขอมลู ท่ีมี ระดบั สงู ของบคุ คลวา สมรรถภาพในการเรียนรมู มี ากนอยเพยี งใด และควรเรยี นดานใดหรือ ขนาดใหญห รอื เปนขอมูลที่มีปรมิ าณมากมายมหาศาลไมว าจะอยใู นรูปแบบออนไลนห รือออฟไลน ทาํ งานในดา นใด จึงจะเหมาะสมและประสบความสาํ เรจ็ แบบทดสอบประเภทนแ้ี บงยอยได โดยขอมลู เหลา นจี้ ะมีปริมาณมากกวา หนวย TB (Terabyte) ขนึ้ ไป เปน 2 ประเภท คอื แบบทดสอบความถนัดในการเรยี น (scholastic aptitude test) และ แบบทดสอบความถนัดจําเพาะ (specific test) ซ่งึ แบง ความถนัดเปน 7 ดา น ไดแ ก มกี ารเปล่ียนแปลงอยางรวดเรว็ (Velocity) : เน่อื งจากขอ มูล Big data มีการ ดา นภาษา การใชคํา ตัวเลข มิตสิ มั พันธ ความจํา การสงั เกตรับรู และการใชเ หตผุ ล เปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็วและตอ เน่ือง ชนิดที่เรียกวา Real Time จงึ ทําใหสามารถวิเคราะห 3) แบบทดสอบวดั ความสัมพันธข องบุคคล เปนแบบทดสอบท่ีใชว ัดเกี่ยวกบั บุคลิกภาพหรอื การ งา ยๆ แบบ Manual ไดแตไมส ามารถจับทิศทางหรอื รปู แบบที่ชดั เจน หรือตายตัวของขอ มูล ปรับตนเองของบคุ คลในสงั คม วัดความสนใจตอ ส่งิ ตา งๆ ในรูปแบบทดสอบวดั ลักษณะบคุ คล เชน เหลา นน้ั ได แบบทดสอบความเกรงใจ แบบทดสอบความคดิ สรา งสรรรค เปน ตน 4.2 แบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา หลากหลายประเภทหรือแหลง ท่มี า (Variety) : ขอมลู มีรปู แบบท่ีแตกตางกนั ออกไป ยกตวั อยางเชน ขอมูลท่ีเปนไฟลภ าพรปู ภาพ ตัวอักษร หรือวีดโี อ ฯลฯ ในขณะเดียวกนั ก็มีท่ีมา ทหี่ ลากหลายไมว า จะเปน Platform, e-commerce, Social Network เปนตน ยงั ไมผานการประมวลผล (Veracity) : หาก Big Data น้ันไมผ าน process หรือแปลง ใหอยูในรูปแบบของขอมูลดบิ (Raw Data) กจ็ ะไมส ามารถใชง านหรอื ใชประโยชนตอ องคกรหรือ บริษทั ได ยอนกลบั ไปในอดตี หากจะพดู ถึงประวตั ิและความเปนมาของ Big Data ซงึ่ ความจรงิ แลว Big Data นน้ั ถือวายงั เปน เรอื่ งที่ใหมแ ละเพ่ิงเร่ิมตน ทํากนั ไดเมอื่ ไมน านมาน้เี อง เมอื่ ประมาณป 2005 กระแส Social Network ไมว าจะเปน Facebook Twitter IG ตลอดจนส่อื สังคมออนไลนใ น

รูปแบบอ่นื ๆ กาํ ลังเปน ท่นี ิยมอยา งมากในขณะน้ันทาํ ใหม ีการตระหนักท่จี ะจดั หาขอมลู ขนาดใหญ สํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 สรา งข้ึนมาเพอ่ื รองรับความตองการเหลา น้ี Big Data นนั้ นอกจากจะลองรบั สื่อสงั คม Social ตางๆ แลวยงั ใชใ นทางในการบรหิ ารจัดการ 18 ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเก็บขอ มูลของหนว ยงาน ขอ มลู เหลา นี้ถอื วา เปน ในปจุบัน Big Data ถอื วา มีความสําคญั มากๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําขอ มลู เหลานีไ้ ปใช ขุมทรพั ยท ่ลี ้าํ คา มากๆ เพราะในสภาวการณข องโลกปจจุบนั ที่มีการเปลยี่ นแปลงอยเู สมอ ใหเ กิดประโยชนสงู สดุ ตอองคก ร ซ่ึงการวเิ คราะหข อ มูลและผลลพั ธทไ่ี ดจะชวยใหส ามารถเขา ใจ ความสามารถในการตอบสนองความตอ งการแกปญ หาของหนวยงานใหต รงจดุ จะทาํ ให หรือถึงผบู รโิ ภคไดมากยงิ่ ข้นึ เปน การลดตนทุน ลดระยะเวลาในการดาํ เนินการหรอื วางแผน หนวยงานมกี ารบรหิ ารงานที่เหนอื ความคาดหมายในทกุ ๆดา น ในมุมของเวบ็ ไซต หรือสังคม กลยทุ ธของหนว ยงาน สาํ หรบั ในปจจบุ นั เครอ่ื งมอื ที่ใชรองรบั Big Data ในแบบทเ่ี ราเขา ใจ ออนไลนต า งๆ Big Data จะเก็บขอ มลู การเขา ชมเวบ็ ไซตหรอื การใชแอพพลเิ คชั่น ตลอดจนขอ มูล ไดง ายๆ มใี หเ ห็นอยหู ลากหลาย ยกตัวอยางเชน Google analysis หรอื ระบบ ERP เปน ตน การสนทนาผา นสอ่ื ตางๆ เพ่ือนาํ ไปปรบั ปรุงและส่อื สารกบั หนวยงาน เปน การแกไขปญ หาเชงิ รกุ ปจ จุบนั ถา เปนขอมูลภายในองคก รของคุณทม่ี เี ก็บไวอยูแลว คณุ สามารถใชเ ครื่องมือทมี่ อี ยูแลว ใน ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ทองตลาดทว่ั ไป เชน ERP เขา มาจดั การไดไมยาก คณุ จําเปน ตองอาศยั เคร่อื งมือประเภท Social Big Data มีกระบวนการในทาํ งานอยางไร Listening Tools เขามาชว ย ซึง่ Social Listening Tools สามารถชว ยใหคณุ เขา ถงึ ความ หลายคนอาจจะสงสัยวา Big Data ทีม่ ขี อ มูลมากมายมหาศาลเชนน้ี จะมีวิธีการหรอื กระบวนการ ตองการของผูค นบนโลกออนไลน ชว ยใหคณุ วิเคราะหข อ มลู บน Social Platform ตา ง ๆ ไมว าจะ ในการทาํ งานอยางไร โดย Big Data ประกอบไปดว ย 3 ข้นั ตอนสาํ คัญดงั ตอไปนี้ เปน การวิเคราะหชว งเวลาในการโพสต การวเิ คราะหข อ มูลในเชิงบวก เชงิ ลบ แมกระทงั่ ทาํ ให การรวบรวมขอมลู ทราบวา Content ท่ดี ที ่สี ามารถเรียก Engagement ของผคู นบนโลกออนไลนนั้นเปนอยางไร การรวบรวมขอมูล Big Data ทําหนา ท่ีในการรวบรวมขอ มลู ที่หลากหลายและขอ มลู ท่ีแตกตา งกัน นบั วา Social Listening Tools มปี ระโยชนใ นการวิเคราะหข อมลู Big Data ไมน อ ยเลยทีเดยี ว ออกไป ซ่ึงเทคโนโลยีแบบดงั้ เดมิ น้นั ไมส ามารถทาํ ได โดย Big Data สามารถเก็บขอ มลู ทีม่ ีขนาด ใหญและรวบรวมขอมูลไดมากมายมหาศาลในรปู แบบของเทราไบต หรอื บางครั้งอาจเก็บขอ มูล ในระดบั เพธาไบตเ ลยกว็ า ได การจัดการขอ มลู ขอ มูลทีม่ ากมายมหาศาลหรอื Big Data จะตองทาํ การจัดเกบ็ ขอ มลู ขนาดใหญ หรอื หาแหลง ท่ีอยู ใหมนั ยกตวั อยา งเชน on premises หรือ cloud ทีน่ ยิ มใชใ นปจ จุบัน ทัง้ นข้ี น้ึ อยกู บั ความ ตองการหรือความสะดวกในการใชง าน แตในบางกรณอี าจจะตอ งจัดเกบ็ ขอ มูลไวใ กลกับ แหลงขอมลู ท่ีมคี วามยืดหยนุ สูง การวิเคราะห Big Data อาจจะตองใชเงนิ ลงทนุ ท่สี งู ในการสรา งขอมลู ขนาดใหญ แตท ง้ั น้ีจะไมกอใหเกิด ประโยชนอะไรเลย หากคุณไมนําขอ มลู เหลานัน้ มาใชว เิ คราะห เพื่อทาํ ใหเกิดความกระจาง และชดั เจนของชดุ ขอ มลู ทม่ี อี ยู โดยสวนใหญจะใช AI ในการวิเคราะหดว ยการสรา งรปู แบบ จาํ ลองของขอมลู เพือ่ นาํ ขอ มลู เหลา นน้ั มามาขอ สรุป พัฒนา และตอ ยอดใหเกิดประโยชนสูงสดุ

สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 สว นที่ 3 1.2 การบริหารงบประมาณ 19 1.2.1 จดั ทาํ ขอ มลู นกั เรียน ครู บคุ ลากร ทไี่ ปปฏบิ ัติงานโรงเรยี นหลกั บทบาทหนาท่ีของกลุม งานในสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา รายงานสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานทราบ ในการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษา และโรงเรยี นลกู ขา ย 1.2.2 เงนิ อุดหนุนรายหวั นกั เรยี น ใหจัดไปตามตัวเดก็ โดยโอนเขา บัญชี โรงเรียนหลกั หรอื โรงเรยี นอนื่ ทน่ี ักเรยี นไปเรียนรวม สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดกาํ หนด 1.2.3 จัดสรรงบประมาณคาพาหนะนกั เรียนการเดนิ ทางไปเรยี นรวม บทบาทหนา ทีข่ องหนวยงาน/กลุมที่เกยี่ วของไว เพือ่ เปน แนวทางปฏบิ ตั งิ านรวมกัน แจงจัดสรรงบประมาณทีไ่ ดร ับจาก สพฐ.ใหโรงเรยี นทราบ และมีผรู บั ผิดชอบรว มกนั ในการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นลกู ขาย ที่ดําเนินการไปเรียนรวมกับ 1.2.4 ตรวจสอบวเิ คราะหขอ มลู โรงเรยี นรวมเสนอของบประมาณ โรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษาตามแผนในป 2565 – 2570 ใหเ ปนไปตามทศิ ทาง ทีก่ ําหนด จึงกาํ หนดบทบาทหนา ท่รี บั ผิดชอบไว ดังน้ี 2. กลมุ บรหิ ารงานบุคคล 2.1 การบรหิ ารจดั การบคุ ลากร การเตรยี มการกอนและหลังรวมโรงเรียน การกาํ หนดบทบาทหนาทีร่ ับผดิ ชอบ 2.1.1 กรณที ่ี 1 โรงเรียนท่ไี ปเรยี นรวมไมมีผอู าํ นวยการโรงเรยี น 1. กลมุ นโยบายและแผน ใหผูอาํ นวยการโรงเรียนหลักทาํ หนาท่ใี นการบรหิ ารจดั การให ครอบคลมุ ทกุ ภาระงานการบรหิ ารจดั การศึกษาโรงเรยี น 1.1 การบริหารจัดการรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ 2.1.2 กรณที ี่ 2 โรงเรยี นท่ไี ปเรยี นรวมมผี อู าํ นวยการโรงเรียน 1.1.1 ศกึ ษาขอ มูลโรงเรยี นดาน จาํ นวนนกั เรียน สภาพเศรษฐกจิ ใหผ อู าํ นวยการโรงเรยี น ทง้ั โรงเรยี นหลักและโรงเรยี นมารวม สภาพชมุ ชน สภาพพนื้ ทีใ่ กลเ คียง การคมนาคม เพอ่ื กลมุ การเรยี น บรหิ ารรว มกันโดยกําหนด บทบาท หนา ที่ และความรับผิดชอบ รวมกบั โรงเรียนใกลเคยี ง ตามความสามารถ หรอื ตามความเหมาะสม ทั้งนต้ี องการเกิดจาก 1.1.2 ศึกษาระเบยี บ/กฎหมาย/กรอบแนวทางการดําเนนิ งานรวมโรงเรยี น การตกลงรวมกนั จนกวา จะมกี ารเปลย่ี นแปลง ขนาดเล็ก 2.1.3 ผอู ํานวยการโรงเรยี นหลกั และโรงเรยี นมาเรียนรวม จะไดรับการ 1.1.3 ประชุมผอู าํ นวยการ/ครูผูสอนทกุ คนของโรงเรียนขนาดเลก็ เพ่อื สราง พิจารณาเปน กรณีพิเศษในการยายภายในและการยายขามเกขาตรพศนื้ึกทษี่า ความเขาใจ ชี้แนะแนวทางดําเนนิ งานและกาํ หนดรูปแบบการดําเนินการ การศกึ ษา รว มกัน 2.1.4 ผลทเี่ กิดจากการมาเรียนรวมทําใหค ณุ ภาพการศกึ ษาสงู ขน้ึ 1.1.4 แตงตัง้ คณะกรรมการดําเนนิ การในการรวมโรงเรียนตามบาทหนา ท่ที ่ี ตองพจิ ารณาใหครูและ ผอู าํ นวยการโรงเรยี นไดรบั ขวญั กําลังใจ ทเ่ี กีย่ วขอ ง เปน กรณีพเิ ศษ เชน การพจิ ารณาความดคี วามชอบ การให 1.1.5 ประชุมชแ้ี จง สรา งความเขา ใจแกช มุ ชน ตวั แทนผปู กครอง เกียรตบิ ัตรยกยองชมเชย คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ 2.1.5 ใหส ิทธคิ รผู สู อนโรงเรยี นมารวม มีสทิ ธยิ ายไปโรงเรียนอนื่ ทเ่ี กนิ และผทู ี่เกยี่ วของอืน่ เกณฑไดใ นกรณที ี่เปน สาขาทข่ี าดแคลน ทง้ั นี้ ตองอยูในหลกั เกณฑ 1.1.6 บริหารจดั การและทรัพยากรตา ง ๆ ใหโ รงเรียน ที่ ก.ค.ศ. กาํ หนด และหากประสงคจะยา ยใหพ จิ ารณา เปน พิเศษ 1.1.7 แตง ตัง้ คณะกรรมการกลัน่ กรองตรวจสอบขอมลู โรงเรยี น เฉพาะรายโดย อ.ก.ค.ศ นําเสนอตอ ก.ค.ศ.พจิ ารณาอนมุ ัติ 1.1.8 สรปุ ขอมลู โรงเรยี นนําเสนอคณะกรรมการเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ใหค วามเห็นชอบ 1.1.9 จดั ทาํ ประกาศแจง หนว ยงาน/กลุม/บุคคลที่เกย่ี วของทราบ 1.1.10 รายงานผลการวมโรงเรียนตอ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1.1.11 กาํ กบั ติดตาม การดําเนนิ งานใหเ ปน ไปตามนโยบายและรายงานผล

2.1.6 ครูผูส อนประสงคขอยายไปโรงเรยี นท่ีตา่ํ กวา เกณฑท ี่ ก.ค.ศ. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 กาํ หนดใหไดรับพจิ ารณายา ยไดท ันทโี ดยใหสาํ นกั งานเขตพนื้ ที่ การศกึ ษาดําเนินการเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตต้ืนท่ีการศกึ ษาพิจารณา 20 ตดั โอนตําแหนงและอตั ราเงินเดือนตามตวั เพื่อประโยชนท างราชการ วิชาการมคี วามพรอ มทางดานปจจัยของโรงเรยี นการมีสว นรว ม เพ่ือใหก าร 2.1.7 ครูผสู อนโรงเรยี นมารวม หากประสงคท จ่ี ะพฒั นาศึกษาตอ ในสาขา ดําเนนิ งานดา นวิชาการมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ กําหนดแนวทางการพฒั นาโรงเรยี น ทีข่ าดแคลน จะไดร ับการพจิ าณาใหทนุ การศกึ ษาตอ เปนกรณพี เิ ศษ ขนาดเล็กในการเรียนรวม ใหกลุมดําเนินการดงั นี้ เฉพาะราย 3.1 งานพฒั นาหลกั สตู ร 2.1.8 บุคลากรสนับสนนุ การสอน เชลนูกจาง พนกั งานราชกาพรนักงานธรุ การ 3.1.1 แตงต้งั คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวชิ าการของโรงเรยี น 2.1.9 ครูอัตราจา งหรอื พนกั งานบริการอน่ื ๆ ใหทําหนา ท่ีท่โี รงเรียนหลกั รวม โดยใหผ บู รหิ ารโรงเรยี นหลักเปนผูลงนามแตงตงั้ จนกวาจะมกี ารเปลีย่ นแปลง 3.1.2 คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวิชาการของโรงเรยี น วเิ คราะห 2.1.10 อ.ก.ค.ศ.เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ประกาศเปนนโยบาย ทีจ่ ะไมบรรจุ หลกั สูตรสภาพแวดลอ มของโรงเรียน บริบทโรงเรียนหลักและ โรงเรยี นมารวม เพือ่ กําหนดเปน วิสัยทัศน โดยการมสี วนรวม แตง ตงั้ ตําแหนง ผูอาํ นวยการโรงเรียนท่ีมนี กั เรยี นตํา่ กวา 120 คน ที่วางลงทกุ กรณี เวน แตสํานกั เขตพน้ื ที่การศกึ ษา ขนึ้ บัญชไี ว 3.1.3 คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวชิ าการของโรงเรียน 2.1.11 การประกาศผูท่ไี ดร ับการคดั เลอื กผบู รหิ ารโรงเรียนของสํานกั งาน ปรับปรุงพัฒนาหลักสตู รใหสอดคลอ งกับบรบิ ทโรงเรียนหลัก เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาใหแ นบทา ยประกาศ จะไมม ีการบรรจุแตงตั้ง และโรงเรียนมารวม ผอู าํ นวยการโรงเรียนที่มนี ักเรยี นตํา่ กวา 120 คน 2.1.12 ตําแหนง วางของผูบริหารโรงเรยี นในสงั กดั ใหส งวนไวเพื่อรองรับ 3.1.4 ครนู าํ หลักสูตรสถานศกึ ษามาวางแผนจดั การเรยี นรูรว มกนั การรบั ยายผูอาํ นวยการโรงเรยี นทเ่ี กดิ จากการรวมโรงเรียน 3.2 งานพฒั นากระบวนการเรียนรู 2.1.13 ในกรณีทีผ่ ูอาํ นวยการโรงเรยี นมารวมมีความประสงคจ ะเปลย่ี นแปลง ตาํ แหนง เปน ตําแหนง อืน่ ๆ ให อ.ก.ค.ศ. สามารถดาํ เนนิ การได 3.2.1 ครูจดั กระบวนการเรยี นรู เพือ่ ปรับสภาพพน้ื ฐาน ความรู ตามหลกั เกณฑของ ก.ค.ศ. กําหนด ความสามารถของนักเรียน การเรียนรรู วมกันอยา งมีคุณภาพ 2.1.14 ในการจัดอตั รากาํ ลงั หลงั รวมโรงเรยี นไดแลว ใหจ ัดครใู นโรงเรียนหลัก ใหค รบตามเกณฑท ี่ ก.ค.ศ. กําหนด ทง้ั ตําแหนงผูอาํ นวยการโรงเรยี น 3.2.2 พฒั นาครูใหตรงกับงานท่ีไดร ับมอบหมาย ครผู สู อน และบุคลากรสนบั สนนุ การสอน 3.2.3 ผูอํานวยการโรงเรยี นหรอื ผทู ่ไี ดรบั มอบหมาย นิเทศ ติดตาม 3. กลมุ นิเทศติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา กํากับการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเปนสําคัญ หลังจากประกาศรวมโรงเรียนขนาดเลก็ แลว จะเกิดโรงเรยี นทีม่ าจาก 3.3 งานวัดประเมนิ ผล การรวมที่เปนเอกภาพและเปน นติ บิ ุคคลเดยี วกนั การดําเนนิ การรวมใหห นวยงาน/ กลุม ทีเ่ กี่ยวของถือระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวาดว ยการจัดต้งั รวม หรอื เลิก 3.3.1 กําหนดระเบียบวาดว ยการวัดและประเมนิ ผลของโรงเรยี นหลักและ สถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2550 ดังน้ันเพ่อื ใหเ กิดการดําเนนิ งานดา นบรหิ าร โรงเรียนมารวมมาพจิ ารณารวมกนั เพอ่ื กาํ หนดใหเปน ไปตามระเบียบ วาดว ยการวดั และประเมนิ ผลเดยี วกันและใชรวมกัน 3.4 งานประกันคณุ ภาพการศึกษา 3.4.1 โรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม จัดทาํ ระบบประกันคุณภาพภายใน รว มกัน เพอื่ รองรบั การประเมินภายนอก

3.5 การมอบหมายภาระงาน สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 3.5.1 สํารวจความรู ความสามารถของครู เพอื่ วางแผนในการมอบภาระงาน ใหด าํ เนนิ การ เชน การประจาํ ช้ัน การประจาํ กลมุ สาระการเรยี นรู 21 การดําเนินการตามโครงการตาง ๆ 3.5.2 มอบภารกจิ ใหต รงความรคู วามสามารถของครแู ตละคน 3.10 งานสอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา 3.10.1 โรงเรยี นหลักและโรงเรยี นมารวม นําส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยี 3.6 งานธุรการประจําช้ันเรยี น ทางการศึกษามาใชรว มกนั โดยโรงเรยี นหลักเปน ผูจดั เก็บ 3.6.1 ใหโ รงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม ใชเ อกสารประจาํ ช้นั ของโรงเรยี น บาํ รงุ รักษา ซอ มแซมใหพ รอมใชงานโดยจัดทาํ ทะเบยี นควบคมุ ไว เดิมไปกอ นจนกวา จะมกี ารประกาศรวมโรงเรียน สวนผูจ ดั ทําเอกสาร อยางเปนระบบ ธุรการประจําช้ันเรียนใหเปน หนาทขี่ องครูประจําช้นั ประจํากลมุ สาระ 3.10.2 พฒั นาครูใหม คี วามรูความสามารถในการผลติ จัดหา และใช การเรียนรูทไ่ี ดรับมอบหมาย อุปกรณ การเรยี นการสอนอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 3.7 งานนเิ ทศภายในโรงเรียน 3.11 งานหองสมดุ /แหลง เรียนรู 3.7.1 ใหผอู ํานวยการโรงเรยี นหลกั และผอู าํ นวยการโรงเรียนมารวม รวมกัน 3.11.1 จัดและพฒั นาหอ งสมุดโรงเรยี นหลกั ใหเ ปน แหลงเรียนรูส าํ หรบั พจิ ารณาแตง ต้งั คณะกรรมการผูรับผดิ ชอบการนิเทศภายในและทํา การคน ควา มเี ครื่องอํานวยความสะดวกเพียงพอกับจาํ นวน การนิเทศภายในอยา งเปน ระบบตอ เน่ืองโดยผูอาํ นวยการโรงเรียน นกั เรยี นที่เพ่มิ ข้นึ หลักเปนผลู งนามแตง ตั้ง 3.11.2 ดูแล เกบ็ รกั ษา ซอมบาํ รงุ ครภุ ัณฑ ใหอ ยใู นสภาพทใี่ ชง านได มอบใหผ ูบรหิ ารโรงเรียนเปนผูรับผดิ ชอบ 3.8 งานวิจยั 3.11.3 สํารวจและพฒั นาแหลงเรียนรทู ง้ั ในและนอกโรงเรยี นมารว มกนั 3.8.1 ใหผ ูอ ํานวยการโรงเรยี นหลักและผอู ํานวยการโรงเรียนมารวม จัดการเรียนรู เพื่อเปนเครือขา ยความรวมมือทางวชิ าการ สง เสรมิ ใหครูทาํ วิจัยในชนั้ เรียน เพอ่ื แกป ญ หาดานการเรยี นการสอน และนําผลการวิจยั มาแลกเปลี่ยนรว มกนั 3.12 การเผยแพร/ประชาสมั พันธ 3.8.2 ผอู าํ นวยการโรงเรียนหลกั และผอู าํ นวยการโรงเรียนมารวม รว มกนั เผยแพรผ ลการดําเนนิ งานในการรวมโรงเรียน เพื่อสรา งความเขาใจและ รายงานผลการดาํ เนินงานอยา งภาคภมู ใิ จ วิเคราะหพ ัฒนาคณุ ภาพนักเรียนในภาพรวมของโรงเรียน 3.9 งานแกป ญหาการเรียนรู 4. กลมุ บริหารงานการเงินและสินทรัพย 4.1 การบริหารงานการเงิน พัสดุ และทรพั ยสนิ 3.9.1 ทาํ ขอ มลู นักเรียนรายบคุ คล เพื่อคดั กรองแยกกลุมและปรบั ฐพา้ืนน การบรหิ ารการเงนิ และงบประมาณ ความรูข องนกั เรยี นใหใ กลเคียงกัน 4.1.1 โรงเรียนมารวมรว มกับโรงเรยี นหลัก ตรวจสอบและจดั ทําบัญชี ทรัพยส นิ งบประมาณ หน้ี สิทธิและการผกู พนั ทั้งหมดตาม 3.9.2 จัดระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี น เพ่ือปอ งกัน แกไ ข สง เสริมการพฒั นา ระเบียบของทางราชการใหเ สร็จสิน้ โดยเร็ว ผูเ รียน 4.1.2 เงินงบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ เงินรายไดโ รงเรียน สิทธิ หน้ี และการผกู พันใหโอนใหโรงเรยี นหลกั

4.1.3 เงนิ งบประมาณจากสว นราชการอื่น เชน งบประมาณโครงการ สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 อาหารเสรมิ (นม) โครงการอาหารกลางวัน ใหแ จง สว นราชการ เจาของงบประมาณทราบ เพอื่ ดําเนนิ การตามกฎหมาย ระเบียบ 22 ของสว นราชการนั้นตอ ไป ภาพกิจกรรมการบรหิ ารโรงเรียนคุณภาพ ระดับประถมศกึ ษา 4.1.4 เงนิ ที่จะตอ งนาํ สงเปน รายไดแ ผนดินใหดําเนินการโดยเรว็ โรงเรียนลกู ขาย ที่มจี ํานวนนกั เรียนต่าํ กวา 120 คนลงมา การบรหิ ารการพัสดุ สังกดั สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 1. แตงต้ังคณะกรรมการบริหารจดั การเกย่ี วกับการเงนิ พสั ดุ ในการรวมโรงเรยี น 2. วสั ดุ ครุภัณฑ โอนใหโ รงเรยี นหลัก หรอื จาํ หนายตามสภาพ ของวัสดุ ครุภัณฑ 3. ที่ดนิ กรณี โรงเรยี นมารวมไดรบั อนุญาตใหใชทด่ี ินของสว น ราชการหรือหนว ยงานอน่ื ใหต รวจสอบการถือกรรมสทิ ธ์ิ หรือ สิทธคิ รอบครองรวมทง้ั เอกสารสิทธิ์รายงานสาํ นักงานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาเพ่ือประสานกบั สวนราชการ/หนว ยงานเจา ของทีด่ นิ ดาํ เนนิ การใหเปน ไปตามระเบยี บเฉพาะของสวนราชการนน้ั ๆ กรณีโรงเรยี นมารวมไดรบั บริจาคท่ดี นิ ใหตรวจสอบสภาพ การถอื กรรมสทิ ธ์ิ เอกสารสิทธ์ิ รายงาน สํานกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษา กรณโี อนใหโรงเรียนหลัก กรณีจาํ หนาย ตอ งผา นความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขั้นพืน้ ฐาน กรณขี อใชทร่ี าชพัสดุ โรงเรียนมารวมตรวจสอบสทิ ธิครอบครอง หรือสทิ ธกิ ารใชเอกสารสาํ คัญการขอใชก ารอนญุ าต แลว รายงาน สพป.ทราบ และปฏบิ ัติตาม พระราชบญั ญตั ทิ รี่ าชพสั ดุ พ.ศ. 2518 ทั้งกรณีขอใช ประโยชนแ ละไมข อใชป ระโยชน 4. ทรัพยสินอืน่ ๆ ดําเนินการตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วา ดว ย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ กไขเพม่ิ เติม โดยโอนใหโรงเรยี นหลัก 5. เอกสารสําคัญ ใหโ อนใหโรงเรียนหลกั 6. การสงมอบทรพั ยสนิ ใหส ง มอบบญั ชีทรพั ยส ินใหโรงเรยี นหลักโดยเร็ว นบั จากวนั ประกาศรวมโรงเรยี น 7. รายงานผลการดาํ เนนิ การรวมโรงเรียนขนาดเล็กใหส ํานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐานทราบ

ทีป่ รึกษา คณะผจู ัดทํา นายยงศักด์ิ เชาวนวฒุ ิกลุ ผอู าํ นวยการสาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช1เขต นายวัฒสัน สรา งดาํ รงคณุ รองผอู าํ นวยการสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รร1มราช เขต นางสาวอัญชลี นามสนธ์ิ รองผอู ํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรร1มราช เขต ผอู ํานวยการกลุม นโยบายและแผน ผจู ัดทํา นกั วิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ นางนชุ จรินทร ทองเหลือ นางวลยั พร จนั ทรบ รู ณ ภาคผนวก เรยี บเรยี ง/จดั พิมพ/ รูปเลม นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการ นางวลัยพร จันทรบ ูรณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook