บทที่ 5 การถ่ายภาพทวิ ทัศน ์ 37 บทที่ 5 การถ่ายภาพทวิ ทัศน์
38 บทที่ 5 การถ่ายภาพทิวทศั น์ บทที่ 5 การถ่ายภาพทวิ ทัศน์ การถา่ ยภาพทิวทศั น์ Landscape การถ่ายภาพทวิ ทัศน์ หรือทน่ี ักถา่ ยภาพบ้านเรานยิ มเรียกทับศพั ท์ว่า แลนด์ สเคป (Landscape) เป็นหน่ึงในหมวดหมทู่ ไี่ ดร้ ับความนิยมมากที่สุดของการถา่ ยภาพ ซงึ่ ในการจะถ่ายภาพวิวทวิ ทัศนใ์ หอ้ อกมาสวยงามไมไ่ ดม้ ีเทคนิคอะไรท่ซี ับซ้อน แต่ ส�ำ หรับมอื ใหม่กอ็ าจไม่ใชเ่ รือ่ งงา่ ย คำ�ว่า ภาพววิ ทวิ ทศั น์ท่ีดี อาจมองได้หลายมมุ บ้าง ว่าต้องแสงสวย บ้างเนน้ ทก่ี ารจดั วางองค์ประกอบของภาพ บางคนว่าต้องมอี ารมณ์อยู่ ในนน้ั บางความเห็นว่าต้องเป็นภาพทมี่ ีความลกึ และอกี สารพนั ค�ำ ตอบทจ่ี ะวา่ ไปแลว้ ก็แทบไม่มีข้อไดผ้ ิด ส�ำ หรับมมุ มองในส่วนของผู้เขียนเอง เห็นวา่ ทกุ อยา่ งลว้ นเปน็ เร่ือง ไม่อาจละเลยไดท้ ง้ั สนิ้ ทวา่ สิง่ สำ�คญั ท่ีสดุ ทจ่ี ะทำ�ใหภ้ าพววิ ทวิ ทศั นภ์ าพนน้ั ๆ มคี ุณค่ามี ความหมาย ภาพ ๆ นั้น จะต้องสามารถแสดงความเปน็ เอกลกั ษณ์ หรอื จุดเดน่ ของสถาน ท่นี นั้ ๆ ออกมาใหไ้ ด้มาทีส่ ดุ และเง่อื นไขอันจ�ำ เปน็ ที่จะเอ้ือให้เกดิ ภาพอยา่ งท่ีว่ามานน้ั ก็ ขนึ้ อย่กู ับเร่อื งของ “เวลา” ผถู้ ่ายภาพควรตอ้ งมเี วลาให้กบั สถานทห่ี นึง่ ๆ มากเพยี งพอ อยา่ งน้อย ๆ ควร มากกวา่ หน่ึงวนั ขนึ้ ไป ทงั้ นี้เพอ่ื สำ�รวจสถานทใี่ ห้ละเอียด คน้ หาจุดเดน่ ของสถานท่ใี หเ้ จอ พร้อมกำ�หนดมมุ ภาพ ก�ำ หนดทางยาวโฟกสั ของเลนส์ และก�ำ หนดชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสม สำ�หรับการถา่ ยภาพนั้น ๆ แสง ปัจจยั ส�ำ คัญล�ำ ดบั ตน้ ๆ ของการถา่ ยภาพววิ ทิวทศั น์ แสงทเี่ หมาะสมส�ำ หรับการถา่ ยภาพวิวทวิ ทศั นน์ อกเหนอื ช่วงเวลาทฟี่ า้ เปล่ียน สีในยามพระอาทิตย์ขนึ้ -ตก กค็ ือแสงเฉยี ง ๆ ของยามเชา้ และบ่ายแก่ ๆ ในทศิ ทางตาม แสง เนือ่ งจากแสงลกั ษณะนี้จะทำ�ให้ภาพวิวทิวทศั นด์ มู มี ิตสิ วยงาม ทำ�ให้ภาพถ่ายที่เป็น สอื่ สองมิติอนั แบนราบดมู ีมติ ทิ ีส่ ามหรือความลกึ เกดิ ขน้ึ แก่ผชู้ มภาพได้
บทท่ี 5 การถ่ายภาพทิวทศั น์ 39 ทว่าสงิ่ เหล่านมี้ ิใชก่ ฎเกณฑอ์ นั ควรนำ�มาผกู มดั กับการถ่ายภาพอยูต่ ลอดเวลา นัก ถา่ ยภาพท่ีดีควรรูจ้ ักการพลกิ แพลง เปลี่ยนแปลงน�ำ ส่งิ ทีด่ ที ี่สุดมาปรบั ใช้กบั การถา่ ยภาพ ของตนเอง การไปอย่ใู หถ้ ูกทแ่ี ละถูกเวลา การถา่ ยภาพววิ มีเรอ่ื งยากอยู่ประการหนง่ึ ทีส่ ำ�คัญก็คอื “การไปอยู่ให้ถูกทีแ่ ละ ถกู เวลา”จึงจะไดภ้ าพถา่ ยท่ดี ี (รวมทั้งต้องพกดวงไปเยอะๆหน่อย) เนอื่ งจากว่าภาพวิว ทวิ ทศั น์นน้ั เราไมส่ ามารถควบคมุ อะไรได้มากมายตลอดจนสภาพดินฟ้าอากาศซง่ึ อยู่ นอกเหนือการควบคุม แต่การเตรียมการทีด่ จี ะชว่ ยลดความเสี่ยงจากการถูกรงั แกโดย ธรรมชาติไปได้มากหรอื อย่างนอ้ ยการศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกับธรรมชาตกิ จ็ ะมีสว่ นชว่ ยทำ�ให้ มโี อกาสไดภ้ าพดๆี จากธรรมชาตไิ ด้เชน่ เดียวกัน อยา่ งน้อยๆ กร็ ้แู น่นอนแล้ววา่ ดวง อาทิตย์จะตอ้ งขึน้ ทศิ ตะวนั ออกและตะวนั ตกเสมอแต่อาจจะเฉยี งไปทางทิศทางเหนอื หรอื ทิศทาใตบ้ ้างเลก็ นอ้ ยตามฤดูกาล เมื่อรูท้ ิศทางของแสงในช่วงเช้าว่าจะมาจากทางทศิ ตะวนั ออกแล้วกส็ ามารถ กำ�หนดการเดนิ ทางใหเ้ หมาะสมกบั การถ่ายภาพได้ โดยใหต้ ากล้องหันหน้าไปทางทิศ ตะวันตกเปน็ หลกั (ถา่ ยตามแสง) ในชว่ งเช้าหลังจากนั้นในชว่ งบา่ ยควรจะกำ�หนดการ เดินทาง โดยใหต้ ากล้องหนั หลงั ไปทางทิศตะวนั ออกเทา่ น้ัน (ถา่ ยตามแสง) ก็จะท�ำ ใหท้ ริ ปการเดินทางคร้งั นน้ั ของเราได้ภาพตามแสงตลอดท้งั ทริป นอกจากน้ี ต้องทำ�ความเข้าใจกับสภาพอากาศในแตล่ ะครงั้ ละชว่ งฤดดู ้วยเชน่ กนั เชน่ ฤดหู นาว ประมาณเดือนพฤศจิกายนถงึ มกราคม เปน็ ชว่ งท่ีท้องฟ้าจะปลอดโปรง่ เหมาสมส�ำ หรับการถ่ายภาพวิวป่าเขา โดยเฉพาะปา่ ทางภาคเหนอื จะได้ภาพทที่ อ้ งฟา้ เป็นสีฟา้ สดใส แต่ถ้าถ่ายในช่วงฤดูฝน โอกาสทีจ่ ะเจอฟ้าทึมๆมีเมฆขาวโพลนเตม็ ไปหมด กม็ ีอยูม่ ากหรือถา้ จะไปถา่ ยรปู ทะเล ควรไปในช่วงทีป่ ลอดลมมรสุม เพราะมีคลืน่ ทล่ี ม แรงและนำ้�ทะเลขนุ่ ทำ�ให้ถา่ ยภาพออกมาไมเ่ ปน็ สีเขยี วมรกต แต่ถา้ ไปถ่ายในช่วงปลอด คล่นื ลมมรสุม กจ็ ะได้นำ�้ ทะเลท่ีเขียวใส(แตอ่ ย่าลมื เอาฟติ เตอร์ C-PL ไปดว้ ยก็แล้วกัน)
40 บทท่ี 5 การถา่ ยภาพทวิ ทศั น์ “ตัวอย่างภาพวิวทิวทศั น์” เส้นสายชน้ี ำ�สายตาไปหาจดุ สนใจ องคป์ ระกอบส�ำ คัญสำ�หรับการถ่ายภาพววิ ทวิ ทัศน์ ทีม่ กั จะมาควบคกู่ ับการใช้ เลนส์มมุ กว้างในการถ่ายภาพก็คือ ชว่ ยให้เกดิ เสน้ สายตา่ งๆ ในภาพ ทพี่ ุ่งลกึ เข้าไปใน ภาพได้อยา่ งไม่ยากนกั เสน้ เหล่านม้ี กั จะเกิดขน้ึ จากสง่ิ ทีเ่ รยี กว่า “ทศั นมติ ิ” หรอื Per- spective เหมอื นสมยั ที่เราวาดเขยี นตอนเด็กๆ โดยมักจะวาดภาพใหม้ ีเส้นถนนหรือ เสน้ ทางเดินว่งิ ไปยังเสน้ ขอบฟ้า นน้ั แหละคะ่ คอื ลกั ษณะของเสน้ สายที่จะเกิดขึน้ โดย อตั โนมัติเวลาถ่ายภาพวิวเส้นเหลา่ นจ้ี ะชี้น�ำ สายตาของคนทด่ี ภู าพให้มองตามไปยงั เสน้ “จุดสนใจ” หรือ “วัตถุหลกั ” ในภาพมลใหเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ เส้นถนนท่ีคดเคย้ี วไปจนจดุ สายตา แต่ ณ ต�ำ แหน่งใกล้ๆตรงปลายนัน้ มีรถสีแดง วิง่ อยู่ 1 คัน เป็นต้น
บทที่ 5 การถ่ายภาพทวิ ทัศน์ 41 “ตัวอย่างภาพเสน้ น�ำ สายตา”
บทท่ี 6 การถา่ ยภาพเพือ่ สอื่ อารมณ์ความรู้สกึ 42 บทที่ 6 การถ่ายภาพเพ่ือ ส่ืออารมณค์ วามรูส้ กึ
43 บทที่ 6 การถ่ายภาพเพ่อื สือ่ อารมณค์ วามร้สู กึ บทที่ 6 การถ่ายภาพเพ่อื ส่ืออารมณค์ วามรสู้ กึ การสอ่ื อารมณ์และความรูส้ ึกจากการถา่ ยภาพนนั้ นอกจากการแสดงออกจาก สีหน้าและทา่ ทางของแบบแล้ว ช่างภาพยังสามารถใช้มุมกล้องหรือจดั องคป์ ระกอบต่างๆ ช่วยเสรมิ ให้สอื่ อารมณ์และความรสู้ ึกได้มากขึน้ ภาพถา่ ยทีม่ กั เลอื กใช้ภาพประเภทใน การกระตนุ้ ความคิดหรือปรบั เปลี่ยนทัศนคติของผู้ชม เทคนคิ การถ่ายภาพเสื่ออารมณแ์ ละความรู้สึก 1.การเลอื กใชม้ มุ ภาพ ภาพท่ถี ่ายดว้ ยมุมกลอ้ งตา่ งกันถึงแมจ้ ะเป็นวัตถหุ รือสิ่งของอยา่ งเดยี วกันแต่จะมีผลตอ่ การส่อื ความหมาย อารมณ์ และความรู้สึกทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยท่วั ไปมมุ กลอ้ งแบ่งเป็น 3 ระดบั 1.1) ภาพระดับสายตา (Eye-level Angle) เป็นการถา่ ยภาพท่ีกล้องอยู่ ในตำ�แหน่งขนาดกับพ้นื ดนิ ในระดับเดยี วกับสายตา ในความรู้สกึ เป็นธรรมดา ภาพ : ระดบั สายตา
บทที่ 6 การถา่ ยภาพเพ่อื สือ่ อารมณ์ความรู้สึก 44 1.2) ภาพมุมตำ่� (Low Angle) เปน็ การถา่ ยภาพที่กลอ้ งอยูใ่ ตต้ �ำ แหนง่ ตำ่�กวา่ วัตถทุ ี่ถ่าย ใหค้ วามรู้สกึ ถงึ ความสูงใหญ่ สงา่ ผา่ เผย มีอำ�นาจ ม่ันใจ ทรงพลัง เปน็ ต้น ภาพ : มมุ ต่ำ� 1.3) ภาพมมุ สงู (High Angle) เปน็ การถ่ายภาพทีก่ ลอ้ งอยู่ในตำ�แหนง่ สงู กวา่ วัตถทุ ี่ถา่ ย ให้ความรู้สึกถงึ ขนาดเลก็ ความต่�ำ ตอ้ ย ไม่ส�ำ คญั หดหู่ หมดอ�ำ นาจ วาสนา เป็นตน้ ภาพ : มมุ สงู
45 บทที่ 6 การถา่ ยภาพเพอื่ สื่ออารมณค์ วามร้สู กึ 2. การเลือกใชเ้ ส้น การเลอื กนำ�เส้นเขา้ มาเปน็ ส่วนหนึ่งขององคป์ ระกอบภาพสามารถสอื่ ความหมาย อารมณ์และความรสู้ กึ ทีแ่ ตกตา่ งกนั ได้ 3. การเลอื กใชแ้ สง ควรจดั ลักษณะขงิ แสงของทศิ ทางทีม่ ีแสงให้เหมาะกับวตั ถุท่ถี า่ ย 4.การเลือกใช้โทนสี โทนสีทแ่ี ตกต่างกันยอ่ มสือ่ อารมณแ์ ละความรู้สึกทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปดว้ ย 4.1) โทนสีสวา่ งขาว (High Key) ให้ความรู้สึกสดใส อ่อนหวาน น่มุ นวล ร่าเริง มีชีวติ ชวี า สนุกสนาน บอบบาง 4.2) โทนสีมืดเข้ม (Low Key) ให้ความรู้ท่ีโศกเศรา้ เสยี ใจ ลกึ ลบั น่ากลวั เครง่ ขรมึ บางภาพอาจมนี ำ�้ หนักสที ่สี ว่างขาวตัดกับมดื มากๆ ก็ได้ ลกั ษณะน้ใี หค้ วามรสู้ ึก ทน่ี ่าตื่นเตน้ สะดุดสายตา 5. การเลือกใชช้ อ่ งวา่ ง การจัดพนื้ ที่ว่างทางด้านหน้าของวัตถุหรือแบบกส็ ามารถสื่ออารมณแ์ ละความ ร้สู ึกไดเ้ ช่นกนั ได้แก่ 5.1) ช่องว่างดา้ นหน้ามาก สอื่ ถงึ การที่วัตถกุ �ำ ลังเคล่ือนท่ี ความกวา้ ง ไกลเหมอ่ ลอย 5.2) ชอ่ งวา่ งดา้ นหน้านอ้ ย สือ่ ถงึ การเคลอ่ื นไปสู่ทางตัน แคบ เคร่งเครียด กดดัน ไมม่ ีทางออก
บทท่ี 6 การถา่ ยภาพเพอ่ื ส่อื อารมณค์ วามรูส้ กึ 46 ภาพทีด่ ีสามารถเร่งเร้าให้ผู้ชมเกดิ อารมณ์รว่ ม รู้สกึ สนกุ สนาน เศรา้ หรือดีใจ ไปกับภาพ ภาพเกีย่ วกบั บคุ คลสามารถถ่ายทอดอารมณ์ได้ง่ายกวา่ ภาพประเภทอื่น เน่อื งจากผชู้ มสามารถจบั อากปั กริ ยิ าและสีหนา้ ของบคุ คลในภาพได้ ภาพประเภทอนื่ ก็สามารถสอ่ื ถงึ อารมณ์ของภาพไดเ้ ช่นกนั เช่นภาพผืนดนิ ท่แี หง้ แลง้ ท�ำ ให้ผู้ชมรูส้ กึ หดหู่ ภาพตกึ เก่า ๆ ท�ำ ใหเ้ ห็นถงึ สภาพบา้ นเมอื งทีย่ �่ำ แย่ลง เป็นต้น แสงเงาและสสี นั ก็ มีสว่ นชว่ ยในการสรา้ งอารมณ ์ สีสนั สดใส ใหอ้ ารมณส์ นุกสนาน โทนสแี ดงใหอ้ ารมณท์ ี่ ร้อนแรง โทนสีนำ้�ตาลให้อารมณ์ถงึ บรรยากาศเก่า ๆ โทนสฟี า้ ให้อารมณท์ ่ผี อ่ นคลาย เปน็ ต้น ภาพถ่ายแมจ้ ะเป็นภาพนิง่ ไม่มีการเคลอื่ นไหวเหมอื นภาพยนต์ แต่ก็สามารถ สรา้ งเร่อื งราว สะกดให้ผู้ชมเกดิ มโนภาพถงึ ความเปน็ ไปทีแ่ ฝงอยู่ในภาพ ภาพทด่ี ีตอ้ ง สามารถสอ่ื ความหมายใหผ้ ้ชู ม สามารถเล่าเรื่องราว ความเป็นไป หรือเหตุการณ์ท่ีอบุ ตั ิ ข้ึน การบอกกลา่ วเรอ่ื งราวในภาพอาจไม่จำ�ต้องถึงขนาดน�ำ เสนอภาพให้เหน็ เหตุการณ์ แบบตรงไปตรงมา แตเ่ ป็นการสรา้ งบรรยากาศ สภาพแวดล้อมในภาพเพ่ือปลุกใหผ้ ชู้ ม เกิดจนิ ตภาพของตนเอง ก่อนท่ีจะทำ�การบนั ทกึ ภาพให้ลองคดิ สกั นิดวา่ ภาพทจี่ ะบนั ทึกกำ�ลงั เล่าเรอ่ื งราว อะไรใหเ้ รา จะชว่ ยทำ�ใหเ้ ราจบั อารมณข์ องภาพน้นั ๆ ไดแ้ ละกลายเปน็ ภาพท่มี คี ุณคา่ ตามมา (ณฐั กร สงคราม,2557,หน้า85) ภาพ : มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
บทที่ 7 เทคนคิ การถา่ ยภาพเคลื่อนไหว 47 บทที่ 7 เทคนิคการถ่ายภาพเคลอื นไหว
48 บทที่ 7 เทคนคิ การถ่ายภาพเคล่อื นไหว บทที่ 7 เทคนคิ การถ่ายภาพเคลือ่ นไหว เทคนิคการถา่ ยภาพเคลือ่ นไหว การถ่ายภาพเคลอื่ นไหว หมายถึง การถ่ายภาพของวตั ถทุ เี่ คล่อื นไหว เชน่ คนวง่ิ กระโดดโลดเตน้ เลน่ ชิงชา้ กระโดดสูง วา่ ยนำ�้ ปั่นจักรยาน รถกำ�ลังแลน่ หรือการแข่งขนั กฬี าดา้ นความเร็วประเภทตา่ ง ๆ การถา่ ยภาพวตั ถุทีเ่ คลือ่ นไหว ดังกลา่ วอาจจะทำ�ไดใ้ น 3 ลักษณะ คือ 1. การจบั ภาพวตั ถทุ ีก่ ำ�ลังเคลอื่ นไหวให้หยุดนง่ิ (Stop – action) การถ่ายภาพในลกั ษณะน้ีต้องตง้ั ความเร็วชัตเตอร์ใหส้ ูง เชน่ 1/250, 1/500 หรือ 1/1000 วินาที ตามความเหมาะสมกบั ความเรว็ ของวตั ถุที่ก�ำ ลงั เคลอ่ื นที่ เม่อื ตง้ั ความเร็ว ชตั เตอร์ สงู ๆ จำ�เปน็ ต้องเปิดชอ่ งรับแสงใหก้ ว้างขนึ้ เพอ่ื ชดเชยใหแ้ สง การถา่ ยภาพวตั ถุท่กี �ำ ลังเคล่อื นไหวใหห้ ยดุ นิง่ ได้นั้น จะตั้งความเรว็ ชตั เตอรเ์ ทา่ ใดยอ่ ม ข้ึนอย่กู ับองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1) ความเรว็ ของวตั ถทุ ่กี ำ�ลังเคลอ่ื นไหว 2) ทศิ ทางการเคลือ่ นไหวของวตั ถุ 3) ระยะทางจากกล้องถงึ วตั ถุ 4) ความยาวโฟกัสของเลนส์ 2. การถ่ายภาพวตั ถุท่ีเคล่ือนไหวดูแล้วให้รสู้ ึกวา่ เหมือนก�ำ ลังเคลือ่ นไหว การถา่ ยภาพในลักษณะน้ี ตอ้ งตงั้ ความเรว็ ชัตเตอร์ ใหช้ ้า ๆ เชน่ 1/30 วนิ าที, 1/15 วนิ าที หรือ 1/8 วินาที เปน็ ตน้ เม่ือต้งั ความเร็วชัตเตอร์ช้า กต็ ้องเปิดช่องรับแสงให้ เล็กลง ภาพทไ่ี ด้จะปรากฏวา่ สง่ิ ท่ีกำ�ลังเคล่ือนไหวจะดูพร่า ทำ�ให้เหน็ ว่าวตั ถนุ ัน้ กำ�ลัง เคล่ือนท่สี ่วนวตั ถุหรอื สิ่งที่อย่นู ง่ิ จะคมชดั และการถ่ายภาพลกั ษณะนี้ควรจบั ถือกลอ้ งให้ นิ่งและม่นั คง หรือควรใชข้ าตง้ั กลอ้ งช่วย เพ่อื ไมใ่ หก้ ลอ้ งส่นั ไหว
บทท่ี 7 เทคนคิ การถา่ ยภาพเคล่ือนไหว 49 ภาพ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 3. การถา่ ยภาพวัตถุท่ีกำ�ลงั เคลอื่ นไหวใหเ้ ห็นวัตถุชดั ส่วนฉากหลังพรา่ มัวเป็น ทางยาว การถา่ ยภาพในลักษณะน้ี จะตอ้ ง แพนกล้อง (Paning) ตามวัตถุท่ีกำ�ลังเคลอื่ นไหว พรอ้ ม ๆ กบั การกดไกชตั เตอร์ ความเรว็ ชตั เตอรค์ วามตั้งใหช้ ้า เช่น 1/60วนิ าที, 1/30วนิ าทีหรือชา้ กวา่ ทงั้ นี้ข้ึนอยกู่ บั ความเร็วของวตั ถทุ ี่เคล่อื นท่ีด้วยการปรับระยะชดั ให้ ปรบั ไปตรงจดุ ที่วัตถุ เคลือ่ นท่ีผ่าน การถ่ายภาพเป็นเร่อื งของการจับภาพให้ได้ตรงจังหวะ และในบางคร้งั วัตถุอาจ กำ�ลงั เคล่อื นไหว การจับภาพเคล่ือนไหวสามารถช่วยสอ่ื ว่าวตั ถกุ ำ�ลังเคลื่อนไหว ท้ังยัง สามารถถา่ ยทอดอารมณข์ องการตงั้ ค่า ขณะถ่ายภาพเคลือ่ นไหว สง่ิ ส�ำ คญั ท่ตี อ้ งค�ำ นึง ถึงคือความไวชัตเตอรแ์ ละรรู บั แสง ความไวชตั เตอร์คือการวัดระยะเวลาท่ีกล้องเปดิ ชตั เตอร์ โดยจะแสดงเป็นวนิ าที เชน่ 1/500s, 1/15s, 1 วินาที 10 วนิ าที เปน็ ตน้ ย่งิ ความความไวชตั เตอร์สูงขึ้นเท่าไหร่ ระยะเวลาทเี่ ซ็นเซอร์ภาพของกล้องเปดิ รับแสงกจ็ ะ ยิ่งสัน้ ลงเท่าน้ัน คณุ สมบัตนิ ้ีส่งผลกบั ลกั ษณะความเคลื่อนไหวในภาพถ่ายของคุณ
50 บทที่ 7 เทคนิคการถา่ ยภาพเคลือ่ นไหว กอ่ นทจ่ี ะเลอื กความไวชตั เตอร์ ใหก้ �ำ หนดปรมิ าณการเคลอ่ื นไหวท่คี ณุ ต้องการจบั ภาพ หากต้องการ “หยุดภาพ” วัตถุท่เี คล่อื นไหวอยา่ งรวดเร็ว ลองใชค้ วามไวชัตเตอร์สูง เชน่ 1/250 วนิ าที หรือสงู กวา่ นนั้ ความไวชตั เตอรต์ �ำ่ เช่น 10 วินาทอี าจท�ำ ให้ภาพถา่ ยของ คณุ พรา่ มัว ซงึ่ จะให้ความรสู้ กึ ของการเคล่อื นไหว หากคุณใช้ความไวชตั เตอรต์ �ำ่ ในการ จบั ภาพการเคลื่อนไหวของวัตถุ คณุ อาจต้องใชร้ รู ับแสงทแ่ี คบลงเพอ่ื ป้องกันไม่ให้ภาพ เปิดรบั แสงมากเกนิ ไป ระยะหน่วงชัตเตอร์ คือเวลาท่หี นว่ งช้าหลังจากกดปุ่มลน่ั ชัตเตอรบ์ นกล้อง กอ่ น ท่กี ล้องของคณุ จะถา่ ยภาพจรงิ ใช้ปุ่มล่ันชัตเตอรท์ �ำ งานสองขณะของกลอ้ ง DSLR เพื่อ ล็อคโฟกัสท่ีวตั ถุก่อนที่จะถา่ ยภาพ โหมดออโตโฟกสั ต่อเนอื่ งจะคอยปรบั โฟกสั ตดิ ตามความเคล่ือนไหวของวตั ถุ ตลอดเวลาในระหวา่ งที่คุณกดปุ่มกดชตั เตอร์ลงไปครงึ่ หนึ่งคา้ งไว้ ซึ่งเป็นประโยชนอ์ ยา่ ง ย่ิงส�ำ หรบั วัตถุที่เคลือ่ นไหวตลอดเวลา การจับภาพเคล่อื นไหวอีกวธิ ี คอื โหมดถ่ายภาพ ต่อเนอื่ ง โหมดถา่ ยภาพนจี้ ะทำ�งานรว่ มกับโหมดออโตโฟกัสต่อเนือ่ งไดเ้ ป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังสามารถปรบั เลนส์ของคณุ ใหเ้ ป็นแมนนวลโฟกสั ซง่ึ จะชว่ ยลดระยะ หน่วงที่เกดิ จากการโฟกสั อตั โนมัติ โดยจะใชไ้ ดด้ ีท่ีสดุ เม่อื วัตถุของคณุ รักษาระยะหา่ ง คงทีจ่ ากกลอ้ ง การจบั ภาพเคล่อื นไหวตอ้ งมกี ารฝึกฝนและใชค้ วามอดทน การทำ�ความ เขา้ ใจวา่ การตง้ั คา่ ความไวชตั เตอร์ รูรบั แสง และวิธีการโฟกสั ท่แี ตกต่างกนั สง่ ผลตอ่ ภาพ ของคุณอย่างไร จะชว่ ยให้ไดภ้ าพทค่ี ณุ ตอ้ งการได้ บทความท่เี ก่ยี วข้อง
บทที่ 8 ศลิ ปะการเลา่ เรื่อง 51 บทท่ี 8 ศลิ ปะการเลา่ เรอ่ื ง
52 บทท่ี 8 ศลิ ปะการเลา่ เร่อื ง บทท่ี 8 ศิลปะการเล่าเรอื่ ง A STORYTELLER ศลิ ปะการเล่าเรอื่ ง ทม่ี ีปัญหาการคิดไอเดีย คดิ ไม่ออก คิดออกเยอะไปกรอบไม่ถูก ผทู้ ่ีมีปัญหาในการเล่าเร่อื ง เล่าไม่รู้เรอ่ื ง พดู วกวน เขยี นออกทะเล นกั สือ่ สาร ผู้ผลติ สือ่ ทต่ี อ้ งการสร้างการส่ือสารด้วยเร่ืองเลา่ และ การเลา่ เรื่อง ครูผู้สอนท่ีตอ้ งการสรา้ งความเช่อื มโยงกับนกั เรียน ผทู้ ีท่ ำ�ธุรกจิ ต้องการเรียนรู้และพัฒนาการสื่อสารทางธุรกจิ เพอ่ื สร้างความความ สมั พันธ์กับผูต้ ดิ ตาม (ลกู คา้ ) และเพอื่ การตลาด นักพดู นกั ขาย นกั เขียน และผทู้ ่ตี อ้ งพรีเซนต์งาน Who ? บุคคลทั่วไปท่ตี ้องการพัฒนาการสือ่ สารด้วย Storytelling เพอื่ นาไปพัฒนาการ ทางานและการส่ือสารชนดิ ต่าง ๆ STORIES STRUCTURE โครงสร้างของ เรอ่ื งเลา่ สงิ่ ทีช่ ่วยใหเ้ ราเลา่ แลว้ ไม่ออกทะเล ความเขา้ ใจใน structure หรอื การมองให้ออก จดั วางให้เป็น รหู้ น้าที่ ของแตล่ ะส่วน และรู้วา่ อะไรหายไป หรือจะแก้ไขตรงไหนยังไงตา่ งหาก คอื คำ�ตอบของเรา structure โครงสรา้ ง’ ของเรอ่ื งเล่า ลองส�ำ รวจดู เคยมมี ยั๊ อาการท่ีว่า..ออกทะเล ไหม เพราะทะเลกว้างทีม่ องไม่เห็นฝ่งั พอมองไมเ่ หน็ ฝั่งก็ คอื ไมร่ ้ทู ศิ ไอเดียยงั พวยพงุ่ ความ ตงั้ ใจนน้ั ยงั เต็มเป่ียมแตป่ ญั หาคอื ..ไม่รู้จะว่ายน้าไปทางไหน ต่างหากจึงจะถึงฝงั่ ท่ี ต้องการ ฝง่ั ท่ีตอ้ งการ คอื ‘ความหมาย’ ท่ีเราอยากสอ่ื ให้คน เข้าใจไมใ่ ชเ่ ราเลา่ ได้เอง สนุกเอง
บทท่ี 8 ศิลปะการเล่าเรื่อง 53 ออกทะเล ถ้าเคยเราย่อมรดู้ วี ่าสิ่งท่ตี ้องการมากที่สุดตอนน้นั คือ “ทศิ ทาง หรือเกาะแกง่ แผนที”่ ท่ีจะทาให้คุณค่อย ๆ วา่ ยน้�ำ ไปตามทางสู่เกาะทีละเกาะ จนค่อยๆ เดินทางผ่าน ทะเลไปสูฝ่ งั่ ทีเ่ ปน็ เป้าหมายได้ เกาะแก่งเหลา่ น้ัน คอื Structure และ การเขียนแผนที่ คอื Storytelling Tool s& Skillsหรอื อปุ กรณค์ วามคิด หนา้ ท่ี และวิธีใชม้ ัน แล้วถา้ เคยมอี าการ ออกทะเล ใน ‘เรื่องเล่าทม่ี คี วามแข็งแรง’ ทกุ ประเภท ไมว่ า่ จะเป็น ขอ้ เขยี น บทพูดเวที เร่ืองแตง่ บทหนงั บทพรเี ซนตส์ ินค้า พูดขายของ บทสัมภาษณห์ รือ คอลมั น์ตา่ ง ๆ นั้น หาก ‘ชาแหละ’ ออก และมองใหช้ ดั แล้ว ย่อมตอ้ งเจอ ‘โครงสร้างและองค์ประกอบ’ หลายอย่างทีม่ คี วามเปน็ สากล และส่ิงเหล่ามนั ยอ่ ม สามารถอธบิ ายออกมาเปน็ เรือ่ งของ ทักษะการเล่าเรอื่ งได้เสมอ ตรงจุดน้ที �ำ ให้ ศิลปะกลายเป็นศาสตร์ และ ศาสตร์ กลายเป็นศิลปะ คือ การมชี ดุ ความรู้ ที่สามารถอธบิ ายได้อยู่ แต่คนฟงั รูส้ กึ และคดิ ไปอีกเร่อื ง บทสรปุ จงึ ไมใ่ ช่แค่เรอ่ื งของพรสวรรค์เฉพาะคน เร่อื งอารมณ์ลน้ ๆ เร่ืองเพ้อๆ คิดเอง หรอื แมแ้ ต่เรอื่ งเล่าไปตามความฟนิ ของใจฉนั อยา่ งทเ่ี ราเขา้ ใจอีกตอ่ ไป แต่คือ ความเขา้ ใจ ในการออกแบบเรอ่ื ง , ความสมดลุ ของเรอื่ ง ปัญหาของเรอื่ ง และเขา้ ใจกลไกทเ่ี รอ่ื งเล่า ขับเคลือ่ นตวั เร่อื งไปอยา่ งมีความหมาย โดยทสี่ ามารถวิเคราะหอ์ อกได้ สามารถมองส่งิ ที่ ขาดสงิ่ ท่ีเกนิ หนา้ ที่ออก รวู้ า่ เรา อย่ตู รงไหนของปัญหา และรู้ว่าจะแก้ปญั หานน้ั ด้วยอะไร ซง่ึ สิ่งเหล่านี้คือความรู้ และความร้ทู ่มี หี ลกั ยอ่ มสามารถอธิบายได้ บอกกล่าวกัน ได้ และ แนน่ อนสามารถนามาปรบั ใช้กบั การทางานแบบตา่ ง ๆ ไดส้ ุดท้าย คอื ค�ำ ตอบของเรา เพอื่ จดุ ประกายและเติมพลงั คนทีอ่ ยกู่ ลางทะเลได้ ‘ทกั ษะการเล่าเรอื่ ง ทกั ษะน้คี ือการทาความเขา้ ใจวา่ “ศิลปะการเลา่ เร่อื ง” ไม่ใช่ แค่การเอาเร่อื ง มาเลา่ เทา่ น้ัน และ “เร่ืองเล่า” ก็ไม่ได้ หมายถงึ ไวรสั คลิป หนงั โฆษณา หรอื การพดูบนเวทเี ท่านนั้ “การคิดแบบเร่ืองเล่า”
54 บทท่ี 8 ศิลปะการเลา่ เร่อื ง Think As Story Form หมายถงึ “กระบวนการทางานทาง ความคดิ ” ท่ซี อ่ นอยู่ทุกการสอ่ื สารทั้งหมดที่ เราใช้เชือ่ มตอ่ กนั และสรา้ งความสัมพันธก์ นั ทุกแบบ “ศลิ ปะการเล่าเรื่อง” Storytelling Art & Skills การศกึ ษา Storytelling Art & Skills นน้ั โดยพ้ืนฐานแลว้ เกี่ยวขอ้ งกบั “การคดิ ในแบบของเรอ่ื งเลา่ ” โดยตรง “การคิดในแบบของเรือ่ งเล่า” คือ “หัวใจส�ำ คัญ” และเป็นรากฐานของส่วน อืน่ ๆ ในศลิ ปะการเลา่ เรือ่ งทง้ั หมด Issues Management การจัดการความรู้ เพ่ือวิเคราะห์ปัญหา ทาความเขา้ ใจโจทย์ การมอง หาประเดน็ (Issues) สรา้ งสรรคไ์ อเดยี Create Original Ideas การดดั แปลงไอเดยี ให้ กลายเป็น “ไอเดียตน้ แบบ” ของเราเอง Shape up Stories การพัฒนาไอเดียต้นแบบ ให้ กลายเปน็ “เร่ืองเลา่ ” ได้ Build up Stories การออกแบบโครงสร้างเรอ่ื งใหแ้ ขง็ แรง (Structure) การสรา้ งจงั หวะเรื่องที่ สรา้ ง “อารมณ์ร่วม” (Empathy) การสรา้ งแนวเรื่อง (Genre) การสร้างเส้น เรือ่ งแบบตา่ ง ๆ (Story lines) และการ ออกแบบ “ไคลแมก็ ส์” เพื่อใส่ “Message”ท่เี ราต้องการใหผ้ ้รู บั ค้นพบ ลงไปอย่างแนบ เนียน Reaching a Message การเล่าเรอ่ื งออกไป (พูด /เขยี น /ภาพ /สถานการณ)์ เพอ่ื เลา่ เร่ืองให้ไหลลืน่ ในส่อื (Media) ที่แตกต่าง เพื่อส่งเร่อื ง เขา้ ไปกระทบใจคน Art Of Telling ทกั ษะและศลิ ปะในการนาการเลา่ เรือ่ งไป ปรบั ใช้ แกป้ ัญหาการสอ่ื สาร ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ของตัวคุณเอง หรือองค์กรหรอื เพจส่อื สารของคณุ Solve & Change การสร้างและดแู ล “ความสัมพนั ธ”์ หรอื โลกเลก็ ๆ ที่เรามีร่วมกนั ใน ใจกับ ผ้ตู ดิ ตาม ผู้อา่ น ผู้ฟงั คนดูหรือลกู คา้ ของเรา Connection & Relationship
บทที่ 8 ศลิ ปะการเลา่ เร่ือง 55 A STORYTELLER ศิลปะการเล่าเรอื่ ง “ทกั ษะ” น้ันย่อมวา่ “ฝึกฝน” ได้ จากความคิดท่กี ระจัดกระจายกลายเป็น ‘ไอเดีย’ ที่มที ิศทาง จากเขยี นไม่ออก พูดไม่ เขา้ ใจ ..กลายเปน็ เชื่อมเรอ่ื งสดในหัวและ ‘เล่า’ ออกมาได้ ภาพรวมจากการสอื่ สารที่คดิ ว่าส่งิ ที่ตอ้ งทามีแค่ คิด เขยี น พูด สรา้ งภาพ เราจะค้นพบ สิง่ ทส่ี �ำ คญั กวา่ คือ ‘วิธมี องปัญหา’ ‘การออกแบบความคดิ ’ และ ‘กลไกของเรอ่ื งเลา่ ’ ท่ีทางานอย่เู บือ้ งหลังการ เลา่ เรื่องที่มีพลงั และเป็นพ้นื ฐานของสร้างทักษะ “ความเป็น นกั เลา่ เร่ืองในตวั ” เพ่ือสอื่ สารให้ได้ ความหมาย เกิดอารมณร์ ่วม และปลกู สร้างความคิด ลงไปในใจผู้คน ภาพรวมเนอ้ื หา และ สิง่ ทจ่ี ะไดเ้ รยี นรู้ A STORYTELLER ศลิ ปะการเลา่ เรอ่ื ง Story World รู้จกั โลกของเรอ่ื งเล่า นักเล่าเร่ือง และพลังของเรื่อง เลา่ Human Connection : เรยี นรูแ้ ละเข้าใจธรรมชาตขิ องส่งิ ที่ เรยี กวา่ Story ศลิ ปะและ กระบวนการ การเชือ่ มโยงความคิด ปลูกความคิดในใจคน รวมถึงพลังของเรือ่ งเลา่ ที่นกั เล่าเรื่องใช้เพอ่ื ช่วยเหลอื แกไ้ ข เปล่ียนแปลงความคิดจติ ใจของผูค้ นหวั ข้ออบรม Fact Truth & Stories ทาความเข้าใจมมุ มองของการส่ือสาร ดว้ ยเรื่องเลา่ ดว้ ยการเข้าใจ การทางานและการเชื่อมโยงของขอ้ มลู ความจรงิ และเรอื่ ง STORY WORLD โลกของเรือ่ งเลา่ Power of Stories : ทาความรู้จกั “ทกั ษะการเลา่ เรอ่ื ง” กญุ แจส�ำ คัญ และพลัง ทซี่ อ่ นอยใู่ นการส่ือสารตา่ ง ๆ รอบตัวเรา และส่งิ ทีเ่ รยี กว่า “พลังของการเลา่ เรื่อง” หรือ พลงั ของการสอ่ื สารทสี่ ามารถ “จบั ใจ” คนและส่งตอ่ “ความหมายสำ�คัญ” และสร้าง ความเปลยี่ นแปลงได้ดีทสี่ ดุ ทง้ั ในการงานธุรกจิ และชีวิตประจาวันของเรา Storytelling Art & Skills :เข้าใจถงึ กระบวนการทั้งหมดของ “ศลิ ปะและทักษะการเลา่ เรอ่ื ง” ทมี่ อี ยูใ่ นการทางานสอื่ สารของเรา ทั้งของแบรนด์ องคก์ ร หรือ ตวั เราเอง
56 บทที่ 8 ศลิ ปะการเลา่ เร่อื ง Think as Story Form : การคิดในแบบของ เร่ืองเล่า พืน้ ฐานของการส่อื สารให้ สัมผสั ลึก และการคดิ ใหไ้ หลลื่นเวลาท่ีตอ้ งหาสือ่ สาร และคาตอบว่าทาไมเราตอ้ งเลา่ เร่อื ง Original Ideas : การสรา้ งออรจิ ินัลไอเดีย และ การทาความเขา้ ใจตัวเอง (องคก์ รและ แบรนดต์ นเอง) DESIGN THINKING & CREATE IDEAS MESSAGE & CONTENT : เขา้ ใจ Messageชนดิ ตา่ ง ๆ ทีซ่ ่อน และประกอบอยใู่ นการสอื่ สารของเรา และทาหนา้ ที่ ส่ือสารเนือ้ หา และความหมายทีแ่ ตกต่างกัน Meaningful Message : การส่ือสารที่ “สมั ผัสลึก” นัน้ เกดิ จากอะไร?ทาไมเราจึงจ�ำ เปน็ ต้องมกี ารส่ือสารในแบบตัวเอง? Stories Tool & Skills เรียนรู้ความเขา้ ใจ ‘โครงสร้างของเร่ือง เล่า’ และ ‘องคป์ ระกอบ สากล 8 ส่วน’ ทมี่ ีอย่ใู นเรอ่ื งเล่าทกุ แบบ ทั้งขนาดส้ันและยาว เชน่ Slogan , Pitching Stories , หรือเร่ือง เล่าที่มอี งค์ประกอบขนาดใหญอ่ ย่างบทภาพยนตร์ หรอื นวนิยาย เข้าใจการทางานที่แตกต่างกนั ว่าอะไรคอื ส่ิงที่ทาใหเ้ ร่ืองราวมี ความแขง็ แรงในใจผรู้ บั เรยี นรู้ทาความเขา้ ใจวา่ อะไรทาใหเ้ กดิ ความสนใจโดยเร็วในผูร้ บั อะไรทาให้เกดิ การ เชือ่ มโยงใกล้ชิดผู้รบั อะไรทาให้เกิดความเขม้ ข้นของเรอื่ ง การสร้างอารมณ์รว่ ม หรือ อปุ กรณ์ความคดิ อะไรทีช่ ว่ ยใหน้ กั เล่าเร่อื งสามารถดดั แปลงเรื่องให้ ยาวขึน้ หดเรื่องให้ ส้นั เน้นเร่ืองเพม่ิ สว่ นขยาย STRUCTURE 8 ELEMENTS : โครงสร้าง คืออปุ กรณ์สำ�คัญ ปญั หา 2 อยา่ งของการสรา้ งเรอื่ งเลา่ น้ัน คือ “ตัน-สรา้ ง เรอ่ื ง ไมไ่ ดค้ ดิ ไม่ออก” กับ “ฟงุ้ -การคิดออกมากไป เยอะไปจนเลอื ก ไมไ่ ด”้ และการแก้ ปญั หาสองสิง่ นี้ คือ การทาความเข้าใจส่วน ส�ำ คญั ในการกรอบความคิดใหเ้ ป็นเร่ืองเลา่ ท่ี เรยี กวา่ THEME และ GENRE THEME : ทาความเขา้ ใจเรอื่ งของแกน่ เรอ่ื งใหม่ และเนยี นร้กู ารสรา้ ง THEME ที่ จบั ตอ้ งได้ และ นามาใช้ “กรอบเร่อื ง” เพื่อสรา้ งเร่ืองได้
บทท่ี 8 ศิลปะการเล่าเรือ่ ง 57 STORY FRAME : กรอบความคิด..ให้ กลายเป็นเร่ืองเล่า GENRE : เร่อื งเล่าทุกเรือ่ งสามารถเล่าไดใ้ นทกุ : อารมณ์แตกต่างกันไป เรยี นรพู้ ื้นฐานของการ ออกแบบ “แนวเรอื่ ง” เพ่อื ดัดแปลงเรือ่ ง เลา่ (เร่อื งเดิม) ใหเ้ ล่าได้ในแนวทางตา่ ง เชน่ แนวโร แมนติก ตลก ชวนคิด แอค็ ช่ัน และ อืน่ ๆ เรียนรู้การออกแบบจงั หวะสำ�คญั ของเร่อื งเลา่ ทเ่ี รยี กวา่ climax ซงึ่ เป็นจังหวะที่ นกั เล่าเรอ่ื งใชอ้ อกแบบเพือ่ ในการ ใสค่ วามคิดลงไปในใจผ้รู บั อย่างแนบเนียนและยินยอม พรอ้ มใจ พรอ้ มเรยี นรวู้ ธิ ี จงั หวะ การออกแบบ และ กระบวนการใส่ Message ทเี่ รา ตอ้ งการสือ่ ลงไปในเร่ืองให้ เกดิ ความรู้สกึ ร่วม เกิดความเขา้ ใจ ไม่เกิดการยดั เยียด และ เปิดพ้ืนทใ่ี หผ้ ู้รบั จินตนาการตอ่ (ในทศิ ทางทีเ่ รา ต้องการ) DESIGN CLIMAX : พาผู้รับไปสู่ “ไคลแมก็ ส”์ Into Stories ฝึกฝนและเขา้ ถงึ การสัมผสั ประสบการณก์ าร “เข้าสเู่ รื่อง” การจบั ประเด็น การครีเอทเพิม่ เติม การประคบั ประคองทศิ ทางการ เลา่ เรอื่ ง และการนาออก มาเป็นการพดู และเขียน Internalizing Stories การเลา่ เร่อื งไมใ่ ช่แคก่ าร บอกออกไป แต่มันคอื อะไร ? ทาความเขา้ ใจส่งิ ท่ี เรียกวา่ การประคองเรือ่ ง การรวบรวมเรอ่ื ง การ เชือ่ มโยง การสร้างจงั หวะ และให้ความหมาย INTO STORY EXPERIENCE : ประสบการณก์ ารเขา้ สู่เรอ่ื ง เลา่ POWER OF NARRATIVE : พลังของการบรรยาย แรง ดงึ ดดู ตอ่ ผู้อ่าน / ดู / ฟงั และเทคนคิ การบรรยายจากสว่ น ต่าง ๆ ของโครงสร้างเร่ือง Modify Stories : เรยี นร้กู ารดัดแปลงเรอ่ื งเพื่อสามารถ เล่าขอ้ มลู หรือเรือ่ งเดยี วกับคน อ่ืนดว้ ยเวอร์ช่ันในแบบของ เราเอง
58 บทท่ี 8 ศิลปะการเลา่ เรื่อง ชีวิตทกุ คนคอื เร่อื งเลา่ ขนาดยาวทซ่ี ่อน เรือ่ งทมี่ แี พลงและโครงสรา้ งท่แี ขง็ แรง ไวใ้ น นน้ั มาลองคน้ หา “เร่ืองราวทีม่ ีพลังท่ี ซ่อนอย่ใู นตวั คณุ ” เรอ่ื งต้นแบบของคุณ (Original) ซ่ึงมีความพเิ ศษในแบบคณุ เอง FOUND YOUR POWERFUL ORIGINAL STORIES TO TELL นักเล่าเร่ืองทกุ คนมธี รรมชาติและความ ถนดั แตกต่างกันไป ลอง ทาแบบทดสอบ “ลกั ษณะความเปน็ นกั เล่าเรื่องที่ซ่อนอยู่ ในธรรมชาติของตัวคณุ ” เพอื่ เห็นความ เป็นนักเลา่ เรือ่ งในแบบตัวเองมากยงิ่ ขึน้ WHAT KIND OF STORYTELLER WITHIN YOU เม่อื ตอ้ งสร้าง “สือ่ ข้ึนมาใหม่” สรา้ งการรจู้ ักใหม่ เพราะ ‘การเลา่ เรื่อง’ อยูร่ อบตัวเรา การสรา้ งสื่อขึ้นมาใหม่ใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั ใหมไ่ ม่ใช่เรอ่ื งง่าย เพราะมีสือ่ ประเภท เดียวกบั เรา (หรืองานของเรา) จานวนมาก ดงั นน้ั เราจาเป็นต้องเข้าใจการออกแบบสรา้ ง “สถานเี รือ่ งเลา่ ” Stories Station ในแบบของเราใหช้ ัดเจน เขา้ ใจ “แผนทีก่ ารเลา่ เรอ่ื ง” (Stories Map) หรอื ลาดับการปลอ่ ยเรอื่ งเลา่ ชนดิ ต่าง ๆ เพอื่ สรา้ งการรจู้ ักใหม่ และ เข้าใจ “ระดับความสัมพนั ธ”์ ชนดิ ต่าง ๆ เพอ่ื สร้าง ประเด็นสอ่ื สารใหส้ อดคล้อง ตามขั้นตอน และเราต้องรวู้ ่าควรเลา่ ข้อมลู ชุดไหนก่อนหรือหลัง ร้วู ธิ สี ร้าง “ประเดน็ ” (Issues) ใหก้ ลาย “ไอเดีย” (Original ideas)พฒั นาไอเดยี ให้กลายเปน็ “เร่ือง” (Stories) และรวู้ า่ เร่ืองประเภทตา่ ง ๆ นั้นมีวิธีเลา่ อย่างไร (How to tell) การคิดไอเดียไมใ่ ชแ่ คก่ าร Re-action กับกระแส และไมใ่ ชแ่ ค่หา ของแปลกมา เรียกรอ้ งความสนใจ เพราะหลาย ๆ ครง้ั เรทต้งิ ทีไ่ ด้ จากการทาเชน่ น้ันคือ เรทตง้ิ ท่ีไมม่ ี ความหมาย และอาจทาลาย การส่อื สารเพ่ือเปา้ หมายของเราดว้ ย ดังน้ัน เมื่อต้องครีเอทเดียใหม่ ๆ ขน้ึ ทกุ วัน เราจงึ จาเปน็ ตอ้ งรูว้ ิธี ‘ออกแบบ กรอบคดิ ’ เพือ่ สร้างไอเดียของเราเอง (Design thinking) รู้วิธดี ดั แปลงไอเดยี ใหมจ่ าก ข้อมลู เกา่ รู้กลไก การทางานของ “เร่อื ง” (Story Structure) รู้อุปกรณค์ วามคิด และ ร้วู ิธกี ารใช้งานมันเพอื่ “เล่นหาไอเดยี ใหม่ ๆ” (Tool& Elements) ออกมารบั ใช้ปัญหา และตอบเปา้ หมายทแ่ี ทจ้ รงิ ของ การมาสอื่ ของเราตอ้ งคิด“ไอเดยี ส่ือสาร”
บทท่ี 8 ศลิ ปะการเล่าเรอื่ ง 59 ใหมท่ ุกวัน การพูดต่อหน้าผ้คู น ไมใ่ ชก่ ารตอ้ งทาตัวมน่ั ใจเกินธรรมชาติ หรือการ พยายามเลน่ มขุ (ท่ีมักฝืด) แตก่ ารพูดสอ่ื สารคอื การ “พาคนฟงั ไปเทีย่ ว ในความคิดด้วย กัน” ตา่ งหาก ดังน้ัน เม่ือต้องนาเสนองาน แนะนาตัวเอง หรือเล่าเร่อื งในทป่ี ระชุม เราต้องรู้วิธี ส่ือสารผ่าน “การพดู เลา่ เรอื่ ง” เพือ่ สรา้ งจนิ ตนาการในใจ ผู้ฟงั (light up imagination) รจู้ ัก “เรอ่ื งเล่าหลายประเภท” (Stories & Source) ท่ีหยบิ นามาใช้ได้ รวู้ ิธี “เลอื ก เรือ่ งเลา่ ” วา่ เร่อื งชนิดใด สง่ ผลอะไร ร้จู กั การใชพ้ ื้นทใ่ี ห้เหมาะสม ร้จู ักการเขา้ ไปใน เรอ่ื ง “เพอ่ื ยืดหรือขาย เรื่อง” รู้จกั “วิธีเลา่ แบบต่าง ๆ” และรู้วธิ ี “เช่อื มโยงความคิด” (Tuning Audience) เพือ่ ให้ผู้รับเกดิ การเชือ่ มโยง เกดิ อารมณร์ ่วม ตอ้ งพดู เล่าเรื่องตอ่ หน้าผคู้ น เราเขยี นสือ่ สารกบั ทกุ วนั แต่มกั มปี ัญหาเร่อื งครีเอทไอเดีย หลงทางออกทะเล สน้ั ไป ยาวไป ไม่ได้สาเนยี ง และไมส่ ่ือสาร เปา้ หมาย ดงั นน้ั เมือ่ ต้อง“เขยี นเลา่ เรอื่ ง”เราต้องรวู้ ธิ ีครเี อทเรือ่ งเล่าใหม่ ไม่ต้องรอกระแส รวู้ ิธีการเขยี นท่แี ตกตา่ งกนั ระหว่างบทความ รวี วิ บนั ทึกประสบการณ์ วิจารณ์ สมั ภาษณ์ เขยี นข่าว โฆษณา แฝง เรอื่ งเลา่ ประวตั บิ คุ คล เร่อื งประกอบภาพ สโลแกน ร้กู ลไก การทางานของการเลา่ เร่ืองเพ่อื “ยืด ตดั ขยาย กระชับ” (Continum)เรือ่ งราวน้นั รู้ วธิ ใี ส่ขอ้ มูลส่อื สาร (ThemeState & Debate) และสรา้ งแนวทางการเขียนแบบเป็น ธรรมชาติ มีสาเนียงตนเอง (Original Style) เขียนเรอื่ งเลา่ ” หลากหลายรูปแบบ การสรา้ งส่อื เพื่อประชาสัมพนั ธ์ โปรโมทหรือโฆษณานัน้ ไม่ใชก่ ารยดั เยียดความคดิ แต่ คอื การสรา้ ง “ความสัมพนั ธ์ที่เปน็ ขน้ั ตอน” (Building Relationship) ดังนนั้ เราจาเปน็ ตอ้ งเข้าใจสถานการณ์วา่ เรากาลงั อยู่ในเป้าหมายใด เช่น สรา้ งการตระหนกั สร้างการ ตัดสินใจ หรือสรา้ งการผูกมนั หรืออน่ื ๆ
60 บทท่ี 8 ศลิ ปะการเล่าเร่อื ง มากกว่าน้ี การสร้างสื่อเรือ่ งเลา่ ชนิดต่าง ๆ เราต้องรู้โครงสรา้ งของเร่อื ง เล่า รจู้ กั “แนว เร่ือง” (Genre) และวธิ ีการเล่าเรื่องแนวต่าง ๆ รู้การเขยี น บท การสรา้ งการสร้างจังหวะ (Rhythm & Acts )ของเร่ืองให้เกิด “ความบันเทงิ ท่รี บั ใช้เปา้ หมาย” รูห้ ลักการเลอื กใช้ สื่อท่เี หมาะสมเพอื่ การสื่อสารแบบ “ไม่ยดั เยียด” และ “ไม่หลงทิศทาง” สร้างความเคลอื่ นไหว ประชาสมั พนั ธโ์ ปรโมทโฆษณาสร้างข่าวบอกเล่าข้อมลู เพราะการประชมุ หน่ึงคร้งั คือการเล่าเรอ่ื งชนิดตา่ ง ๆ หลาย เรอ่ื งต่อเนื่องกนั รวมถึงการ ต้องตอบคาถามท่เี ราไม่คาดฝัน ดังนัน้ เราตอ้ งรจู้ ักวธิ สี ร้างบท หรือ “กลยทุ ธเรอ่ื งเล่า” (Story Strategies) รู้ วธิ วี างกรอบคิดเพ่ือควบคุมทิศทางในที่ ประชุมไมใ่ หอ้ อกทะเล สรา้ งอารมณร์ ว่ ม ลาดับ เนอื้ หาทลี ะ ขัน้ ตอน รวมถงึ รจู้ กั วิธี “รวบรวมเรอื่ ง” (internalizing Stories) เพ่อื ตอบ คาถามทีอ่ าจมาในหลายรปู แบบ และ นากลบั เขา้ สู่เร่ืองเดิม เปา้ หมายเดิมให้ไดอ้ ยา่ ง เป็นธรรมชาตนิ าการประชุม แสดงวสิ ัยทศั นเ์ พราะ“สื่อให้เขา้ ใจไมไ่ ด”้ ดังนั้นเมอ่ื เรา ต้องสอื่ สารกับ ทีมงานเพ่ือให้เขาเป็นภาพในหัวภาพเดยี วกับเรา ส่ิงที่เราตอ้ งแม่นยาและ ช�ำ นาญน้นั ไม่ใชก่ ารใช้อำ�นาจ แตค่ อื การ “รู้จักเรื่องเล่าหลากหลายประเภท” Person- al myth ,Folktale ,Anecdote, History อน่ื ๆ ที่นามา ยกตวั อย่างและใชส้ ื่อสารใน สถานการณ์ทลี่ ะเอียดอ่อนได้ รวมถงึ รู้ “วธิ ีเล่า วธิ สี ร้างมุมมอง วธิ สี ร้างจงั หวะของเร่ือง” เพ่ือนาไปสร้างความคดิ รว่ ม และแรงบนั ดาลใจในทมี งาน ได้ ส่ังงานแก้งานตำ�หนิและ ปรบั ปรงุ ผลงานทมี งาน เราตอ้ งรวู้ ิธเี ลา่ เร่อื งเดิมเป็นเรือ่ งใหม่รูว้ ธิ ีรวบรวมเรือ่ งและเลา่ ใหม่ (Re-designing) ร้จู ักการสรา้ งการสื่อสารที่มีจังหวะจะโคน มอี ารมณ์ แตกตา่ ง รูจ้ ัก การยกเรอ่ื งเลา่ เปรียบเทยี บ มคี ลงั เรอ่ื งเล่าเปน็ อุปกรณ์ และรวู้ ธิ ีออกแบบเร่อื งการ สอน ให้ผเู้ รียนคน้ พบคาตอบได้เองโดยมเี ราเป็น ผูช้ ว่ ยเหลอื สอน บอกเลา่ ความรู้ นำ�อบรม เราขายกนั อยู่ตลอดเวลาท้ังตัวเอง ความเชอ่ื ถือ สนิ ค้า บรกิ าร แตอ่ ยา่ งไรก็ตามการขาย ทเี่ รามีกันมองขา้ มคอื การขาย
บทท่ี 8 ศลิ ปะการเลา่ เร่ือง 61 “จนิ ตนาการท่ีผู้รับไดค้ น้ พบ” ในทักษะและศิลปะการเลา่ เรอ่ื งนน้ั เราไม่ได้มองวา่ การ ขาย คอื เทคนคิ ฮาวทู หรือ ‘มนต์วเิ ศษ’ ทีบ่ างคนกล่าวอา้ งว่าแค่ทำ�ตามก็จะเสกไดช้ ่วั ข้ามคืนแตใ่ นทกั ษะการเลา่ เรื่องงเราให้ความหมายของการขายวา่ “การขาย คอื การถกู ซ้ือ” และ “เงนิ หรือการซื้อ” น้ันคือ “หลักฐาน” ของการสือ่ สารสรา้ งความสัมพันธท์ ม่ี ี คุณภาพ”การขาย การสรา้ งการตดั สนิ ใจ วนิ เซนต์ แวนโกะ๊ (Vincent van Gogh) https://www.takieng.com/stories/4132
บรรณาณุกรม 62 บรรณาณุกรม
63 บรรณาณกุ รม บรรณาณกุ รม ณฐั กร สงคราม.(2557).การถ่ายภาพ เทคนิคและการนำ�ไปใช้เพอื่ การสือ่ สาร กรุงเทพฯ https://issuu.com/nutthakorns/docs/photo_chapter_8 ธญั วดี กำ�จัดภยั คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วนิ เซนต์ แวนโกะ๊ (Vincent van Gogh) https://www.takieng.com/stories/4132 วีรนจิ ทรรทรานนท.์ (2537). เทคนคิ การถา่ ยภาพทวิ ทัศน์ กรุงเทพฯ : ส�ำ นกั พมิ พเ์ อม็ ไอ เอส Kapook. Camerawaystyles สืบคน้ เมือ่ 15 พฤษภาคม 2562 https://sites.google.com/site/camerawaystyles Nikon Corporation.(1988). สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2562 http://www.nikon.co.th/th_TH/nikon_school/nikon_school the-than. สบื ค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2562 http://www.the-than.com/Gallery/ZphotoZ/19.html
Search