Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients

Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients

Published by 1.patanrad, 2020-01-28 08:07:57

Description: Holistic Nursing Care in Hemodialysis Patients

Search

Read the Text Version

ตรวจสอบได้ ความเช่ือมนั่ ในการปฏบิ ตั ิงาน การคดิ วจิ ารณญาณท่ตี ่อเน่ือง พฒั นาสติปญั ญา ทกั ษะในการสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์

องค์กร วชิ าชีพ ◼ ระบบปฏิบัติงานทชี่ ัดเจน ◼ การยอมรับของทีมสุขภาพ ◼ ความเป็ นเอกภาพของวชิ าชีพ ◼ มคี ุณภาพการดูแล ◼ เป็ นท่ีต้องการของสังคม ◼ การใช้ทรัพยากรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

การประเมิน ทาอย่างไร????

Assessment ❖ การเกบ็ ข้อมูลเป็ นระบบ มคี วามครอบคลมุ น่าเชื่อถือ ❖ ปฏสิ ัมพนั ธ์/การสื่อสารทดี่ ี ❖ ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั บุคคล ครอบครัว สิ่งแวดล้อม ❖ ทกั ษะการใช้อปุ กรณ์ต่าง ๆ ❖ ทกั ษะการตดั สินใจและแก้ปัญหา

Assessment เกบ็ รวบรวมข้อมูล (Subjective + Objective data) จัดกลุ่ม ตรวจสอบ บันทึกอย่าง มรี ะบบโดยใช้แบบประเมนิ สุขภาพ วิเคราะห์ เพ่ือนาไปสู่การวินิจฉัยการพยาบาล

แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน 1. การรับรู้และการดูแลสุขภาพ 2. โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร 3. การขบั ถ่าย 4. กจิ กรรมและการออกกาลงั กาย 5. การนอนหลบั พกั ผ่อน 6. สตปิ ัญญาและการรับรู้ 7. การรับรู้ตนเองและอตั มโนทศั น์

แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน 8. บทบาทและสัมพนั ธภาพ 9. เพศและการเจริญพนั ธ์ 10. การปรับตวั และความทนต่อความเครียด 11. คุณค่าและความเช่ือ

แบบแผน ตวั อย่าง 1.การรับรู้สุขภาพ 1. “เป็ นโรคท่ีรักษาไม่หาย ฟอกเลือดอย่างเดยี วไม่พอ ต้องคุม อาหาร นา้ ให้ดดี ้วย” 2. อาหารและการเผาผลาญ 2. “กนิ ข้าววนั ละ 2 มื้อ ชอบกนิ อาหารเผด็ ช่วงนีค้ ล่ืนไส้บ่อย 3. การขับถ่าย กนิ อาหารไม่ค่อยได้” 3. ถ่ายปัสสาวะวนั ละ 1 คร้ัง ประมาณครึ่งแก้ว ถ่ายอุจจาระ 4.กิจกรรมและ วนั เว้นวนั การออกกาลงั กาย 4. เดินเองโดยใช้ไม้เท้า บอกว่า “ใกล้วนั ฟอกจะทาอะไรไม่ค่อย 5. การพกั ผ่อนนอนหลบั ไหว มันเหนื่อยง่าย” 6. สติปัญญาและการรับรู้ 5. นอนหลับ ๆ ต่ืน ๆ เป็ นห่วงลูกยังไม่กลบั บ้าน 7. การรับรู้ตนเองและ อัตมโนทัศน์ 6. มคี วาม คดิ สมเหตุสมผล การรับรู้กาลเวลา สถานที่ บุคคล ไม่เปล่ยี นแปลง 7. ไม่อยากออกไปไหน กลวั คนมองและถามเกย่ี วกับแขน

แบบแผน ตัวอย่าง 8. บทบาทและสัมพนั ธภาพ 8. ยังทางานช่วยเหลือครอบครัวได้ 9. เพศและการเจริญพนั ธ์ สัมพนั ธภาพกบั คนในครอบครัวและเพ่ือน 10. การปรับตัวและทนทานต่อความเครียด ร่วมงานดี 11. คุณค่าและความเช่ือ 9. ไม่มีประจาเดือนแล้ว 10. เวลาไม่สบายใจจะฟังเพลง หรือเล่าให้ เพ่ือนฟัง แล้วมักรู้สึกดีขนึ้ 11. อยากให้ลูกเรียนหนังสือสูง ๆ เวลาทาบุญ จะอธิษฐานเสมอ

Nursing Diagnosis

Nursing Diagnosis ◼ Actual diagnosis มีข้อมูลหลกั ฐาน แสดงอาการชัดเจน ◼ Risk diagnosis มขี ้อมูลท่เี กย่ี วข้องกบั ปัจจยั เส่ียง แต่ยงั ไม่มี หลกั ฐานแสดงชัดเจน ◼ Possible diagnosis ไม่มขี ้อมูลหลกั ฐาน แต่จากสัญชาตญาณ บอกว่าปัญหาอาจจะเกดิ

เกดิ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ + เนื่องจาก + ปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง (ปัจจยั ท่ีทาหหเ้ กด) คาดว่าจะเกดิ ปัญหาสุขภาพเพราะพบปัจจัยเสี่ยง เสี่ยงต่อการเกด + ปัญหาสุขภาพ + เน่ืองจาก + ปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง มีโอกาสเกดิ ปัญหาสุขภาพ เส่ียงต่อการเกด + ปัญหาสุขภาพ + เน่ืองจาก + ปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง (ปัจจยั เสรม)

ตวั อย่าง ◼ เหนื่อยง่าย การดูแลตนเองลดลงเนื่องจากมปี ริมาณเมด็ เลือดแดงน้อย กว่าปกติ ◼ เส่ียงต่อการติดเชื้อเน่ืองจากภูมคิ ุ้มกนั ร่างกายบกพร่อง ◼ มีโอกาสสูญเสียภาพลกั ษณ์เน่ืองจากได้รับการผ่าตดั เส้นเลือด

รายการวนิ ิจฉัยการพยาบาล ตามแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน 1. แบบแผนการรับรู้และการดแู ลสุขภาพ - การดแู ลรักษาสุขภาพไม่ดี (Altered Health Maintenance) - ไม่ได้ปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาเกยี่ วกบั (ระบุ) (Noncompliance) - กลไกการป้องกนั ตนเองไม่ดี (Altered Protection) - เสี่ยงต่อการตดิ เชื้อ (High Risk for Infection) - เสี่ยงต่อภยนั ตราย (High Risk for Injury) - มกี ารแสวงหาวธิ ีปฏบิ ัตเิ พื่อส่งเสริมสุขภาพ (Health Seeking Behavior)

2. แบบแผนโภชนาการและเมตาบอลสิ ม - ได้รับสารอาหารเกนิ (Altered Nutrition : More than Body Requirements) - ขาดสารอาหาร (Altered Nutrition : Less than Body Requirements) - เส่ียงต่อAspiration (High Risk for Aspiration) - เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารเกนิ (Altered Nutrition : High Risk for more than Body Requirements) - กลืนลาบาก (Impaired Swallowing) - มกี ารเปลย่ี นแปลงในเย่ือบุในช่องปาก (Altered Oral Mucous Membrane) - เส่ียงต่อภาวะขาดนา้ (High Risk for Fluid Volume Deficit) - ภาวะขาดนา้ (Fluid Volume Deficit)

- ภาวะนา้ เกนิ (Fluid Volume Excess) - เส่ียงต่อผวิ หนงั เสียหน้าท่ี (High Risk of Impaired Skin Integrity) - ผวิ หนงั เสียหน้าที่ (Impaired Skin Integrity) - เนื้อเยื่อเสียหน้าท่ี (Impaired Tissue Integrity) - เส่ียงต่อภาวะอุณหภูมริ ่างกายเปลยี่ นแปลง (High Risk for Altered Body Temperature) - ขาดประสิทธิภาพในการควบคมุ อุณหภูมขิ องร่างกาย (Ineffective Thermoregulation) - อณุ หภูมริ ่างกายสูง (Hyperthermia) - อณุ หภูมริ ่างกายตา่ (Hypothermia)

3. แบบแผนการขับถ่ายของเสีย - ท้องผูก (Constipation) - รับรู้ผดิ ว่าตนเองท้องผูก (Perceived Constipation) - ท้องผูกเรื้อรัง (Chronic Constipation) - ท้องเดิน (Diarrhea) - กล้ันอุจจาระไม่ได้ (Bowel Incontinence) - แบบแผนการขบั ถ่ายปัสสาวะเปลีย่ นแปลง (Altered pattern of Elimination) - Functional Incontinence

- Stress Incontinence - Reflex Incontinence - Urge Incontinence - กล้นั ปัสสาวะไม่ได้ (Total Incontinence) - ปัสสาวะค้าง (Urinary Retention)

4. แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย - เส่ียงต่ออาการมคี วามทนต่อกิจกรรมลดลง (High Risk for Activity intolerance) - ความทนต่อกจิ กรรมลดลง (Activity Intolerance) - การเคลื่อนไหว บกพร่อง (Impaired Physical Mobility) - เส่ียงต่อการเกิดกลุ่มอาการเส่ือมจากการไม่ใช้งาน (Disuse Syndrome) - Dysreflexia - เหนื่อยล้า (Fatigue) - ไม่สามารถดูแลตนเองเก่ียวกบั .... (ระบุ) (Self-Care Deficit) - ขาดการนันทนาการ(Diverisional Activity Deficit)

- ไม่สามารถจดั การเกี่ยวกบั บ้าน (Impaired Home Maintenance Management) - ขาดประสิทธิภาพในการทาทางเดินหายใจให้โล่ง (Ineffective Airway Clearance) - แบบแผนการหายใจไม่มปี ระสิทธิภาพ (Ineffective Breathing Pattern) - มคี วามบกพร่องในการแลกเปลย่ี นก๊าซ (Impaired Gas Exchange) - ไม่สามารถหายใจได้เอง (Inability to Sustain Spontaneous Ventilation) - ไม่สามารถหย่าเคร่ืองช่วยหายใจ (dysfunctional Ventilation Weaning Response, DVWR)

- ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง (Decreased Cardiac Output) - การกาซาบเลือดของเนื้อเย่ือลดลง (Altered Tissue Perfusion, specify Renal,Carebral, Cardiopulmonary, Gastrointestinal or Peripheral) - เสี่ยงต่อการเกิดการเส่ือมหน้าท่ีของหลอดเลือด และประสาทส่วนปลาย (High Risk for peripheral Neurovascular Dysfunction) - การเจริญเติบโตและการพฒั นาการไม่เหมาะสม (Altered Growth and Development)

5. แบบแผนการนอนหลบั พกั ผ่อน - แบบแผนการนอนหลบั เปล่ียนแปลง (Sleep Pattern Disturbance) 6. แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ - ความเจบ็ ปวด (Pain) - ความเจ็บปวดเรื้อรัง (Chronic Pain) - การรับความรู้สึกและการรับรู้เปล่ียนแปลง. (ระบุ) (Sensory/Perceptual Alterations : Visual, Auditory, Kinesthetic, Gustatory, Olfactory)

- ละเลยร่างกายซีกท่ีผิดปกติ (Unilaternal Neglect) - กระบวนความคิดเปล่ยี นแปลง (Altered Thought processes) - ขาดความรู้เก่ยี วกับ... (ระบุ) (Knowledge Deficit, Specify) - รู้สึกขัดแย้งในการตัดสินใจเกยี่ วกบั ... (ระบุ) (Decisional Conflict, Specify) 7. แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ - ความกลัว (Fear) - วติ กกังวล (Anxiety) - รู้สึกสิ้นหวงั (Hopelessness) - รู้สึกสูญเสียอานาจ (Power Lessness)

- มกี ารเปล่ยี นแปลงภาพลักษณ์ (Body Image Distrubance) - มกี ารเปลีย่ นแปลงความเป็ นเอกลักษณ์แห่งตน (Personal Identity Disturbance) - มีการเปลีย่ นแปลงความรู้สึกมคี ุณค่าในตนเอง (Self-Esteem Disturbance) - รู้สึกมคี ุณค่าในตนเองลดลงเรื้อรัง (Chronic Low Self-Esteem) - เสี่ยงต่อการทางานให้ตนเองบาดเจ็บ (High Risk for Self-Mutilation) - รู้สึกมคี ุณค่าในตนเองลดลงช่ัวคราว (Situational Low Self-Esteem)

8. แบบแผนบทบาทและสัมพนั ธภาพ - การส่ือสารทางคาพดู บกพร่อง (Impaired Verbal Communicaticn) - แยกตัวจากสังคม (Social Isolation) - มปี ฏิสัมพนั ธ์ทางสังคมไม่เหมาะสม (Impaired Social Interaction) - แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับบทบาท (Altered Role Performance) - โศกเศร้า (Grieving) - โศกเศร้าเม่ือรู้ว่าจะมกี ารสูญเสีย (Anticipatory grieving)

- โศกเศร้าผิดปกติ (dysfunctional Griveing) - เสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมรุนแรง (ทาร้ายตนเองและผู้อ่ืน) (High Risk violence : Self-Directed or directed at Others) - การดาเนินชีวติ ในครอบครัวเปลี่ยนแปลง (Altered Family Processes) - มีความเครียดในบทบาทผู้ให้การดูแล (Caregiver Role Strain) - เส่ียงต่อการมีความเครียดในบทบาทผู้ให้การดูแล (High Role for Caregiver Role Strain) - กลุ่มอาการเครียดจากการย้ายที่อยู่ (Relocation Stress Syndrome)

9. แบบแผนเพศสัมพนั ธ์และการเจริญพนั ธ์ - ความบกพร่องทางเพศ (Sexual Dysfunction) - มกี ารเปลีย่ นแปลงแบบแผนเพศสัมพนั ธ์ (Altered Sexuality Pattern) 10. แบบแผนการเผชิญความเครียดและความทนต่อความเครียด - การเผชิญความเครียดที่ไม่มปี ระสิทธิภาพของบุคคล (Ineffective Individual Coping) - การใช้กลไกป้องกันทางจติ ไม่เหมาะสม (Defensive Coping) - มีการปฏิเสธท่ีไม่เหมาะสม (Ineffective Denial)

มีความบกพร่องในการปรับตัว (Impaired Adjustment) - ภาวะชอกช้าทางอารมณ์หลงั ประสบเหตุการณ์รุนแรง (Post-Trauma Response) 11 แบบแผนความเชื่อและค่านิยม - ขาดสิ่งยดึ เหนี่ยวทางจิตวญิ ญาณ (Spiritual Distress)

- มีความบกพร่องในการปรับตัว (Impaired Adjustment) - ภาวะชอกช้าทางอารมณ์หลังประสบเหตุการณ์รุนแรง (Post-Trauma Response) - การเผชิญความเครียดท่ีไม่มีประสิทธิภาพของครอบครัว : Compromised (Ineffective Coping : Compromised)

การวางแผนการพยาบาล ◼ จดั ลาดับความสาคญั ของปัญหา ◼ กาหนดวัตถุประสงค์การพยาบาล (objective) ระบุพฤติกรรม / เกณฑ์ท่คี าดหวงั / ระยะเวลา (ถ้ามี) ◼ กาหนดการปฏิบัติการพยาบาล (nursing intervention) ใช้ศาสตร์ และศิลป์ / evidence base/ ตอบสนองปัญหา ◼ ประเมินผลลพั ธ์การพยาบาล (nursing outcome) สัมพนั ธ์กบั วตั ถุประสงค์ สามารถวัดและประเมนิ ผลได้ (รูปธรรม)

กระบวนการพยาบาล มคี วามชัดเจนในการปฏบิ ตั ิ สามารถทาให้เกดิ คุณภาพการพยาบาลได้ ซึ่งต้องอาศัยเจตคตทิ ดี่ ี มี ความรู้ความเข้าใจ มคี วามมุ่งมน่ั ในการนาไปใช้อย่าง ต่อเนื่องและมปี ระสิทธิภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook