Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้ภาพพจน์

การใช้ภาพพจน์

Published by นุสรา ขวัญศรี, 2021-04-30 11:22:06

Description: การใช้ภาพพจน์

Search

Read the Text Version

การใชภ้ าพพจน์ ภาพพจนเ์ ปน็ การใช้ถอ้ ยคาสานวนโวหาร ทท่ี าใหผ้ ู้รบั สารเกดิ มโนภาพ เกิดจินตนาการ ถา่ ยทอด อารมณ์ ทาให้มีความรสู้ กึ ร่วมตรงตามความปรารถนาของผู้สง่ สาร ประเภทของภาพพจน์ 1. อุปมา การเปรยี บเทียบสง่ิ หน่ึงกับอีกสิ่งหนง่ึ ทโ่ี ดยธรรมชาติแลว้ มสี ภาพที่แตกต่างกนั แต่มีลักษณะเดน่ รว่ มกนั และใช้คาท่ีมคี วามหมายว่า เหมือนหรอื คล้ายเป็นคาแสดงการเปรียบเทยี บเพ่ือเน้นให้เห็นจรงิ ว่า เหมอื น อย่างไร ในลักษณะใด ไดแ้ ก่คาวา่ เหมือน เสมือน ดัง ด่ัง คล้าย ดรู าว เหมอื นดงั่ ดุจ ประดุจ ประหนึง่ ละม้าย เสมอ ปาน เพยี ง ราว ราวกบั พ่าง เทียบ เทียม เฉก เช่น ฯลฯ เป็นการกลา่ ว การเปรยี บเทียบส่ิง ที่เหมอื นกันหรอื ต่างกันใช้คู่กับ อปุ ไมย อปุ มา คอื สงิ่ หรือข้อความทย่ี กมากล่าวมาเปรียบ อปุ ไมย คอื สง่ิ หรอื ข้อความทพ่ี ึงเปรียบเทยี บกับส่ิงอน่ื เพ่ือใหเ้ ข้าใจแจ่มแจ้ง ตวั อย่าง เชน่ - สวยเหมอื นนางฟ้า -เงียบราวกับป่าช้า -รอ้ งไห้ปานใจจะขาด -ชนเหมือนลิง -ลูกคนนลี้ ะมา้ ยพ่อ -ดีใจเหมือนปลากระด่ีได้นา้ -เธอว่ายนา้ เกง่ เหมือนปลา -เพลงนไี้ พเราะราวกับเพลงจากสวรรค์ -มีความรู้เหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน -ดวงหนา้ นวลกระจ่างดุจดวงจันทร์ -ผมของเธอดาเหมือนความมืดแห่งราตรี -เขาตะโกนเสียงดังด่ังฟ้าร้อง

2. อุปลกั ษณ์ คือการเปรยี บเทยี บด้วยการกลา่ ววา่ สงิ่ หนงึ่ เป็นอกี สิ่งหนึ่งเปน็ การเปรียบเทียบท่ีไม่กลา่ วตรง ๆ ใชก้ าร กล่าวเป็นนัยใหเ้ ข้าใจเอง เป็นการเปรยี บเทยี บโดยนาเอาลกั ษณะ สาคัญของสิง่ ทตี่ ้องการเปรยี บเทียบ มา เปรียบเทียบทนั ทีโดยโดยไมต่ ้องมีคาเช่ือมโยง ไมต่ ้องใชค้ าแสดงการเปรยี บเทียบ ไม่มีคาแสดงความหมายว่า เหมอื น ปรากฏอยู่ หรอื ถ้าจาเป็นต้องใช้ก็ใช้คาวา่ “เป็น” หรือ “คอื ” อุปลกั ษณ์ เป็นการใชถ้ ้อยคาภาษา ในเชงิ การเปรยี บเทียบท่ีมีช้ันเชงิ และลกึ ซ้ึงกวา่ อุปมา นิยมใช้กบั ภาษาหนังสอื พิมพ์ เพราะใช้คาน้อย ได้ ความมากเหมาะกับเน้ือที่อนั จากัด ตัวอย่าง เช่น -ปัญญาคอื ดาบสดู้ ัสกร -ครู คอื แม่พิมพ์ของชาติ -ชวี ิตคอื การต่อสู้ ศัตรคู ือยากาลงั -ลูกคือดวงตาดวงใจของพ่อแม่ -ครเู ป็นแสงประทปี สอ่ งทางใหล้ กู ศิษย์ เธอคือดอกฟา้ แตฉ่ ันนน้ั คือหมาวัด -อฐู เป็นเรอื ของทะเลทราย -กีฬาเป็นยาวิเศษ -เขาเป็นมือขวาของผูอ้ านวยการทีเดยี วนะ -เขาเป็นสิงหท์ ะเลทราย - ชาวนาเป็นกระดูกสันหลงั ของชาติ -ทหารเป็นรวั้ ของชาติ

3. บุคลาธษิ ฐาน คอื การสมมุตใิ ห้สิ่งที่ไม่มชี วี ติ ไมม่ ีความคิด สง่ิ ที่เปน็ นามธรรม หรือสัตวใ์ ห้มสี ติปัญญา อารมณห์ รือ กริ ยิ าอาการ เหมือนมนษุ ย์เพ่ือใหส้ ิง่ เหลา่ น้ันเกดิ ปรากฏการณเ์ สมือนเปน็ สิ่งมีชีวิตทม่ี คี วามร้สู ึก นกึ คดิ ขน้ึ มา แล้วสอื่ ความรูส้ ึกออกมาใหผ้ ้รู บั สารได้รับรู้เปน็ การเปรียบเทียบโดยนาเอาส่งิ ไม่มีชวี ิต หรือมชี วี ติ แต่ ไม่ใชค่ นมากลา่ วถงึ ราว กบั เป็นคน หรือทากริ ิยาอาการอย่างคน “ภาพพจนป์ ระเภทนีจ้ ะทาใหส้ ่งิ ท่ีกลา่ วถงึ มี ชวี ติ ชวี า ผรู้ บั สารจะมองเห็นภาพสิ่งน้นั เคลอ่ื นไหวทากิริยาอาการเหมือนคนมีอารมณ์ มีความรสู้ กึ และ สามารถสอ่ื ความรสู้ ึกนนั้ มาสู่ผรู้ บั สารได้” ตวั อยา่ ง เช่น -ฟา้ หัวเราะเยาะข้าชะตาหรอื -ซงุ หลายท่อนนอนร้องไห้ท่ีชายปา่ -ดาวกะพรบิ ตาเยาะเราหรอื ดาวเอย๋ -ต๊ักแตนโยงโย่ ผูกโบว์ทดั ดอกจาปา -จานและชอ้ นวง่ิ กนั ขวกั ไขว่ไปท่ัวหอ้ งครัว -พระจันทรย์ ิ้มทักทายกบั หมดู่ าวบนท้องฟ้า -เสียงรถไฟหวีดร้องครวญครางมาแต่ไกล -พระจนั ทรย์ ิ้มทักทายกบั หมู่ดาวบนท้องฟา้ -ตน้ อ้อหยอกล้อกับสายลมอยา่ งสนุกสนาน -เปลวไฟกลืนกินบ้านท้งั หลงั เข้าไปอยา่ งหิวโหย -ทะเลไม่เคยหลบั ใหล เธอตอบไดไ้ หม ไฉนจึงต่ืน -ความซ่อื สัตย์ ว่ิงพลา่ นอยู่ในคณะรฐั มนตรีชุดนี้

4. อติพจน์ คือ การกลา่ วเกินจริง ซงึ่ เปน็ ความรสู้ ึกหรอื ความคดิ ของผกู้ ลา่ วที่ตอ้ งการยา้ ความหมาย ใหผ้ ู้ฟังรสู้ กึ วา่ หนักแนน่ จริงจัง เนน้ ความรู้สึกใหเ้ ด่นชดั และน่าสนใจ โดยไมเ่ นน้ ความเป็นจริง เพราะตอ้ งการ ใหผ้ ้รู บั สาร เกิดความซาบซึง้ และประทบั ใจ ซึ่งอาจจะมากเกินไปหรือน้อยเกินไปก็ได้ เพ่ือเนน้ ความ รู้สกึ มากกว่า ความ เป็นเหตเุ ป็นผล ม่งุ เรา้ อารมณแ์ ละความรู้สึกสะเทอื นใจเป็นสาคญั ภาพพจน์ประเภทน้ีนยิ ม ใช้สือ่ สารกนั มาก ทง้ั การพูดและการเขียน ทต่ี ้องการแสดงความรู้สึกเพราะสามารถเปรยี บเทียบใหเ้ หน็ ภาพได้ง่าย ตัวอยา่ ง เช่น -รอ้ นตบั จะแตก -หนาวกระดกู จะหลดุ -คิดถงึ ใจจะขาด -แหม รอตั้งโกฏปิ ีแล้ว -ไอห้ มดั ทะลวงไส้ -การบินไทยรักคุณเทา่ ฟา้ -เขาโกรธเธอจนอกระเบดิ -ลาบากเลือดตาแทบกระเดน็ -ฉันไม่มีเงนิ ซักแดงเดียว -เหนอื่ ยสายตวั แทบขาด -ฉันหิวไสจ้ ะขาดแลว้ นะ -แมจ้ ะเอาช้างมาฉดุ ฉันก็ไม่ไป -อากาศร้อนจนแทบจะสุกอยู่แลว้ สายเลือด -เธอร้องไห้นา้ ตาจะเปน็ -พวกเราจะสู้จนเลือดหยดสุดทา้ ย - คิดถงึ เธอทุกลมหายใจเข้าออก 5. นามนยั คอื การเปรยี บเทยี บโดยการใช้คาหรือวลีซ่ึงบ่งลักษณะหรอื คุณสมบัติทเ่ี ปน็ จดุ เดน่ หรือลกั ษณะสาคัญ ของสิง่ ใดสงิ่ หนงึ่ หรอื การกล่าวถงึ สว่ นใดส่วนหนง่ึ ของสง่ิ ใด ๆ มากลา่ วแทนคาท่ใี ช้เรยี ก ส่ิงนั้นโดยตรง เป็น ภาพพจนท์ ่ีใช้เพอื่ หลีกเลยี่ งการใชค้ าธรรมดา ๆ ซ้าซาก ตวั อย่าง เช่น -ปากกาคมกว่าดาบ -เขาเป็นกระตา่ ยทห่ี มายจันทร์ (กระตา่ ยแทนชายหนุ่มฐานะตา่ ต้อยจันทรแ์ ทนผู้หญิงท่ีมีฐานะสงู สง่ ) -เขาเปน็ มอื ขวาของทา่ นนายกฯ (มือขวาแทนคนสนทิ ท่ีไวใ้ จ) -เขารักเกา้ อี้ยิ่งกว่าชื่อเสยี งเกยี รตยิ ศ (เก้าอี้แทนตาแหนง่ ) -คนเราจะต้องต่อสู้ตงั้ อยู่ในเปลจนไปสู่ป่าชา้ (เปล แทนการเกิด, ป่าชา้ แทนการตาย) -น้าตา และรอยย้ิมอยคู่ ูช่ วี ติ มนุษย์เสมอมา (นา้ ตาแทนความทุกข์, รอยย้มิ แทนความสุข) -เลือดของวีรชนจะจารึกอยู่ในประวตั ิศาสตร์ตลอดไป (เลือด แทนการตอ่ สู้) -คนไทยไมย่ อมใหใ้ ครมาทาลายขวานทองได้ (ขวานทองแทนประเทศไทย) -การจดั สรรงบประมาณควรใหไ้ ด้ไปสรู่ ะดบั รากหญ้าจรงิ ๆ (รากหญา้ แทนประชาชนระดบั ล่าง)

6. ปฏิพจน์ คอื การใช้ถ้อยคาท่ีมีความหมายตรงกันข้าม หรอื ขัดแยง้ กนั มากลา่ วร่วมกันไดอ้ ย่างกลมกลืนกัน ภาพพจน์ประเภทนผี้ ้รู บั สารจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะหค์ วามหมาย หรอื ตีความจงึ จะเข้าใจไดด้ ี ตัวอยา่ ง เช่น -ไฟเย็น -เลก็ ดีรสโต -ชยั ชนะของผูแ้ พ้ -สันติภาพรอ้ น -ย่ิงรบี ก็ย่งิ ช้า -หัวเราะรา่ นา้ ตาริน -ความขมขน่ื อนั หวานช่นื -ไม้งามกระรอกเจาะ -รกั ยาวให้บั่น รักสัน้ ให้ต่อ -รักดหี ามจ่ัว รกั ชั่วเสา -น้ารอ้ นปลาเป็นน้าเยน็ ปลาตาย -แพเ้ ปน็ พระชนะเป็นมาร -เสยี นอ้ ยเสียยาก เสียมากเสยี ง่าย -ผูด้ ีเดินตรอก ขี้ครอกเดินถนน -นา้ ร้อนปลาเป็น นา้ เยน็ ปลาตาย -ความรู้ทว่ มหัว เอาตัวไมร่ อด -เสยี งกระซบิ จากความเงียบ -ชวี ิตเตม็ ไปดว้ ยความวา่ งเปลา่ 7. สทั พจน์ คอื การใชถ้ ้อยคาทเ่ี ลียนเสียงธรรมชาติ เชน่ เสียงดนตรเี สียงรอ้ งของสัตว์ หรอื เลยี นเสยี งกิริยาอาการ ตา่ ง ๆ ของคน การใช้ภาพพจน์ประเภทนไ้ี มว่ ่าจะเป็นการพูดหรือการเขียน จะช่วยสื่อให้ผูร้ บั สารรู้สกึ เหมอื น ไดย้ นิ เสียง โดยธรรมชาติของสง่ิ นน้ั ๆ และเห็นกิรยิ าอาการของส่ิงนั้น ๆ ด้วย ตวั อยา่ ง เชน่ -ฝนตกแปะ ๆ -เปรีย้ ง ๆ ดงั เสียงฟ้าฟาด -ไผซ่ ออ้อเอียดเบียดออด -บัดเดยี๋ วดังหง่างเหงง่ วังเวงแวว่ - เครอื่ งบินครางกระหึ่มมาแต่ไกล - เสียงคล่ืนซ่าซัดสาดทีห่ าดทราย -เสียงปนื ดงั ปงั ! ปงั ! ขน้ึ สองนัด -ยุงบนิ หงึ่ หึง อยู่ขา้ งหนู า่ ราคาญ -ออ้ ยอเ๋ี อียง ออ้ ยอเี๋ อียงส่งเสียงร้อง -เจ๊กเฮงเดินลากเกีย๊ ะแซะ ๆ ไปตลอดทาง -ลมพัดกิ่งไมร้ ะหลงั คาบ้านดังแกรกกรากนา่ กลวั -มนั ดังจอกโครม ๆ มนั ดงั จอก ๆ จอก ๆ โครม ๆ -มนั รอ้ งดงั กระโต้งโฮง มนั ดงั กอก ๆ กอก ๆ กระโต้งโฮง -น้าพพุ ุ่งซา่ ไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียกังวาน -เสยี งลงิ ค่างบา่ งชะนวี ะหวดี โหวย กระหมึ่ โหยหอ้ ยไมน้ า่ ใจหาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook