Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

JSA

Description: JSA

Search

Read the Text Version

ปกช่วั คราว ลา่ สุด ก.ย. 63 แนวปฏิบัติการชี้บง่ อันตรายด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) REVISION 2 .00ปกชว่ั คราว จดั ทำโดย สถำบนั ส่งเสริมควำมปลอดภัย อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน (องคก์ ำรมหำชน) กระทรวงแรงงำน

แนวปฏบิ ัตกิ ารช้บี ่งอันตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) ก ชอ่ื หนงั สือ : แนวปฏบิ ตั กิ ารช้บี ่งอันตรายดว้ ยวิธี Job Safety Analysis (JSA) ชื่อผ้แู ตง่ : คณะทางานจดั ทาแนวปฏบิ ัตกิ ารชีบ้ ง่ อันตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) จดั ทำโดย : สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) ปที ี่พิมพ์ : พ.ศ.2563 คร้งั ทพ่ี ิมพ์ : E-book โรงพมิ พ์ : E-book ISBN :(EE--bbook) : 978-616-8026-18-2 สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั ิการช้บี ง่ อนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) ข คณะอนกุ รรมกำรวชิ ำกำร 1. นางสาวสดุ ธิดา กรงุ ไกรวงศ์ ประธานคณะอนุกรรมการ 2. นายกฤษฎา ชัยกลุ อนกุ รรมการ 3. นายวเิ ลศิ เจตยิ านุวัตร อนุกรรมการ 4. นายเกียรตศิ ักดิ์ บุญสนอง อนกุ รรมการ 5. นางลดั ดา ต้ังจนิ ตนา อนุกรรมการ 6. นายสบื ศกั ดิ์ นนั ทวานชิ อนุกรรมการ 7. นายประมขุ โอศริ ิ อนุกรรมการ 8. นายธนศู ิลป์ สลอี ่อน เลขานกุ าร สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั กิ ารชบี้ ง่ อนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) ค คณะทำงำน จัดทำแนวปฏิบัติกำรชี้บง่ อันตรำยดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 1. นางสาวสดุ ธิดา กรุงไกรวงศ์ ประธานคณะทางาน 2. นายวิเลศิ เจตยิ านุวัตร คณะทางาน 3. นางลัดดา ตง้ั จนิ ตนา คณะทางาน 4. นายโสภณ พงษโ์ สภณ คณะทางาน 5. นางพรทพิ ย์ ทองเอย่ี ม คณะทางาน 6. ดร.ธนวรรณ ฤทธชิ ัย คณะทางาน สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 7. นางสาวกฤตติกา เหล่าวัฒนโรจน์ คณะทางาน สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 8. นางสาวปญั ชลกิ า ชนั ขนุ ทด คณะทางาน สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 9. นางสาวเปรมยดุ า นวลศรี คณะทางาน สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 10. นางสาวพชั พร ศรสี งวน คณะทางานและเลขานุการ สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 11. นางสาวสภุ ารตั น์ คะตา คณะทางานและผู้ชว่ ยเลขานุการ สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 12. นายพฤทธิพงศ์ สามสงั ข์ คณะทางานและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบตั ิการช้บี ง่ อนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) ง คำนำ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และมีอานาจหน้าที่หน่ึง คือ การพัฒนาและ สนบั สนนุ การจัดทามาตรฐาน คูม่ ือ และแนวปฏบิ ตั ิ เพ่ือสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ ม ในการทางาน โดยสถาบันฯ ได้จัดทามาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานข้ึน เพ่ือส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการได้นาไปใช้ปฏิบัติในการดาเนินการจัดการ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในองค์กรอยา่ งเปน็ ระบบและยัง่ ยืน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) จึงได้จัดทา แนวปฏิบัติการชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) ข้ึน เพ่ือเป็นแนวทางให้สถานประกอบกิจการ สามารถปฏบิ ัติได้ตามมาตรฐานการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และเป็นแนวทางให้บุคลากรด้านความปลอดภัยในการทางาน ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการดาเนินการช้ีบ่งอันตราย และประเมินความเส่ียง เพ่ือนาไปสู่การจัดการเพ่ือการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีมีประสทิ ธิภาพ การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) เป็นวิธีการหน่ึงที่จะนาไปสู่การจัดการความเสี่ยง ขององค์กร ท่ีเป็นหัวใจสาคัญของระบบบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน ทั้งยังเป็นวิธีการท่ีมีการวิเคราะห์งานในทุกขั้นตอนของกิจกรรมท่ีทาโดยการมีส่วนร่วมของ ผู้ปฏิบัติงานเอง หัวหน้างาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานเป็นอย่างน้อย จึงมั่นใจได้ว่าทุกขั้นตอน ของการทางานมีความปลอดภัย สามารถนาไปจัดทาเป็นข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทางานของสถาน ประกอบกิจการ เพ่ือการฝึกอบรมและแจกจ่ายให้ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานได้ถือปฏิบัติอย่างถูกต้องและปลอดภัย สถาบันฯ จึงได้จัดทาแนวปฏิบัติการช้ีบ่งอันตรายด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) ฉบับนี้ข้ึน เพื่อเป็นแนวทาง ให้บุคลากรด้านความปลอดภัยฯ และผู้ที่เกี่ยวข้องของสถานประกอบกิจการได้นาไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ตาม ความเหมาะสมขององค์กรตอ่ ไป สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั กิ ารช้บี ง่ อนั ตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) จ สำรบญั เอกสำรลิขสทิ ธิ์ หน้ำ คณะอนุกรรมกำรวิชำกำร คณะทำงำนจดั ทำแนวปฏบิ ัตกิ ำรชี้บง่ อันตรำยด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) ก ประกำศคณะกรรมกำรสถำบันส่งเสรมิ ควำมปลอดภยั ฯ ข คำนำ ค 1. บทนำ ง จ 1.1 วัตถปุ ระสงค์ 1 1.2 ขอบเขต 1 2. ขั้นตอนกำรวิเครำะหง์ ำนเพ่อื ควำมปลอดภยั 1 2.1 ก่อนลงมือดาเนนิ การวิเคราะห์งานเพ่ือความปลอดภัย 4 2.2 การดาเนนิ การวิเคราะห์งานเพอื่ ความปลอดภัย 4 ตวั อย่าง แบบการชบ้ี ่งอันตรายด้วยวิธี JSA ของงานเจีย 4 2.3 ดาเนินการตามมาตรการป้องกันและปรบั ปรุง 7 2.4 ดาเนนิ การปรับปรุงการวิเคราะหง์ านเพ่ือความปลอดภัยเป็นระยะ ๆ 10 เอกสำรอำ้ งอิง 10 11 สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบตั กิ ารช้บี ่งอันตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 1 แนวปฏบิ ตั ิกำรชีบ้ ง่ อันตรำยด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) 1. บทนำ การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) เป็นวิธีหน่ึงในการชี้บ่งอันตรายในกระบวนการจัดการ ความเสี่ยง โดยเป็นการค้นหาอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของงานหรือขั้นตอนของกิจกรรม ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อความปลอดภัยและสุขอนามัยของผู้ปฏิบัติงาน จึงต้องกาหนดมาตรการในการควบคุมป้องกันอันตรายอันนาไปสู่ การจัดทาแผนจัดการความเสี่ยงต่อไป นอกจากนั้นการชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี JSA ยังเป็นวิธีการท่ีเหมาะสม และมี ประสิทธิภาพในการนาไปจัดทาข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทางานตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการ บริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 การช้ีบ่งอันตรายดว้ ยวิธี JSA มปี ระโยชน์หลายประการดงั นี้ (1) นาผลการวเิ คราะห์ ไปจัดทาเปน็ ข้อบงั คับวา่ ด้วยความปลอดภัยในการทางาน เพอื่ ใช้ในการฝึกอบรม และกากบั ดแู ลผ้ปู ฏิบัตงิ าน ในเร่ืองความปลอดภัยและอาชวี อนามัยได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ (2) นาผลการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นการจดั ทาแผนจัดการความเสี่ยง (3) นาผลการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นการปรับปรงุ สภาพการทางานให้มคี วามปลอดภยั มากข้นึ (4) ทาใหผ้ คู้ วบคมุ งานไดเ้ รียนรู้และมีความเข้าใจในการควบคมุ งานให้เกิดความปลอดภยั มากข้ึน (5) ทาใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานมคี วามรแู้ ละทศั นคติด้านความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ดีขน้ึ 1.1 วัตถปุ ระสงค์ 1) สามารถค้นหาอันตรายได้อย่างเป็นระบบ เพื่อไปสู่แผนงานป้องกัน รวมถึงจัดทาเป็นข้อบังคับ ดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้ 2) ผลการวเิ คราะห์งานเพ่ือความปลอดภัย สามารถใช้เปน็ แนวทางในการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานท้ัง ผู้ปฏบิ ัติงานเกา่ และผปู้ ฏบิ ตั ิงานใหม่ ในเรือ่ งความปลอดภัยและอาชวี อนามัยไดเ้ ป็นอยา่ งดี 1.2 ขอบเขต งานทุกงานควรได้รับการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ไม่ว่าจะเป็นงานไม่ประจา หรืองานประจา แต่ การท่จี ะเลอื กงานเพอ่ื ดาเนินการวเิ คราะห์กอ่ นนน้ั ควรพิจารณาจากข้อมลู ต่อไปน้ี - ความถ่ขี องการเกิดอบุ ตั เิ หตุของงานตา่ ง ๆ - ความร้ายแรงของอุบตั เิ หตุ เช่น เสยี ชีวิต พิการ ฯลฯ ทเี่ กิดขนึ้ จากการทางานในแต่ละงาน - ลักษณะความรุนแรงทีแ่ ฝงอยู่ในงานต่าง ๆ แต่ยังไม่เคยเกิดความสูญเสยี มากอ่ น - งานใหมท่ เี่ กดิ จากการเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิต หรือเปล่ียนเคร่ืองมือเครื่องจักรใหม่ แผนภมู ขิ ั้นตอนกำรวิเครำะหง์ ำนเพ่ือควำมปลอดภยั สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบตั ิการชีบ้ ง่ อันตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 2 2.1กอ่ นลงมือดำเนนิ กำรวเิ ครำะห์ 2.4 ทบทวนการวเิ คราะหง์ านเพ่อื 2.1.1 รวบรวมงานทัง้ หมดทร่ี ับผดิ ชอบ ความปลอดภัยเป็นระยะ 2.1.2 เลือกงานทจ่ี ะวิเคราะห์ 2.1.3 เลือกผปู้ ฏิบัติงานที่เก่ยี วข้อง 2.2 กำรดำเนนิ กำรวิเครำะห์ 2.2.1 เลอื กขัน้ ตอนการทางานท่จี ะวิเคราะห์ 2.2.2 ค้นหาอันตรายแต่ละขั้นตอนการทางาน 2.2.3 กาหนดวธิ ีการป้องกันและการปรับปรุง 2.3 ดำเนินกำรตำมมำตรกำรป้องกนั และปรบั ปรุง สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบตั กิ ารชบ้ี ่งอนั ตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 3 แบบกำรชบ้ี ง่ อันตรำยด้วยวิธี JSA แผนก . งาน/กิจกรรม . ชอ่ื หัวหน้างาน . . วนั ทีท่ าการวิเคราะห์ ข้นั ตอนงำน อันตรำย มำตรกำร (กำรป้องกนั และกำรปรับปรุง) ผูท้ าการวิเคราะห์ .2) 3) . 1) สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั ิการช้ีบ่งอนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 4 2. ขนั้ ตอนกำรวิเครำะหง์ ำนเพ่ือควำมปลอดภัย ขั้นตอนการวิเคราะห์งานเพ่ือความปลอดภัย มีขนั้ ตอนหลักๆ ดังนี้ 2.1 กอ่ นลงมือดำเนินกำรวเิ ครำะห์งำนเพอ่ื ควำมปลอดภัย 2.1.1 รวบรวมงำนท้ังหมดท่รี ับผดิ ชอบ โดยรวมประเภทของงาน กิจกรรม หรือตาแหน่งงานที่ มีในหนว่ ยงานว่า มงี านใดบา้ ง จานวนผปู้ ฏิบตั ิงาน จานวนคร้งั ทปี่ ฏิบัติในแต่ละวนั และงานใดเปน็ งานวกิ ฤต 2.1.2 เลือกงำนท่ีจะวิเครำะห์เพื่อควำมปลอดภัย โดยปกติแล้ว งานทุกงานควรได้รับการ วิเคราะห์งานเพ่อื ความปลอดภัย ไม่วา่ จะเป็นงานไม่ประจา หรืองานประจา แตก่ ารท่ีจะเลือกงานเพ่ือดาเนินการ วเิ คราะห์ก่อนนน้ั ควรพิจารณาจากข้อมูลต่อไปน้ี - ความถี่ของการเกดิ อุบัติเหตขุ องงานต่าง ๆ - ความร้ายแรงของอุบตั ิเหตุ เช่น เสยี ชีวติ พกิ าร ฯลฯ ท่เี กดิ ขึ้นจากการทางานในแตล่ ะงาน - ลกั ษณะความรนุ แรงท่ีแฝงอยูใ่ นงานตา่ ง ๆ แต่ยงั ไม่เคยเกดิ ความสูญเสยี มากอ่ น - งานใหม่ทเี่ กดิ จากการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลติ หรือเปลี่ยนเคร่ืองมือเครื่องจักรใหม่ 2.1.3 เลือกผู้ปฏิบัติงำนท่ีเกี่ยวข้องกับงำนท่ีจะวิเครำะห์ ควรช้ีแจงให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึง วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งานเพ่ือความปลอดภัยว่าเป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงอนั ตราย เป็นการขจัดและ ควบคมุ อันตรายนั้น มิใชเ่ ป็นการเฝ้าสงั เกตเพ่ือการจับผดิ ผู้ปฏิบัตงิ าน ควรให้ผู้ปฏิบัติงานได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย โดยพิจารณาเลือก ผู้ท่ีมีประสบการณ์ในงานนั้น และเป็นผู้ให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ในการเฝ้าสังเกตการทางานและควรให้มีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์งานทุกขั้นตอน นับตงั้ แต่การทบทวนอันตรายที่แฝงอยู่ในงาน รวมทง้ั การเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุง แกไ้ ข 2.2 กำรดำเนนิ กำรวเิ ครำะหง์ ำนเพือ่ ควำมปลอดภยั 2.2.1 เลือกข้ันตอนกำรทำงำนท่ีจะวิเครำะห์ งานทุกงานสามารถแบ่งขั้นตอนได้เป็นลาดับ ซ่ึงอาจทาได้โดยการเฝ้าสังเกตจากการทางานของผู้ปฏิบัติงาน แล้วเขียนข้ันตอนการทางานท่ีสาคัญ ๆ เรียง ตามลาดับก่อนหลัง ข้อควรระวังในการแบ่งแยกขั้นตอนของงานคือ ไม่ควรแบ่งข้ันตอนการทางานให้ละเอียด จนเกินไป หรือหยาบจนเกนิ ไป ทง้ั น้ี หากมภี าพประกอบในแตล่ ะขน้ั ตอน จะทาใหม้ ีความเขา้ ใจง่ายข้นึ ตวั อย่ำงขัน้ ตอนเจียเหลก็ หล่อ สามารถแบง่ ขั้นตอนการทางานออกไดเ้ ปน็ 3 ข้นั ตอน ดงั นี้เชน่ 1. หยิบแท่งเหลก็ หล่อจากกล่องขวามือ 2. กดเหล็กหล่อเข้ากับลอ้ หินเจยี 3. ใส่แท่งเหลก็ หลอ่ ทข่ี ดั แลว้ ลงในกล่องซ้ายมือ หลงั จากได้ข้อมูลขั้นตอนการทางานท่จี ะวิเคราะห์เรยี บร้อยแลว้ ใหน้ าข้อมูลกรอกลงในช่อง “ขนั้ ตอนงำน” สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั ิการช้บี ง่ อันตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 5 2.2.2 ค้นหำอันตรำยแต่ละขั้นตอนกำรทำงำน พร้อมสาเหตุท่ีเกิดข้ึน หลังจากที่ได้แบ่งข้ันตอน การทางานแล้ว ต้องพยายามตรวจสอบหรือค้นหาอันตรายท่ีมีอยู่หรือแฝงอยู่ หรืออาจเกิดข้ึนในแต่ละข้ันตอนการ ทางาน โดยผู้วิเคราะห์อาจใชป้ ระเด็นในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ปฏบิ ัติงำน - มีโอกาสสัมผัสกับสิ่งท่อี าจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรอื เมอื่ ยล้า - อาจถกู ดงึ เขา้ ไปในหรอื อย่รู ะหวา่ งเคร่ืองจักร - อาจได้รบั บาดเจ็บจากการเออื้ มมอื ข้ามสว่ นของเครอ่ื งจักรหรือวัสดทุ ่กี าลังเคล่อื นไหว - ไม่หยดุ เครือ่ งจกั รในขณะซ่อมบารุง - สวมใสเ่ สื้อผ้าหรือเครอื่ งประดบั ทอ่ี าจถกู เครอ่ื งจักรดงึ มว้ น หรือหนีบเข้าไป - อยู่ในจดุ ทอี่ าจทาใหเ้ สยี หลักหรอื เสียการทรงตวั - อยใู่ นบรเิ วณที่อาจเกดิ อันตรายขน้ึ ได้ - มลี ักษณะการทางานทอี่ าจได้รบั บาดเจ็บที่มือหรือเทา้ - อาจถกู กระแทก กระทบกบั สว่ นของเคร่ืองจักรหรอื วัตถุ - อาจพลัดตกจากที่สูง - อาจไดร้ ับบาดเจบ็ จากการยก หรอื ลากดึงวตั ถุ หรอื ผลกั ดนั วตั ถุท่ีหนกั - ไมส่ วมใส่อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับงาน (2) เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และวัสดุ - มีอนั ตรายท่ีเกดิ จากเครือ่ งมือ เครอ่ื งจกั ร ยานพาหนะ หรืออุปกรณต์ ่าง ๆ - มีการป้องกันอันตรายท่ีบริเวณงาน เครื่องจักร หลุม รู และการทางานที่มีอันตราย อย่างไม่เพยี งพอ - มอี นั ตรายท่ีเกิดจากการสัมผัสสารเคมี วตั ถดุ บิ หรือผลิตภัณฑ์ - มีวตั ถหุ รือขอบเคร่ืองจกั รที่แหลมคม ซึง่ อาจทาให้เกิดบาดเจบ็ - มีการจดั กระบวนงานท่ีไม่เหมาะสม เช่น การทางานทีเ่ รง่ รีบเพอ่ื ให้ไดช้ ้ินงานตาม เป้าหมาย เปน็ ต้น (3) สภำพและสงิ่ แวดล้อมกำรทำงำน - มีอนั ตรายจากสงิ่ แวดล้อมทีเ่ กดิ จากการทางาน เชน่ ฝุ่นละออง สารเคมี รังสจี ากการ เชอ่ื ม ความร้อน การระบายอากาศ เสยี งดงั เป็นต้น - มอี ันตรายจากการจัดวางส่งิ ของในสถานทีท่ างานไมเ่ ป็นระเบียบเรียบร้อย กีดขวางเสน้ ทาง การสังเกตการทางานตามขั้นตอนต่าง ๆ นัน้ ผู้ดาเนินการวิเคราะห์งานจะต้องมีความรู้และเฝ้า สังเกตอย่างใกล้ชิด บางครั้งการเฝ้าสังเกตอาจต้องทาหลายคร้ังเพื่อท่ีจะสามารถค้นหาและทราบถึงอันตราย ทัง้ หมดได้ หลังจากได้ขอ้ มูลอันตรายพร้อมสาเหตุท่ีอาจเกิดขนึ้ ในแต่ละข้ันตอนการทางานเรียบร้อยแล้ว ให้นา ขอ้ มูลกรอกลงในชอ่ ง “อนั ตรำย” ของแต่ละขัน้ ตอนการทางาน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ัติการชบ้ี ่งอนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 6 2.2.3 กำหนดวิธกี ำรป้องกันอันตรำยและกำรปรบั ปรุงในแต่ละขั้นตอนการทางาน หลังจากได้ ทราบอันตรายต่าง ๆ พร้อมสาเหตุแล้ว ก็ต้องพยายามกาหนดวิธีการป้องกันเพ่ือขจัดอันตรายต่าง ๆ ให้หมดไป มาตรการป้องกันอันตรายสามารถดาเนินการโดยกาหนดวิธีการป้องกันและควบคุมท่ีแหล่งของอันตรายและ ผู้ปฏิบัติงาน เช่น - มีการกาหนดวธิ กี ารทางานใหม่ หรือเปลย่ี นลาดบั ของข้ันตอนการทางาน - มกี ารฝึกอบรมความปลอดภยั และอาชวี อนามัย ในหวั ขอ้ ทเี่ หมาะสมใหแ้ ก่ผู้ปฏิบัตงิ าน ทเี่ ก่ยี วข้อง - มกี ารสับเปลยี่ นหมุนเวยี นผูท้ ่ีเหมาะสมร่วมปฏิบัตงิ าน - มีมาตรการจูงใจทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ - มกี ารปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพของเครอ่ื งมือและอุปกรณ์ - มกี ารปรบั ปรงุ สถานที่ทางานให้เปน็ ระเบียบเรยี บร้อยปราศจากส่งิ กีดขวาง - มกี ารจดั วางผังโรงงาน แสงสวา่ ง และระบบการระบายอากาศ - มกี ารเพิ่มการ์ดป้องกันอนั ตรายจากเคร่ืองจักร - มแี ผนการซอ่ มบารุงเครอ่ื งจักรเป็นประจาสม่าเสมอ - มีการตรวจสอบอุปกรณ์ท่ีใชป้ ฏบิ ัติงานเปน็ ประจา มีตารางการตรวจสอบ - มีการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารขนยา้ ยสง่ิ ของจากการใชแ้ รงกาย เป็นการใชอ้ ุปกรณเ์ ครื่องกล - มกี ารเพม่ิ ทักษะและความชานาญใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิงาน - มีการจดั ใหม้ แี ละใช้อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คลที่ถูกต้องและเหมาะสม หลังจากได้ข้อมูลวิธีการป้องกันอันตรายและการปรับปรุงในแต่ละข้ันตอนการทางานเรียบร้อย แล้ว ให้นาขอ้ มูลกรอกลงในชอ่ ง “มำตรกำร (กำรปอ้ งกันและกำรปรับปรงุ )” สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั กิ ารช้บี ง่ อนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 7 ตวั อย่ำง แบบกำรช้ีบง่ อนั ตรำยดว้ ยวิธี JSA ของงำนเจยี แผนก ซอ่ มบารุง งาน/กิจกรรม งานเจยี . ช่ือหัวหนา้ งาน นายเจยี ฝีมอื ดี วนั ทที่ าการวิเคราะห์ 01/02/2563 . ข้ันตอนงำน อันตรำย มำตรกำร (กำรปอ้ งกันและกำรปรบั ปรุง) 1. หยิบแท่งเหล็กหล่อจาก 1. เหล็กหล่อบาดมือ 1. สวมใส่ถุงมือหนัง กล่องขวามอื 2. เหลก็ หลอ่ ตกใสเ่ ท้า 2. สวมใสร่ องเทา้ นิรภยั 3. บาดเจบ็ กล้ามเนื้อจากการเออื้ ม 3. ปรับตาแหน่งท่ีวางเหล็กหล่อใกล้กับ ผู้ปฏบิ ัติงาน 2. กดเหล็กหล่อเข้ากับล้อ 1. หนิ เจียแตก หัก สะบดั กระเด็น 1. หา้ มเจยี ช้นิ งานเกนิ กาลังของเครื่องเจีย หนิ เจีย 2. จดั ทาเครอ่ื งปิดบังเศษวสั ดุกระเดน็ 2. เสยี งดงั ตรวจวัดระดับความดังของเสียง ถ้า เสียงดังเกินกฎหมายกาหนดให้ปฏิบัติ ตามกฎหมายกาหนด 3. วัสดุหินเจียหลุดกระเด็น เศษวัสดุ 1. ขณะปฏิบัติงานต้องมีแผงก้ันเศษวัสดุ กระเดน็ ออกไปโดนผูอ้ ื่น กระเดน็ ใส่ผอู้ ืน่ 2. หลีกเลี่ยงการอยู่ดา้ นหน้าของหินเจีย ในขณะทดสอบการเดินเครื่องหลังจาก เปล่ียนหินเจียใหม่ 3. แทน่ รองชิ้นงานต้องหา่ งจากหินเจียไม่ เกิน 1/8 นิ้ว และที่เล่ือนปิดครอบการ์ด ตอ้ งมรี ะยะ ห่างไม่เกนิ 1/4 น้วิ ซึ่งจะตอ้ ง ทาการตรวจสอบ ก่อนเร่ิมงานทุกครั้ง โดยอาจใช้เกจวัดระยะแบบสาเร็จรูปจะ สะดวกในการตรวจสอบยิง่ ขน้ึ 4. กระแสไฟฟ้ารั่ว กระแสไฟฟ้าช็อค 1. จัดทามาตรการป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว และตอ่ สายดนิ ร่างกาย 2. การถอดประกอบหินเจีย ต้องยกสะพานไฟ (คัตเอาท)์ ออกก่อนทุกครงั้ 5. ฝนุ่ จากการเจยี 1. ตรวจวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นเพื่อพิจารณา ความจาเป็นในการตรวจสุขภาพตามปัจจัย เสีย่ ง 2. จดั ทาระบบระบายอากาศ 3. สวมใสอ่ ุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบตั ิการชี้บง่ อันตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 8 ขั้นตอนงำน อันตรำย มำตรกำร (กำรปอ้ งกันและกำรปรับปรุง) 3. ใส่แทง่ เหลก็ หล่อทขี่ ดั แล้ว ลงในกล่องซา้ ยมอื 6. บาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเน้ือ พิจารณาเอกสาร หรือขอคาแนะนา จ า ก ผู้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ด้ า น ก า ร ย ศ า ส ต ร์ จากทา่ ทางการทางาน ว่ า จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี ม า ต ร ก า ร เ พิ่ ม เ ติ ม หรอื ไม่ 7. ส่วนที่หมุนของอุปกรณ์ดึงอวัยวะ ติดตั้งการ์ดครอบส่วนที่หมุน และ ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายเข้าเครือ่ งเจีย แต่งกายให้รัดกุม ไม่มีส่วนที่รุ่มร่าม ไม่ใช้ป้ายคล้องคอ ให้รวบผมหากผม ยาวเกนิ สมควร 8. เหลก็ หลอ่ ตกใสเ่ ท้า สวมใส่รองเทา้ นิรภยั 9. อาจเกิดเพลิงไหม้ได้ หากมีสาร ตรวจสอบบริเวณเจียโลหะ ไม่ให้มีสาร ไวไฟ หรือวสั ดตุ ดิ ไฟ ไวไฟอย่ใู กล้บริเวณท่ีมกี ารเจยี 1. เหลก็ หล่อบาดมือ 1. สวมใสถ่ ุงมอื หนงั 2. เหล็กหล่อตกใสเ่ ท้า 2. สวมใสร่ องเทา้ นริ ภยั 3. บาดเจ็บกลา้ มเนื้อจากการเอ้ือม 3. จดั และปรบั ตาแหนง่ ทวี่ างเหลก็ หล่อ ใกล้กบั ผปู้ ฏบิ ัติงาน ผูท้ าการวเิ คราะห์ .2) จป.วชิ าชพี 3) นายขยัน ปลอดภยั . 1) นายเจยี ฝมี ือดี หมำยเหตุ : ในการปฏิบัติงานเจีย อาจมีอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทางานในขั้นตอนเตรียมงานก่อนเริ่ม ปฏิบัติงานเจีย และข้ันตอนเก็บงาน หลังจากเสร็จงาน เพื่อเป็นการป้องกันการประสบอันตรายจากการทางาน อาจมีการพจิ ารณาอันตรายและมาตรการเพอ่ื การป้องกนั และปรับปรุง ดังนี้ ก. ขน้ั ตอนกำรเตรียมงำน 1. การเตรยี มความพรอ้ มของเคร่ืองเจยี และอปุ กรณ์ อนั ตรายอาจเกิดขึน้ จาก 1.1 ชิ้นส่วนวัสดุกระเด็น หินเจียแตกกระเด็น/บาดมือ จากอุปกรณ์เครื่องเจียที่ชารุด ซึ่งสามารถ ป้องกนั ไดโ้ ดยผปู้ ฏิบัตงิ านทาการตรวจเช็คอปุ กรณเ์ คร่อื งเจยี ให้อยูใ่ นสภาพทใ่ี ช้งานอย่างปลอดภยั ดังน้ี (1) ตรวจสอบสภาพของหินเจียให้เรียบร้อย ไม่มีรอยแตกร้าวหรือชารุด ก่อนการใช้งาน โดยการ เคาะหินเจียด้วยไม้หรือด้ามไขควงเบา ๆ โดยรอบ เพ่ือฟังเสียง (Ring test) ถ้ามีเสียงก้องแสดงว่า ไม่มีรอย แตกรา้ ว ถา้ มเี สียงแปก๊ ๆ แสดงว่าอาจมีรอยรา้ ว ไมค่ วรใชง้ านหินเจยี ดงั กลา่ วโดยเด็ดขาด สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏบิ ตั กิ ารชบี้ ง่ อันตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 9 (2) หากมีการเปล่ียนใบหินเจียใหม่หลังติดตั้งแล้วเสร็จ ให้เปิดเครื่องทดสอบการหมุนก่อน ว่ามี การทางานหรอื มกี ารสัน่ สะเทือนทีผ่ ดิ ปกตหิ รอื ไม่ (3) ตรวจสอบสภาพเครอ่ื งเจียว่าการ์ดท่ตี ดิ ต้งั มาพรอ้ มเคร่ืองอยู่ในสภาพสมบูรณ์หรือไม่ (4) ห้ามใชใ้ บตัดมาใช้ในงานเจีย (5) ตรวจสอบขนาดของหินเจียใหต้ รงกับความเร็วรอบของมอเตอร์ (6) ลักษณะการใส่หินเจียต้องพอดีกับขนาดของหัวจับและรูเจาะต้องพอดีกับหัวจับที่เพลาแท่น เท่านั้น หา้ มนาวสั ดุอ่ืนมาเสรมิ โดยเด็ดขาด (7) หากพบอุปกรณ์เคร่อื งเจียมีสภาพไม่ปลอดภยั ให้แจ้งหัวหน้างานทันทีเพื่อติดป้าย “ชารุด” และ ส่งซอ่ ม 1.2 กระแสไฟฟา้ รัว่ ซึ่งสามารถป้องกนั ไดโ้ ดย (1) ตรวจสอบว่ามีการต่อสายดินไว้หรือไม่ ในกรณีที่ไม่มีสายดิน ต้องเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีมีโครง หอ่ หุ้มเปน็ พลาสติก และเปน็ ชนดิ ฉนวน 2 ชัน้ ซึ่งจะมีสัญลกั ษณ์สีเ่ หล่ยี ม 2 ชั้น ระบไุ ว้ (2) ในการเปลี่ยนหินเจียทุกครั้ง ให้ทาการปิดเครื่องและดึงปลั๊กออก เพื่อเป็นการตัดพลังงาน ไฟฟา้ ออกกอ่ นเริ่มงานเปลีย่ นทุกครั้ง 2. การเตรียมพ้ืนที่ อาจเกิดไฟไหม้จากสะเก็ดไฟจากงานเจียไปยังวัสดุติดไฟ สารเคมีไวไฟหรือเช้ือเพลิง ท่ีวางในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสามารถป้องกันได้โดยตรวจสอบบริเวณโดยรอบและด้านล่างที่มีวัสดุติดไฟ สารเคมี ไวไฟหรือเช้ือเพลิงวางอยู่ หากพบวัสดุดังกล่าวฯ ต้องนาออกให้พ้นรัศมีสะเก็ดกระเด็น และหากไม่สามารถนา ออกได้ต้องมีการปกคลมุ ด้วยวัสดุทนไฟให้มดิ ชดิ ก่อนเรมิ่ ปฏิบัตงิ าน 3. การเตรียมพร้อมผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน อาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายจาก 3.1 วัสดุกระเด็นเข้าตา หล่นใส่เท้า บาดมือ วัสดุกระเด็นใส่ ท่ีอาจเกิดจากการทางาน ซึ่งสามารถ ป้องกันได้โดยตรวจสอบความเรียบร้อยของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ แว่นตา กระบังหน้า รองเทา้ และถงุ มอื ผา้ รองเทา้ ยางหุ้มส้นตามท่ีกาหนด 3.2 แสงสว่างไม่เพียงพอ ซ่ึงสามารถป้องกันได้โดยสารวจแสงสว่างในพื้นที่ปฏิบัติงานว่า มีแสงสว่าง เพยี งพอ 3.3 ถูกดึง เหนี่ยวร้ังส่วนของร่างกาย ให้เกิดอุบัติเหตุได้ทาให้เกิดอุบัติเหตุได้เกิดจากการแต่งกายไม่ ปลอดภยั ซ่ึงสามารถปอ้ งกนั ไดโ้ ดย (1) แตง่ กายเรยี บรอ้ ย รดั กมุ ไม่รงุ่ ริ่ง (2) ไม่สวมใสเ่ คร่อื งประดบั ทอี่ าจเกี่ยวยึดโยงกับสิ่งใดได้ (3) รวบผมที่ยาวเกนิ สมควรให้ปลอดภยั ข. ขัน้ ตอนเกบ็ งำน หลงั จำกเสรจ็ งำน อาจก่อให้เกดิ อันตรายจาก - กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งสามารถป้องกันได้โดยเม่ือปฏิบัติงานเสร็จแล้ว ให้ทาการปิดสวิทซ์ เบรกเกอร์ทุกครงั้ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบัตกิ ารช้บี ่งอนั ตรายดว้ ยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 10 - สะดุดวัสดุอุปกรณ์หกล้ม จากความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยในการจัดวางวัสดุ อุปกรณ์ ชิ้นงาน ซ่งึ สามารถป้องกนั ไดโ้ ดยจดั เกบ็ วสั ดุ อุปกรณ์ ช้นิ งานต่าง ๆ ให้เรียบรอ้ ย 2.3 ดำเนินกำรตำมมำตรกำรป้องกันและปรับปรุง เม่ือได้มีการทบทวนหรือหารือกับผู้ปฏิบัติงาน แลว้ ต้องดาเนนิ การตามวธิ ีการป้องกนั และการปรับปรงุ (1) กาหนดวธิ ีการทางานใหม่ เช่น อาจมีการรวบขัน้ ตอนบางขัน้ ตอนเข้าด้วยกัน หรือเปล่ียน ลาดบั ของข้นั ตอนหรืออาจมีการเปล่ยี นขั้นตอนการทางานใหมท่ ัง้ หมด ในการเปล่ียนกระบวนการทางานใหมอ่ าจ จาเปน็ ต้องจัดการฝึกอบรมให้พนกั งานดว้ ย (2) บางคร้ังไม่จาเป็นต้องเปลี่ยนวิธีการทางานใหม่ แต่อาจพิจารณาว่าจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง สภาพการทางานหรือออกแบบเคร่ืองมือและอุปกรณ์ใหม่ เช่น ติดการ์ดที่เครื่องจักรท่ีมีอันตราย หรือจัดหา อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ทั้งนี้ เพอื่ ขจดั และลดอนั ตรายลง (3) ถ้าหากอันตรายยังไม่หมดไป ต้องพยายามลดความถ่ีของการทางานน้ัน ๆ หรือปรับข้ันตอน การทางานท่ีปลอดภัย เมื่อจัดทาข้อเสนอแนะเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรมีการช้ีแจงและหารือกับผู้ปฏิบัติงานที่ ทางานน้ันทุกคนให้ได้รับแนวความคิดและข้อเสนอแนะของผู้ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับอันตรายและแนวทางใน การแกไ้ ขที่เป็นประโยชน์ ทัง้ น้ี มน่ั ใจว่าผู้ปฏิบตั ิงานทกุ คนเข้าใจในสง่ิ ที่กาหนดให้ทา และมีเหตผุ ลในการเปลย่ี น กระบวนการทางานนัน้ อย่างเพยี งพอ 2.4 ทบทวนกำรวิเครำะหง์ ำนเพ่ือควำมปลอดภัยเป็นระยะ การวิเคราะห์งานเพ่ือความปลอดภัยท่สี ามารถลดอบุ ัติเหตุและการบาดเจ็บจากการทางานไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ จะต้องมีการประเมินผลการดาเนินการตามมาตรการ (การป้องกันและการปรับปรงุ ) เพื่อปรับปรุง การวเิ คราะหง์ านท่ีได้จัดทาขน้ึ เป็นระยะ ๆ ซง่ึ จะทาให้สามารถคน้ หาขอ้ บกพรอ่ งของการวิเคราะหเ์ ดิมได้ ทุกคร้ังที่มีการปรับปรุงวิธีการทางานใหม่ตามผลการวิเคราะห์งาน ผู้ปฏิบัติงานควรได้รับการ ฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติเพ่ือให้สามารถทางานตามวิธีการใหม่น้ันและจะต้องจัดหามาตรการป้องกันต่าง ๆ ให้แก่ ผู้ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเหมาะสม ถ้าหากเกิดการประสบอันตรายเนื่องจากการทางาน ในงานท่ีได้ดาเนินการวิเคราะห์งานและมีการ ปรับปรุงตามมาตรการป้องกันแล้ว จะต้องรีบดาเนินการประเมินผลและวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยทันที เพอื่ จะได้หาแนวทางเพ่ือการป้องกนั ซ่ึงอาจจาเป็นต้องเปล่ียนกระบวนงาน แต่หากการประสบอนั ตรายเน่ืองจาก การทางานนัน้ เกดิ จากการท่ผี ู้ปฏบิ ัตงิ านไม่ปฏิบัติตามข้นั ตอนการทางานท่ีกาหนด ต้องมีการช้ีแจงใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ าน ทกุ คนท่ีทางานน้ันไดร้ บั ทราบทนั ที จากการชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี JSA น้ี หากต้องการประเมินความเส่ียง สามารถนาข้อมูลท่ีได้จากการ วเิ คราะห์งานไปใช้ในการประเมนิ ความเสีย่ งต่อไปได้ เพื่อใชใ้ นการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานอย่างมีประสิทธผิ ล สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

แนวปฏิบตั ิการช้ีบ่งอันตรายด้วยวธิ ี Job Safety Analysis (JSA) 11 เอกสำรอำ้ งองิ กรมสวัสดิการและคบุ้มรรคณรำอนุกงรแมรงงาน. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริการและการจัดการด้านความ CONTENปTSลอดภัยCOอNาTชENีวอTSนามยั และสCภOาพNแวTดลEอ้ NมใTนกSารทางาน พ.ศ. 2549 No table of contents กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. “คeู่มntือrกieาsรฝfoึกuอnบdร.มเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน (ปรับปรุง)” จัดพิมพ์ครั้งท่ี 1. สวัสดิการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน : ห้างหุ้นส่วนจากัด อรณุ การพิมพ์, 2562 กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน พ.ศ. 2554 สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

ขั้นตอนกำรทำงำน อนั ตรำย กำรป้องกันและกำรปรับปรงุ 1. หยบิ แท่งเหล็กหล่อจากกล่อง ขวามือ 1. เหล็กหลอ่ บาดมือ 2. เหลก็ หล่อตกใส่เท้า 3. การบาดเจบ็ กลา้ มเนือ้ จากการเอ้ือม 2. กดเหล็กหลอ่ เขา้ กบั ลอ้ หินเจีย 1. สะเก็ดวัสดุกระเด็นเขา้ ตา 3. ใส่แท่งเหลก็ หลอ่ ท่ีขัดแล้ว ลงใน 2. เม่อื ยล้า ปวดเมือ่ ยนิว้ มือและ กล่องซ้ายมือ กล้ามเนื้อ 3. หายใจเอาฝ่นุ ละอองเขา้ สปู่ อด 4. เสียงดงั 5. สว่ นที่มีการหมุนของอุปกรณ์ดงึ อวยั วะส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายเข้า เคร่ืองเจียได้ 1. เหล็กหลอ่ บาดมือ 2. เหล็กหลอ่ ตกใส่เทา้ 3. การบาดเจ็บกลา้ มเนื้อจากการเออื้ ม 2.2.3 กำหนดวิธีกำรปอ้ งกนั อันตรำยและกำรปรบั ปรุงในแตล่ ะข้ันตอนการทางาน หลังจากได้ ทราบอนั ตรายต่าง ๆ พร้อมสาเหตุแล้ว ก็ต้องพยายามกาหนดวธิ ีการป้องกันเพ่ือขจดั อันตรายตา่ ง ๆ ให้หมดไป มาตรการป้องกนั อันตรายสามารถดาเนินการโดยกาหนดวิธีการปอ้ งกันและควบคุมที่แหล่งของอนั ตรายและ ผปู้ ฏิบัติงาน เช่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook