๒ ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของสถานศึกษา 1. ข้อมลู ทวั่ ไป โรงเรียนวิเชียรชม ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครสงขลา เลขท่ี 10 ถนนวิเชียรชม ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการมีเน้ือท่ี 9 ไร่ 45 ตารางวา ทาการ สอน 2 ระดับคือ ระดับก่อนประถมศึกษา(ช้ันอนุบาลปีที่ 3) และระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 –6 นางกมลาศน์ ศรประสิทธิ์ รับตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน โทรศัพท์ 074 – 311199 โทรสาร 074 – 311551 website : www.wccschool.ac.th ลกั ษณะของชมุ ชนโดยรอบสถานศึกษา สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจของประชากรในเขตเทศบาลนครสงขลาโดยเฉลี่ย คอ่ นขา้ งดเี ฉล่ยี ต่อหวั ประมาณ 55,000 บาท/ปี ประชากรส่วนใหญ่มอี าชพี ประมง คา้ ขายและรบั จ้าง สภาพสังคม โรงเรียนวิเชียรชมต้ังอยู่ในใจกลางเมืองสงขลา ชุมชนมีความสัมพันธ์กับ สถานศึกษา ดีมาก โดยมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (หลักสูตรสถานศึกษา) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้กับนักเรียน มีมูลนิธิคือ มูลนิธิสมบูรณ์-ชูชาติ ประธานราษฏร์นิกร และมูลนิธิคุณหญิงพูนสุข ประธานราษฏร์นิกร ปรชี าพานิช สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศมี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนและฤดูฝนมีฝนตกตลอดปี มีลม มรสุมตะวันออกเฉยี งใต้และลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือพัดผ่าน การคมนาคม การคมนาคมสะดวกมีถนนลาดยาง การคมนาคมส่วนใหญ่ใช้รถยนต์ ปริมาณจราจรหนาแน่น สถานศึกษาต้ังอยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอเมืองสงขลาและศาลากลางจังหวัด สงขลาประมาณ 1.5 กโิ ลเมตร สถานที่ท่องเท่ียวและแหล่งเรียนรู้ สถานท่ีท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ เช่น ชายหาดสมิ หลา สวนสองทะเล หาดชลาทัศน์ พิพิธภัณฑส์ ถานแห่งชาติสงขลา เขานอ้ ย เขาตงั กวน กาแพงเมือง เก่าสงขลา พิพิธภัณฑ์สัตว์น้าเทศบาลนครสงขลา สะพานติณสูลานนท์ เกาะยอ บ้านศรัทธา วิทยาลัย สารพัดช่างสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นต้น อาณาเขต ทศิ เหนือ จดทด่ี ินเอกชน ทิศใต้ จดถนนไทรงาม ทิศตะวนั ออก จดชุมชนวดั ไทรงาม ทศิ ตะวนั ตก จดถนนวิเชยี รชม วิทยาลยั สารพดั ชา่ งสงขลา การจดั การศึกษา โรงเรยี นจัดการศกึ ษา 2 ระดับ คือ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา (อนบุ าลช้ันปีที่ 3) ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 - ประถมศึกษาปีท่ี 6
๓ ระดับประถมศึกษาได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการให้เปิดโครงการจัดการเรียนการ สอนหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) ระดับช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 1-ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 12 ห้องเรียน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และโครงการห้องเรียน พิเศษด้านวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (SMA) ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4- ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 3 ห้องเรยี น ในปพี .ศ. 2548 การจัดช้ันเรียน ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นจัดช้ันเรียน ดังน้ี 1. ระดับประถมศึกษา (หลักสตู รปกติ) จานวน 36 หอ้ งเรียน 2. ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตรสองภาษา) จานวน 12 ห้องเรยี น 3. ระดบั ประถมศกึ ษา (หลักสตู รวทิ ย์-คณติ ) จานวน 3 หอ้ งเรียน 2. ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา ประเภท/ตาแหน่ง ตา่ กว่า ป.ตรี จานวนบคุ ลากร (คน) รวม ป.ตรี ป.โท ป.เอก ๑.ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 1 1 4 ผอู้ านวยการ 1 78 รองผู้อานวยการ 24 13 16 รวม 122 61 16 1 4 ๒.ผสู้ อนการศึกษาปฐมวยั 1 5 22 2 9 ๒.๑ ครูปฐมวัย 16 2 ๒.๒ ครอู ัตราจ้าง 100 21 135 ๓.ผสู้ อนระดับประถมศึกษา 4 และ/หรอื มัธยมศกึ ษา 5 ๓.๑ ครูระดบั ประถมศึกษา 9 ๓.๒ ครูระดับมัธยมศกึ ษา 110 24 ๓.๓ ครอู ัตราจา้ ง ๓.๔ ครตู า่ งชาติ รวม ๔.บุคลากรสายสนบั สนุน ครูธรุ การ ลูกจา้ ง อ่ืนๆ(ระบ)ุ รวม รวมทั้งสิ้น
๔ 2.1 สาขาวิชาท่ีจบการศึกษาและภาระงานสอน 2.1.1. วฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี สาขาวิชาเอก จานวน(คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู 1 คน ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชม./สัปดาห)์ ภาษาไทย 13 คณติ ศาสตร์ 8 15 ภาษาต่างประเทศ 9 15 สงั คมศกึ ษา 4 15 วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป 9 15 ชีววิทยา 4 15 การประถมศึกษา 11 15 ปฐมวัย/อนบุ าล 4 15 จิตวิทยาและการแนะแนว 2 15 คหกรรมศาสตร์ 2 15 ภูมศิ าสตร์ 2 15 บรรณารักษ์ศาสตร์ 1 15 พลศกึ ษา 2 15 นาฏศลิ ป์ 2 15 ดนตรไี ทย 1 15 ศิลปะ 1 15 พัฒนาการเด็กและครอบครวั 1 15 การจดั การทว่ั ไป 1 15 คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 2 15 บริหารธรุ กจิ และการบญั ชี 1 15 ดรุ ิยางคศาสตรส์ ากล 1 15 ประวตั ศิ าสตร์ 1 15 82 15 รวม 330
๕ 2.1.2. วุฒกิ ารศกึ ษาระดบั ปริญญาโท สาขาวิชาเอก จานวน(คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของครู 1 คน ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สัปดาห์) การบรหิ ารการศึกษา 13 หลกั สูตรและการสอน 2 15 การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ 1 15 1 15 เศรษฐศาสตร์ 1 15 จิตวิทยาและการแนะแนว 1 15 สถติ ิ 1 15 การสอนภาษาไทย 20 15 105 รวม ภาระงานสอนเฉล่ียของครู 1 คน 2.1.3. วุฒิการศึกษาระดับปรญิ ญาเอก ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์) สาขาวิชาเอก จานวน(คน) 15 15 วจิ ยั และการพฒั นาหลกั สตู ร 1 รวม 1 สรุปอตั ราสว่ น การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดับประถมศึกษา อตั ราส่วนของจานวนผเู้ รยี น : ครู เท่ากบั .....39...... คน.....1.....คน อตั ราสว่ นของจานวนผเู้ รียน : หอ้ ง เทา่ กับ.......39........ คน.......1..........หอ้ งเรยี น มีจานวนครู ✓ ครบช้นั ไมค่ รบชนั้ ในระดับชั้น..........ป.1-6............................. ภาระงานสอนของครู โดยเฉลีย่ ช่วั โมง : สัปดาห์ เท่ากับ....... 15..... ชว่ั โมง ....1...สปั ดาห.์ ... 3. ข้อมูลนกั เรยี นปีการศกึ ษา 2562 ระดับช้นั เรยี น อ.1 อ.2 อ.3 รวม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม รวมทัง้ หมด จานวนหอ้ ง - - 4 4 8 8 8 9 8 8 49 53 - 54 54 151 130 165 175 158 158 937 991 เพศ ชาย - - 66 66 145 155 155 188 178 172 993 1,059 หญิง - 2,050 39 รวม - - 120 120 296 285 320 363 336 330 1,930 เฉล่ียตอ่ ห้อง - - 30 30 37 36 40 40 42 41 39
๖ วิสัยทัศน์ มงุ่ เนน้ พฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ดารงชวี ิตอยา่ งมี ความสุขตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่ความเป็นสากล พร้อมรับการเปลย่ี นแปลงของโลก ศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน วิเชียรชม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. จัดการศึกษาตามโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็น ภาษาอังกฤษ (English Program) 3. จัดการศึกษาตามโครงการห้องเรียนที่จัดการเรียนการสอนส่งเสริมความสามารถทางด้าน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 4. จัดแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาให้เอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียน ศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (Independent Study) มกี ารบูรณาการการเรยี นรู้ สู่ศตวรรษท่ี 21 5. จัดการเรียนรู้ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเน้น การนาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวัน 6. จดั ระบบประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา เพอื่ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดีย่ิงขึน้ 7. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวิต และมี คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์สอดคลอ้ งตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถใช้ภาษาต่างประเทศใน การสือ่ สารและแลกเปลยี่ นเรียนรปู้ ระสบการณท์ ง้ั ในประเทศและต่างประเทศ 9. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การประสานความรว่ มมือระหว่างผ้ปู กครอง องค์กรพันธมติ ร ชุมชน เครอื ข่าย รว่ มพัฒนา กลมุ่ ประเทศอาเซียน นานาชาติ ให้มีสว่ นรว่ มในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการศึกษา สคู่ วามเปน็ สากล 10. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) 11. พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาให้มีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากลในโครงการจัดการเรียนการ สอนตามหลกั สูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) 12. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามโครงการห้องเรียนที่จัดการเรียนการสอนส่งเสริม ความสามารถทางด้านวทิ ยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4-6 13. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม น้อมนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงและมคี วามสามารถตามมาตรฐานผเู้ รยี นโรงเรยี นมาตรฐานสากล 14. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มี คณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 15. พัฒนาระบบบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) และการ จดั การเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานสากล (World-Class Standard)
๗ ส่วนที่ 2 สภาพปัญหา ๑.วิเคราะห์สภาพปัญหา จากการวิเคราะห์สภาพปัญหา บริบท สังคม และชุมชน พบว่าปีการศึกษา ๒๕62 มีนักเรียน 2,054 คน นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 85 ศาสนาอิสลามร้อยละ 13 และศาสนาอื่นๆ ร้อยละ 2 โรงเรียนวิเชียรชมมีเขตบริการ ทั่วจังหวัดสงขลา จึงทาให้นักเรียนมีความหลากหลาย ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ชาติพันธุ์ ลักษณะ ชุมชนโดยรอบโรงเรียน มีสภาพเศรษฐกิจของประชากรส่วนใหญ่ มีอาชีพประมง ค้าขายและรับจ้าง โรงเรียน วิเชียรชม ตั้งอยู่ใจกลางเมืองสงขลา ชุมชนมีความสัมพันธ์กับสถานศึกษาดีมาก มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ให้กับนักเรียน มีมูลนิธิจัดมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่เรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ การคมนาคม สะดวก โรงเรียนตั้งอยู่ห่างจากท่ีว่าการอาเภอเมือง และศาลากลางจังหวัดสงขลา ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ต้ังอยู่ ห่างจากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ประมาณ 6.5 กิโลเมตร แหล่งเรียนรู้ เช่น ชายหาดสมิหลา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลา เขาตังกวน กาแพงเมืองเก่าสงขลา สะพานติณสูลานนท์ เกาะ ยอ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษาสงขลา สวนสัตว์สงขลา สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต่างๆ ทาให้ส่งผลกระทบต่อนักเรียนท้ังทางด้านการเรียนและทักษะชีวิต มีความเสี่ยงต่อสวัสดิภาพและความปลอดภัย ในเรื่องของการเดินทาง สุขภาพจิต ด้านเศรษฐกิจ บางครอบครัวมีรายได้น้อย ไม่พอรายจ่าย ด้านพฤติกรรม สัมพันธภาพทางสังคม ปัจจัยเส่ียงเหล่าน้ีเป็นผลมาจากสภาพครอบครัว มีการหย่าร้าง ผู้ปกครองคาดหวังในตัว เดก็ มากทาให้นักเรียนมีความกดดันสูง ปจั จัยเสี่ยงจากชุมชนและสงั คมทนี่ กั เรียนอาศัย ชุมชนแออดั เส่ียงจาก บุคลิกภาพหรอื ตวั นักเรียนเอง เช่น มขี อ้ จากัดเก่ยี วกับพฒั นาการทางสมองและการรับรู้ ควบคุมอารมณ์ ไม่ได้ รวมท้ังการมีปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต ส่งผลกระทบต่อการเรียนและพฤติกรรมนักเรียน โรงเรียน วเิ ชยี รชมจงึ กาหนดแนวทางในการบรหิ ารจัดการระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งเป็นระบบ ๒.วิธีการแก้ปัญหาของสถานศึกษา เนื่องจากโรงเรียนวเิ ชยี รชมเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษาขนาดใหญ่ จึงได้บริหารจัดการระบบการดแู ล ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นแบบ 5 S’s wcc Administrative Model มีคณะกรรมการดาเนนิ งานอนั ประกอบดว้ ย ทมี นา ทีมทา ทีมประสานงาน และอื่นๆ เพื่อดูแลและพัฒนานักเรียนทุกด้าน ท้ังด้านการเรียน คุณธรรม จริยธรรม โดยกาหนดแผนกลยุทธ์เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมนักเรียนที่พบ ท้ังด้านการเรียน ด้านพฤติกรรม และอ่ืนๆ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ดีนั้นจาเป็นต้องใช้วิธีการบริหารเชิงระบบ (PDCA) และนาแนวคิดทฤษฎี การบรหิ ารงานมาประยุกต์ใช้กับระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนในขน้ั ตอนการวางแผนปฏบิ ัตงิ านเพ่ือสะท้อน แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์และคุณลักษณะนักเรียนตามมาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรียนดังน้ี
๘ ขั้นตอนการวางแผนปฏิบตั ิงาน ขั้นการวางแผน (Plan) 1. วเิ คราะห์สภาพปัจจุบนั ปัญหา โดยวธิ ี SWOT Analysis เพ่ือสรุปประเด็น และวิธกี ารพฒั นา 2. กาหนด การนาผล SWOT Analysis เพอ่ื เปน็ กรอบการปฏิบัตงิ าน ขนั้ ปฏบิ ัตติ ามแผน (Do) ๒.๑ ประชุมครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคน สร้างความรู้ ความเข้าใจ 2.2 ประชุมผ้ปู กครอง คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง และประชุมชัน้ เรยี น 2.๓ ประชมุ ชีแ้ จง ทาความเข้าใจกับนกั เรยี น 2.4 จดั ทาคมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น 2.5 ดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือการจัดกิจกรรมพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมแกน่ กั เรียน ขั้นตรวจสอบ (Check) ๑. นิเทศ ตดิ ตาม กากับดแู ล ๒. ประเมินผลการดาเนนิ งาน ขั้นปรับปรุง (Act) สรปุ ผลการประเมินโครงการ โมเดลรปู แบบการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา 5 S’s wcc Administrative Model โรงเรียนวิเชียรชมไดด้ าเนินการจัดเก็บข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล (Data Management Center: DMC) ซง่ึ ขอ้ มลู นักเรียนรายบุคคล ได้มาจากข้อมูลพ้ืนฐานนักเรียน แบบคัดกรองนกั เรยี น รายบุคคล การเยี่ยมบา้ น การสงั เกต การสมั ภาษณ์นกั เรียนระเบียนสะสม แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก(SDQ) แบบบนั ทึกการสารวจประเภทนักเรียน/จัด กลมุ่ นักเรียน ทาให้ครทู ีป่ รึกษาได้ร้ถู ึงข้อมลู เชงิ ประจักษ์ เขา้ ใจนักเรียนมากขนึ้ จากน้ันนามาเป็นข้อมลู ในการคัด กรองนกั เรยี น จัดเกบ็ เป็นสารสนเทศ นาผลการคัดกรองนกั เรียนมาส่งเสริม ป้องกนั และแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ของ นกั เรียนเป็นรายบคุ คล ได้อย่างถูกต้อง มีการสรปุ ข้อมูลพร้อมทั้งรายงานผลการพฒั นา ปอ้ งกัน แก้ไขปญั หาและสง่ ตอ่ ตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นนาสารสนเทศมาใชใ้ นการพัฒนาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนรายบุคคล
๙ มีการรายงานโครงการทเ่ี สริมสร้างทักษะชวี ิต และการคมุ้ ครองนักเรยี น รายงานผลการดาเนินงานโครงการระบบดูแล ชว่ ยเหลอื นักเรียนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้เกิดความยง่ั ยืน ซ่ึงนักเรียนทุกคนจะต้องได้รับการดูแล ชว่ ยเหลือ พทิ ักษ์ ปกป้อง คุ้มครองอย่างรอบด้านด้วยกระบวนการ ที่ถูกต้อง เหมาะสม และทันเหตุการณ์ ได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เพื่อให้เป็นคนดี เก่ง และมีความสุข วธิ ีการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนครบท้ัง 5 ขัน้ ตอน โรงเรียนได้จัดข้ันตอนการดาเนินงานสอดคล้องทั้ง 5 ขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ผ่านการบริหาร จัดการแบบ 5 S’s wcc Administrative Model เร่ิมจากครูประจาช้ันซ่ึงเป็นคณะกรรมการดาเนินงาน ๕ ขั้นตอน ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น รายงานผลกิจกรรมต่างๆ ตอ่ หัวหน้ากลุ่มช้ัน คณะกรรมการประสานงาน แต่ละกลุ่มช้ันรายงานผลต่อคณะกรรมการอานวยการ ผู้รับผิดชอบในคณะกรรมการอานวยการรวบรวมผล การจัดกิจกรรมต่างๆรายงานต่อผู้อานวยการโรงเรียน คณะกรรมการประสานงานแต่ละกลุ่มช้ันทาหน้าที่ ติดต่อประสานงานทั้งภายในและภายนอกกลมุ่ ชนั้ รวมทั้งกับฝ่ายงานต่างๆ ทั้ง 4 ฝ่าย ที่อยู่ในขอบข่ายงานระบบ การดูแลช่วยเหลอื นักเรียน และฝา่ ยงานต่างๆ ในกลุ่มชั้น หัวหน้ากลุ่มชนั้ ทาหนา้ ท่ีนิเทศงาน ในกลุ่มช้นั ตนเอง ขึ้น ตรงต่อผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา โดยมีวิธกี ารดาเนนิ งานดังน้ี กระบวนการ ๕ ข้นั ตอนในการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน ๑. การรู้จัก • ๓. การส่งเสริม • กิ จ ๕. การส่งต่อ • นักเรียน ๒. การคดั กรอง นักเรียน ๔. การป้องกนั เป็ นรายบุคคล นกั เรียน • และแก้ไขปัญหา • ป ร ๑. การรจู้ กั นักเรียนเปน็ รายบุคคล โรงเรียนจัดให้มีการประชุมผู้ปกครอง โดยผบู้ ริหารได้ประชุมพบปะผู้ปกครอง ให้นโยบายในภาพรวม มอบหมายให้ครูประจาชั้นประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน ให้กรอกข้อมูลพ้ืนฐานนักเรียน รายบุคคล ครูประจาชั้นเย่ียมบ้านนักเรียน การสัมภาษณ์ การสังเกต แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) แบบ บันทึกการสารวจประเภทนกั เรยี น/จดั กลุ่มนกั เรียน แลว้ นามาวเิ คราะหข์ ้อมลู ของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ทาให้ เราทราบข้อมลู พนื้ ฐานของนักเรียน ทุกคน โรงเรียนได้นาข้อมูลที่ได้จากการเยี่ยมบ้าน ผนวกกับข้อมูลพื้นฐานนักเรียนรายบุคคล มาจัดทาเป็น ข้อมูลนกั เรียนรายบคุ คล ทาการวเิ คราะห์และประมวลผล ไปสูก่ ารคัดกรอง จดั ทาระเบยี นสะสม ๒. การคดั กรองนกั เรียน ครูประจาช้ันคัดกรองนกั เรยี น ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ได้แก่ ดา้ นการเรียน สุขภาพ เศรษฐกิจสุขภาพจิตและพฤติกรรม การคุ้มครองนักเรียน สารเสพติด ความปลอดภัย พฤติกรรมทางเพศ และ ความสามารถพิเศษ โรงเรียนได้จัดกลุ่มนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปกติ กลุ่มพิเศษ (มีความสามารถ พิเศษ) กลุ่มเส่ียง กลุ่มมีปัญหา ครูประจาช้ันสรุปผลการคัดกรองเหล่านี้ส่งต่อผู้ประสานงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนของกลุ่มช้ัน ผู้ประสานงานนามารายงานผลการคัดกรอง ต่อผู้รับผิดชอบงานระบบดูแล
๑๐ ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อสรุปรายงานผลของแต่ละกลุ่มช้ัน นาเสนอต่อผู้บริหาร นาข้อมูลท่ีได้มาพัฒนาวางแผน ส่งเสรมิ พัฒนา ป้องกัน และแก้ปัญหาใหก้ บั นักเรียน ๓. การส่งเสริมนักเรียน โรงเรียนสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาตามศักยภาพของตนเอง ในทุกๆ ด้าน ท้ังด้านความรู้พ้ืนฐานที่จาเป็นตามหลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีการจัดกิจกรรม โครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียน เช่น โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (O-NET) และเตรียมสอบเข้า เรียนต่อช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและติวเข้ม NT ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการห้องเรียนวิทย์-คณิต โครงการหลักสูตรสองภาษา กิจกรรมค่ายบูรณาการกลุ่มสาระ กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายใน และภายนอกประเทศ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ จัดกิจกรรมโฮมรูมทุกวันจันทร์ และวันศุกร์ ช่วงเวลา 08.15 – 08.30 น. ๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน ครูประจาช้ันให้คาปรึกษาในเบื้องต้นกับนักเรียนที่มี ปัญหา ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง มีการจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา เช่น โรงเรียนได้ ดาเนินการประชุมผู้ปกครองระดับช้ันเรียน ประชุมเครือข่ายผู้ปกครองระดับกลุ่มช้ัน ระดับโรงเรียน เพ่ือสร้าง ความสัมพันธ์อันดีและร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทาให้นักเรียนได้รับความเอาใจใส่ดูแลจากผู้ปกครอง มากขึ้น มีกิจกรรม และโครงการที่มีส่วนช่วยในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาของนักเรียน ด้านการเรียน เช่น กิจกรรมสอนซ่อมเสริม โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง นักเรียน พิเศษเรียนร่วมได้รับการดูแลเอาใจใส่โดยครูผู้มีความชานาญโดยเฉพาะ โครงการลูกเสือ-เนตรนารี เดินทางไกล การ แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจ โรงเรียนจัดหามูลนิธิ เพื่อมอบทุนการศึกษา แก่นักเรียนที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เช่น มูลนิธิสมบูรณ์ - ชูชาติ ประธานราษฎร์นิกร มูลนิธิคุณหญิงพูนสุขประธานราษฎร์นิกรปรีชาพานิช มูลนิธิ พระยาวิเชียรคีรี ทุนพระครูเกษมนวการ (แปลก เขมโก) ทุนระบบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน ทุนมูลนิธิกอง ทุนการศึกษาเพ่ือการพัฒนา (EDF) ทุนคณะศิษย์เก่าโรงเรียนวิเชียรชม รุ่นจบปี ๒๕๑๘ ทุนคณะกรรมการ เครอื ขา่ ยผูป้ กครองนักเรยี นโรงเรียนวิเชียรชม โครงการอาหารกลางวัน และอ่นื ๆ ทงั้ นีเ้ พ่ือสนับสนุน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหา ร่วมกับโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนอยู่ดีมีสุข บนความแตกต่างท่ีหลากหลายได้ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล ๕. การส่งต่อ นักเรียนท่ีอยู่ในความดูแลที่มีความจาเป็นต้องส่งต่อ ครูประจาช้ันได้ดาเนินการส่ง นักเรียนไปยังผู้ท่ีเก่ียวข้องในการช่วยเหลือนักเรียนในด้านต่างๆ ซ่ึงมีท้ังการส่งต่อภายในสถานศึกษา เช่น ครู ประจาวิชา ครูผู้ประสานงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูพี่เลี้ยงเด็กพิเศษ ครูแนะแนว ครูหวั หน้ากลุ่มช้ัน ครูพยาบาล เป็นต้น และการส่งต่อภายนอกโรงเรียน มีการประสานความร่วมมือจากผู้ปกครอง เพื่อส่งนักเรียนไป ยงั ผู้เช่ียวชาญภายนอก หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาล ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท้ัง ๕ ข้ันตอนที่กล่าวมา โรงเรียนได้จัดทาเคร่ืองมือบันทึกผลข้อมูล นักเรียนรายบุคคล เช่น แบบบันทึกข้อมูลพื้นฐานนักเรียนรายบุคคล แบบคัดกรองนักเรียน การเยี่ยมบ้าน การ สังเกต การสัมภาษณ์ ระเบียนสะสม แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) แบบบันทึกการสารวจประเภท นักเรียน/จัดกลุ่มนักเรียน ไว้อย่างครบถ้วน โดยผ่านการกากับ นิเทศ จากหัวหน้ากลุ่มช้ัน ผู้บริหารโรงเรียน หรือผู้ที่ ได้รับมอบหมาย
๑๑ ข้อเสนอแนะ - ควรมีการดาเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง - ขอ้ มูลรายบุคคลของนักเรียนควรเป็นปัจจุบันและถูกตอ้ ง - ผ้บู รหิ ารควรใหค้ วามสาคญั ในการดาเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น - ควรสรา้ งความตระหนักใหแ้ ก่คณะครแู ละบุคคลากรในสถานศึกษาในการร่วมกนั ดาเนินการ ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น - ควรมีการนิเทศติดตาม ประเมินโครงการและมีการปรับปรุงพัฒนา ภาพประกอบกรณีตัวอยา่ ง โครงการระบบดูแลช่วยเหลือโรงเรยี นวเิ ชียรชม
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: