ขอ้ ดีของ 9-THAI เป็นแบบสอบถามที่พฒั นามาใช้สาหรบั คนไทย ไม่ได้แปลจากต่างประเทศ จงึ ไม่มีปัญหาในเรอื่ งการ นามาใช้ขา้ มวฒั นธรรม (cross cultural) พฒั นาโดยหน่วยงานรฐั จงึ เป็นของประเทศ ไมม่ ีปัญหาเรอื่ งลิขสิทธ์ิ หากใช้แบบสอบถามจาก ต่างประเทศหรอื กล่มุ คนใดๆ อาจต้องขอลิขสิทธ์ิก่อนใช้ มีความเที่ยง (reliability) และความตรง (validity) ทงั้ ในประชากรปกติ 37,202 คนและในกล่มุ ผปู้ ่ วยรกั ษา ทดแทนไต (KT=133, HD=107, CAPD=62)
9-THAI: General Population ความเที่ยงแบบความสอดคลอ้ งภายในของ 9-THAI อยใู่ นเกณฑด์ ี Cronbach’s alpha = 0.87 [physical ขอ้ 1-4] 0.72 [mental ขอ้ 5-7]) ผลการศึกษา construct validity โดยใช้วิธีการทางสถิติ Confirmatory factor analysis พบว่า คาถาม 7 มิติ แบง่ เป็น 2 องคป์ ระกอบคือ สขุ ภาพกาย (ขอ้ 1 - 4) สขุ ภาพจิต (ขอ้ 5 - 7)
9-THAI: General Population ผลการประเมินความตรง known-group validity โดยใช้ข้อมูล การสารวจอนามยั และสวสั ดิการ พ.ศ. 2546 พบว่ามีความตรง อายมุ าก อายนุ ้อย ป่ วย ไมป่ ่ วย เคยพกั รกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ไม่เคย สขุ ภาพแย่กว่าปี ที่แล้ว ไม่แย่กว่า สขุ ภาพแย่กว่าคนอ่ืน ไมแ่ ย่กว่า คะแนนตา่ กว่า คะแนนสงู กว่า
9-THAI: RRT ความเที่ยงแบบ test-retest ของ 9-THAI อย่ใู นเกณฑด์ ี Intraclass correlation (ICC) = 0.79 [physical] 0.78 [mental]) 9-THAI มีความตรงแบบ convergent และ divergent validity เมอ่ื วดั ค่ขู นานกบั SF-36 9-THAI มีความตรงแบบ concurrent validity กบั ภาวะ anemia และ ประวตั ิการเคยเข้าพกั รกั ษาตวั ในโรงพยาบาล 9-THAI มีความตรงแบบ predictive criterion validity กบั การรอดชีพ (3-year survival) 9-THAI ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (responsiveness) คะแนนตอบสนองต่อการที่ผปู้ ่ วยระบวุ ่าดีขึน้
ขอ้ ดีของ 9-THAI ข้อมลู จากการสารวจอนามยั และสวสั ดิการ พ.ศ. 2546 มาจากการส่มุ ตวั อย่างประชากรปกติคนไทย ทกุ จงั หวดั ทงั้ ในและนอกเขตเทศบาล/ สขุ าภิบาล 37,202 คน จงึ นามาใช้เป็นค่าคะแนนของคนปกติ เพ่อื แปลผลเปรียบเทียบคะแนนแบบ norm-based scoring (ลกั ษณะเดียวกบั PCS, MCS ของ SF-36) มีค่าคะแนนเฉล่ียของกล่มุ โรคท่ีพบบอ่ ยในประชากร ได้แก่ ภมู ิแพ้ กระเพาะอาหาร เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ปวดข้อเข่า ปวดหลงั ฯลฯ
การแปลคะแนน 9-THAI โดยเปรียบเทียบกบั ประชากรปกติสขุ ภาพดี (Norm-based Scoring) คะแนนในช่วง 20-80 (+3SD) แสดงว่าอยใู่ นกล่มุ เดียวกบั ประชากรที่นามาเปรียบเทียบ (~99%) 9-THAI ใช้ค่าเฉลี่ยของคนปกติเพศ กล่มุ อายเุ ดียวกนั ไมป่ ่ วยในรอบ 1 เดือน ไม่เข้า รพ ในรอบ 1 ปี ไม่มีโรคเรอื้ รงั The Normal Curve คนปกติเพศ กล่มุ อายเุ ดียวกนั ท่ีแขง็ แรง
การคานวณคะแนน 9-THAI คะแนนรวมจาแนกเป็นด้านกาย และใจ คะแนนด้านกาย รวมจากข้อ 1-4 คะแนนด้านใจ รวมจากข้อ 5-7 นาคะแนนรวมแต่ละด้านมาคานวณเป็น standardize T score โดยใช้คะแนนเฉล่ียของคนปกติ แขง็ แรง (healthy population) ท่ีอย่ใู นกล่มุ อายเุ ดียวกนั และเพศเดียวกนั ซ่ึงไม่มีโรคประจาตวั ไมเ่ จบ็ ป่ วยในช่วงหน่ึงเดือนก่อนการ ตอบแบบสอบถาม และไมเ่ คยพกั รกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ในช่วงหนึ่งปี ก่อนตอบแบบสอบถาม
การคานวณคะแนน 9-THAI ตวั อย่างการคานวณคะแนน สมมติผปู้ ่ วยเพศชาย อายุ 56 ปี
การคานวณคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยเพศชาย อายุ 56 ปี คะแนนรวมด้านกาย 7 คะแนน คนปกติ เพศชายกล่มุ อายุ 50-59 ปี ค่าเฉล่ียคะแนนรวมด้านกาย = 19.34318 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานคะแนนรวมด้านกาย = 1.565454 คานวณคะแนนสขุ ภาพด้านกาย (Physical Health Score) Standardized T score = 50 + 10 7 – 19.34318 = -28.85 1.565454
การใช้ตารางคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยเพศชาย อายุ 56 ปี คะแนนรวมด้านกาย 7 คะแนน คะแนนมาตรฐาน Standardized T scores ของสขุ ภาพด้านกาย (Physical Health Score) เท่ากบั -28.85
การคานวณคะแนน 9-THAI ตวั อย่างการคานวณคะแนน สมมติผปู้ ่ วยเพศชาย อายุ 56 ปี
การคานวณคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยเพศชาย อายุ 56 ปี คะแนนรวมด้านใจ 5 คะแนน คนปกติ เพศชายกล่มุ อายุ 50-59 ปี ค่าเฉล่ียคะแนนรวมด้านใจ = 14.36454 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานคะแนนรวมด้านใจ = 1.610060 คานวณคะแนนสขุ ภาพด้านใจ (Mental Health Score) Standardized T score = 50 + 10 5 – 14.36454 = -30.66 1.1610060
การใช้ตารางคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยเพศชาย อายุ 56 ปี คะแนนรวมด้านใจ 5 คะแนน คะแนนมาตรฐาน Standardized T scores ของสขุ ภาพด้านใจ (Mental Health Score) เท่ากบั -30.66
การแปลผลคะแนน 9-THAI คะแนนด้านกาย และใจ ทีน่ ้อยกว่า 0 ทานายการเสียชีวิต (จากการวิเคราะหอ์ ตั ราการรอดชีพ 3 ปี [3-year survival]) ผลการวิเคราะหไ์ ด้คานึงและขจดั ความแตกต่างของ ผปู้ ่ วย โดยปรบั ให้ปัจจยั ต่างๆ เหมือนกนั ด้วยสถิติ Cox proportional hazard model โดยปัจจยั ที่ปรบั ได้แก่ อายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา การเป็น โรคเบาหวานรว่ มด้วย และชนิดของ dialysis (HD/ CAPD) ความตรงตามเกณฑ์ชนิดทานายของเครอื่ งมอื วดั คุณภาพชวี ติ ทีเ่ กยี่ วเน่ืองกับสขุ ภาพ 9-THAI โดยการทานายอตั ราการ รอดชีพของผู้ปว่ ยลา้ งไต (อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา และ ดรุณี จันทร์เลิศฤทธ์ิ, วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ปีท่ี 30 ฉบบั ที่ 2 เมษายน-มิถนุ ายน 2555)
การแปลผลคะแนน 9-THAI กล่มุ ท่ีคะแนน PHS ตงั้ แต่ 0 ขึน้ ไป เสียชีวิตน้อยกว่าอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ โดยลดลงเป็น 0.05 เท่า (ลดลง 95%) เม่ือเปรียบเทียบกบั กล่มุ ท่ี PHS น้อยกว่า 0 [HR=0.05, 95% CI 0.01 to 0.44, p=0.007] ความตรงตามเกณฑช์ นิดทานายของเครอื่ งมอื วดั คณุ ภาพชีวิตที่เกี่ยวเนื่องกบั สขุ ภาพ 9-THAI โดย การทานายอตั ราการรอดชีพของผปู้ ่ วยล้างไต (อา รีวรรณ เช่ียวชาญวฒั นา และ ดรณุ ี จนั ทรเ์ ลิศฤทธ์ิ, วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปี ที่ 30 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน- มิถนุ ายน 2555)
การแปลผลคะแนน 9-THAI กล่มุ ท่ีคะแนน MHS ตงั้ แต่ 0 ขึน้ ไป เสียชีวิตน้อยกว่าอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ โดยลดลงเป็น 0.05 เท่า (ลดลง 95%) เมื่อเปรียบเทียบกบั กล่มุ ที่ MHS น้อยกว่า 0 [HR=0.27, 95% CI 0.08 to 0.89, p=0.032] ความตรงตามเกณฑช์ นิดทานายของเคร่อื งมือวดั คณุ ภาพชีวิตที่เก่ียวเนื่องกบั สขุ ภาพ 9-THAI โดย การทานายอตั ราการรอดชีพของผ้ปู ่ วยล้างไต (อา รีวรรณ เช่ียวชาญวฒั นา และ ดรณุ ี จนั ทรเ์ ลิศฤทธ์ิ, วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปี ท่ี 30 ฉบบั ที่ 2 เมษายน- มิถนุ ายน 2555)
การแปลผลคะแนน 9-THAI ขอ้ 3, 5, 7 ตอบว่ารนุ แรง/รนุ แรงมาก ทานายการเสียชีวิต (จากการวิเคราะหอ์ ตั ราการรอดชีพ 3 ปี [3-year survival]) ผลการวิเคราะหไ์ ด้คานึงและขจดั ความแตกต่างของผปู้ ่ วย โดยปรบั ให้ปัจจยั ต่างๆ เหมือนกนั ด้วยสถิติ Cox proportional hazard model โดยปัจจยั ที่ปรบั ได้แก่ อายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา รายได้ กล่มุ รกั ษาทดแทนไต (KT/ HD/ CAPD), BUN, Cr, hct และ การมีประวตั ิเข้าพกั รกั ษาตวั ในโรงพยาบาลในรอบ 1 ปี
การแปลผลคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยท่ีตอบว่ามีปัญหาในการทางานใน/ นอกบา้ น ระดบั รนุ แรง/ รนุ แรงมาก เสียชีวิตมากกว่า 6.71 เท่าอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ เมอื่ เปรียบเทียบกบั ผทู้ ่ี ตอบว่ามีปัญหาปานกลาง/ เลก็ น้อย/ ไมม่ ีปัญหาเลย [HR=6.71, 95% CI 2.03 to 22.20, p=0.002]
การแปลผลคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยท่ีตอบว่ามีปัญหาวิตกกงั วล/ ซึมเศร้า ระดบั รนุ แรง/ รนุ แรงมากเสียชีวิต มากกว่า 6.86 เท่าอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ผทู้ ่ีตอบว่ามี ปัญหาปานกลาง/ เลก็ น้อย/ ไม่มีปัญหาเลย [HR=6.86, 95% CI 1.89 to 24.91, p=0.003]
การแปลผลคะแนน 9-THAI ผปู้ ่ วยที่ตอบว่ามีปัญหาเข้ารว่ มกิจกรรมทางสงั คม ระดบั รนุ แรง/ รนุ แรงมาก เสียชีวิตมากกว่า 4.27 เท่าอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ เมอื่ เปรียบเทียบกบั ผทู้ ่ี ตอบว่ามีปัญหาปานกลาง/ เลก็ น้อย/ ไม่มีปัญหาเลย [HR=4.27, 95% CI 1.14 to 15.99, p=0.031]
สรปุ การใช้คะแนน 9-THAI ใช้ค้นหาผปู้ ่ วยท่ีมีคณุ ภาพชีวิตแย่ ได้แก่ ตอบคาถามว่ามีปัญหารนุ แรงหรอื รนุ แรงมาก หลายขอ้ ตอบคาถามว่ามีปัญหารนุ แรงหรือรนุ แรงมากในขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ดงั นี้ การทางาน ใน/นอก บา้ น (ข้อ 3) หดหู่ วิตกกงั วล ซึมเศร้า (ข้อ 5) การเข้ารว่ มกบั สงั คม (ข้อ 7) คะแนนด้านกาย (PHS) หรือใจ (MHS) น้อยกว่า 0
SECTION ตวั อย่างผปู้ ่ วยทีม่ ี คณุ ภาพชีวิตไมด่ ี
ตวั อย่างผปู้ ่ วยท่ีคะแนน 9-THAI น้อยกว่า 0 ผปู้ ่ วยเพิ่งทา CAPD เมื่อ 30 พ.ค. 2554 ซ่ึงก่อนหน้านี้ผปู้ ่ วยทา HD เคยมี JC และเอาออกเม่ือเริ่มทา PD ผปู้ ่ วยไม่ได้ทางาน มีภรรยาทางานรบั จ้าง ลกู 3 คน 2 คนกาลงั เรียนหนังสือ ส่วนอีกคนเพ่ิงจบ ม.6 กาลงั หางานทา คะแนนคณุ ภาพชีวิตท่ีแย่มากนัน้ มาจากการที่ผปู้ ่ วยต้องปรบั ตวั รบั สภาพการล้างไต รวมทงั้ สภาพครอบครวั ที่ยงั มีภาระมาก ซึ่งตนเองเป็นหวั หน้าครอบครวั แต่ต้องเจบ็ ป่ วยด้วยโรคไตวายระยะสดุ ท้าย
ตวั อย่างผปู้ ่ วยท่ีคะแนน 9-THAI น้อยกว่า 0 ผปู้ ่ วย CAPD มีปัญหา IHD (Ischemic Heart Disease) หน้ามืด เหน่ือยง่าย น้าเกินบ่อย มาฉุกเฉินบอ่ ย จากการทา counseling ผปู้ ่ วยและภรรยา พบว่า ผปู้ ่ วยมีปัญหาไม่มีกาลงั ใจ เบื่อหน่ายกบั ภาวะสขุ ภาพ ต้องพ่ึงพาภรรยา มกั มีอารมณ์หงุดหงิด ดภุ รรยาและลกู บอ่ ยๆ
ตวั อย่างผปู้ ่ วยท่ีคะแนน 9-THAI น้อยกว่า 0 ผปู้ ่ วย HD (2/wk) ระหว่างรอการปลกู ถ่ายไต มาเพ่ือขอใบรบั รองแพทยท์ า ฌาปนกิจสงเคราะห์ ซ่ึงก่อนหน้านี้ประมาณ 5 เดือน กม็ าขอใบรบั รองแพทยไ์ ปทา ประกนั ชีวิตมาแล้ว ผปู้ ่ วยมีลกั ษณะเงียบๆ ไม่ค่อยพดู คะแนนสภาวะสขุ ภาพด้านกายไม่น้อยกว่าศนู ย์ แต่กค็ ่อนข้างน้อย ผปู้ ่ วยระบมุ ีปัญหาการทางานปานกลาง (ผปู้ ่ วยมีสถานะการทางานไม่เตม็ เวลา ซ่ึง ผปู้ ่ วยรายนี้ทา HD สปั ดาหล์ ะ 2 ครงั้ ) ส่วนคะแนนด้านใจนัน้ น้อยกว่าศนู ย์ จากการที่ผปู้ ่ วยตอบว่ามีปัญหากงั วล ซึมเศร้าปานกลาง และมีปัญหากิจกรรมทางสงั คมปานกลาง (ผปู้ ่ วยต้องทา HD สปั ดาหล์ ะ 2 ครงั้ )
ตวั อย่างผปู้ ่ วยท่ีคะแนน 9-THAI น้อยกว่า 0 ผปู้ ่ วยทา CAPD ระหว่างรอการปลกู ถ่ายไต คะแนนคณุ ภาพชีวิตที่มีคะแนนน้อยนัน้ มาจากการท่ีผปู้ ่ วยอายนุ ้อย เม่ือคานวณคะแนนมาตรฐานโดยเปรียบเทียบกบั คนท่ีมีอายนุ ้อยด้วยกนั จึงได้คะแนนน้อย สาหรบั คะแนนด้านกาย ในส่วนคะแนนด้านใจนัน้ การได้คะแนนน้อย เกิดจากการที่ผปู้ ่ วยมีความวิตกกงั วลว่าจะได้รบั การปลกู ถ่ายไตหรือไม่
SECTION QOL ASSESSMENT INTERVIEW MODE
การสมั ภาษณ์ QOL ผปู้ ่ วย การใช้เครื่องมอื วดั มาตรฐาน ดงั เช่นแบบสอบถาม QOL ทาให้ได้มาซ่ึงข้อมูลการประเมินผลลพั ธก์ ารรกั ษาในมมุ มองของ ผปู้ ่ วยโดยตรง การใช้แบบสอบถาม QOL จึงจาเป็นต้องมีการปฏิบตั ิที่เป็น มาตรฐาน เพ่ือให้ได้ข้อมลู ท่ีถกู ต้อง เป็นจริง ปราศจากอคติ QOL มีความเป็นปัจเจกสงู แพทย์ พยาบาลที่ให้การดแู ลรกั ษา กไ็ มส่ ามารถทราบถงึ ความ คิดเหน็ ของผปู้ ่ วยท่ีมีต่อสภาวะการป่ วยของตนเอง ควรให้ผปู้ ่ วยตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ซึ่งไมม่ ีคาตอบผิดหรอื ถกู ประสบการณ์การใช้แบบสอบถามประเมินคณุ ภาพชีวิตผปู้ ่ วยรกั ษาทดแทนไต (ดรณุ ี จนั ทรเ์ ลิศฤทธิ)์
การสมั ภาษณ์ QOL ผปู้ ่ วย “ให้ญาติผปู้ ่ วยทาแบบสอบถามแทนได้ไหม” แมก้ ระทงั่ ญาติเองกไ็ ม่สามารถตอบคาถามแทนผปู้ ่ วยได้อย่างที่ ผปู้ ่ วยคิดกบั ตนเอง แมว้ ่าผปู้ ่ วยอาจสามารถตอบคาถามได้ แต่ญาติมกั จะแย่งทา แบบสอบถามแทน หรอื อาจจะมีการปรกึ ษาหารือกนั ว่าจะตอบ อย่างไรจึงจะดี ญาติผปู้ ่ วยบางรายกลวั ว่าจะเสียเวลา หรือกลวั ว่าผปู้ ่ วยจะตอบไม่ได้ กลวั ว่าแพทย์ พยาบาล จะไม่ได้ข้อมลู ที่ต้องการ จึงปรารถนาดีตอบ คาถามแทนให้ ก่อนให้ผปู้ ่ วยประเมินคณุ ภาพชีวิตนัน้ ควรจดั ให้ญาติอย่ใู นที่ๆ เหมาะสม และให้ผปู้ ่ วยได้ตอบข้อคาถามด้วยตนเอง โดยปราศจาก การรบกวนของญาติ ประสบการณ์การใช้แบบสอบถามประเมินคณุ ภาพชีวิตผ้ปู ่ วยรกั ษาทดแทนไต (ดรณุ ี จนั ทรเ์ ลิศฤทธิ)์
การสมั ภาษณ์ QOL ผปู้ ่ วย “ถ้าผปู้ ่ วยไม่สามารถทาแบบสอบถามด้วยตนเอง จะทาอย่างไร” ถ้าผปู้ ่ วยไมส่ ามารถอ่านข้อคาถามด้วยตนเอง กไ็ ม่ควรให้ญาติเป็น ผอู้ ่านแบบสอบถาม เพราะผปู้ ่ วยอาจไม่กล้าตอบตามความเป็นจริง ไม่ควรให้แพทย์ พยาบาลเป็นผอู้ ่านข้อคาถาม เพราะผปู้ ่ วยอาจอยู่ ในภาวะคาดเดาใจแพทย์ พยาบาล ว่าต้องการคาตอบแบบไหน โดยที่ไม่ใช่ความคิดท่ีแท้จริงของตนเอง (social desirable bias) ควรให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รบั การฝึ กอบรมในการใช้แบบสอบถาม มาทา หน้าที่อ่านคาถามและตวั เลือกคาตอบแก่ผปู้ ่ วย โดยไมม่ ีการแปล ข้อคาถาม คาตอบ หรอื ชี้แนะแก่ผปู้ ่ วยแต่อย่างใด ประสบการณ์การใช้แบบสอบถามประเมินคณุ ภาพชีวิตผปู้ ่ วยรกั ษาทดแทนไต (ดรณุ ี จนั ทรเ์ ลิศฤทธิ)์
การสมั ภาษณ์ QOL ผปู้ ่ วย “ถา้ ผปู้ ่ วยไม่สามารถทาแบบสอบถามด้วยตนเอง จะทาอย่างไร” ผปู้ ่ วยมกั ชอบขอความคิดเหน็ จากผสู้ มั ภาษณ์ หรือขอให้ชี้นาว่า ควรเลือกคาตอบใด ในกรณีเช่นนี้ ผสู้ มั ภาษณ์ที่ทาหน้าที่อ่าน แบบสอบถาม ไมค่ วรอธิบายหรอื ชี้แนะแต่อย่างใด แต่ควรแจ้งแก่ ผปู้ ่ วยว่า ให้เลือกคาตอบท่ีเขาคิดว่าเป็นจริงหรอื ใกล้เคียงกบั ความจริงท่ีเขาคิดมากที่สดุ หากผปู้ ่ วยต้องการให้อ่านทวนคาถามและตวั เลือกคาตอบอีกครงั้ ผสู้ มั ภาษณ์กท็ าหน้าที่อ่านซา้ อีก โดยไมค่ วรแสดงอาการไม่พอใจ ราคาญ หรอื ดถู กู ผปู้ ่ วย การอ่านข้อคาถามคาตอบแต่ละข้อควรใช้น้าเสียงราบเรยี บ สมา่ เสมอ ไม่เน้นที่คาตอบใดเป็นพิเศษ เพื่อมิให้เป็นการชี้นาแก่ ผปู้ ่ วย ประสบการณ์การใช้แบบสอบถามประเมินคณุ ภาพชีวิตผ้ปู ่ วยรกั ษาทดแทนไต (ดรณุ ี จนั ทรเ์ ลิศฤทธิ)์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157