แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพ้นื ที่สงู ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพ้นื ที่สงู ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
ก คานา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชุมชนบนพื้นที่สูง ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา จัดทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2564 – 2567 โดยยึดแนวทางการพัฒนาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน สง่ เสรมิ นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั เชียงราย ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอเวยี งปุาเปาู ตลอดจนบรบิ ท สภาพปัญหา และความต้องการของกลุ่มเปูาหมายในพื้นท่ี เพื่อกาหนดเป็นข้อปฏบิ ัติ และแนวทางในการดาเนนิ งาน ให้เปน็ ไปตามเปาู หมายท่ีต้งั ไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประสิทธผิ ล แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชุมชนบนพ้ืนที่สูง ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา พ.ศ. 2564 – 2567 ฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงด้วยดีด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวขอ้ งรว่ มกนั ระดมความคิดเห็น โดยนาสภาพปัญหาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากชุมชนมาเป็น ฐานในการพัฒนาการจัดการศึกษาชุมชนบนพ้ืนที่สูง มาปรับปรุงเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา เพ่อื สนองตอบความตอ้ งการของประชาชนในพ้นื ทอ่ี ยา่ งแท้จริง ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ าู หลวง” บ้านสามกุลา กล่มุ ห้วยทราย หมู่ท่ี 8 ตาบลเวยี ง แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชุมชนบนพ้ืนท่สี งู ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
สารบัญ ข คานา หน้า สารบัญ ก ตอนท่ี 1 บทนา ข ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู พน้ื ฐานเพ่ือการวางแผน 1 ตอนท่ี 3 แผนพัฒนาการจดั การศึกษาบนพน้ื ท่สี งู 7 ภาคผนวก 30 - คณะผู้จดั ทา 40 แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพนื้ ท่ีสูง ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
1 ตอนที่ 1 บทนา แผนพฒั นาการจัดการศึกษาชุมชนบนพืน้ ที่สงู ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกุลา ความเปน็ มา ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 ได้มี การจัดตั้ง ศศช. บ้านสามกุลาข้ึนมาโดยการสารวจพ้ืนที่โดยครู ศศช. สังกัดศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรยี นอาเภอเวียงปุาเปาู โดยมี นายเจริญศักด์ิ ดีแสน เป็นหัวหน้าศูนย์บริการดังกล่าว และมีครูประจา ศูนย์ คอื นายดวงจันทร์ ธรรมยศ มีการจัดกิจกรรมต่างๆในรูปแบบ ศศช. ให้การศึกษาท้ังเด็กและผู้ใหญ่ โดยมีการจัดกิจกรรมควบคู่ไปกับเจ้าหน้าที่โครงการหลวงแม่ปูนหลวงที่เป็นผู้สอนนักเรียนและต่อมา ครูประจาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม อย่างเป็นเอกเทศต่อมาปี พ.ศ. 2539 กศน.อาเภอเวียงปุาเปูาได้ทาการยกเลิกกิจกรรมที่ ศศช.ตั้งอยู่ ดังกล่าวโดยมีโรงเรียนในระบบเข้ามาเปิดเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนบ้านแม่ปูนหลวง และ ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบในระบบไปจนถึงปี พ.ศ. 2556 ทางโรงเรียนสาขาแม่ปูนหลวง ได้ทาการยกเลิกเป็นสถานศึกษาในระบบที่เป็นโรงเรียนสาขาเนื่องจากจานวนผู้เรียนในระบบมีจานวน ไม่เพียงพอไม่สามารถที่จะเปิดเป็นโรงเรียนสาขาได้จึงทาให้สถานท่ีแห่งนี้ร้างลงไปอีกครั้งเป็นระยะเวลา 3 ปีจนกระทง้ั ปี พ.ศ. 2559 กศน.อาเภอเวียงปุาเปูาได้มบี ุคลากรทางการศกึ ษาเข้ามาสารวจพื้นที่ดังกล่าว อีกคร้ังโดย นางพัฒนา ใจเถิง ตาแหน่งครูอาสาสมัครฯบนพื้นท่ีสูง ได้รับมอบหมายให้มารับตาแหน่ง ครูประจาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา อีกคร้ังและได้ดาเนินกิจกรรม ดังกล่าวตั้งแต่วันท่ี 16 พฤษภาคม 2559 จนถึงปัจจุบัน ได้จัดกิจกรรมในรูปแบบศูนย์การเรียนชุมชน ชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” บา้ นสามกุลา ทต่ี ้งั ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ูาหลวง” บ้านสามกุลา หมู่ที่ 8 ตาบลเวียง อาเภอเวียงปุาเปูา จังหวดั เชยี งราย เบอรโ์ ทรศัพท์ 0861965977 อีเมล์ [email protected] บทบาทหนา้ ที่ ภารกิจของศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” 1. ให้บริการและจัดกิจกรรมการศึกษาแก่เด็กและผู้ใหญ่ และใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 รวมทง้ั สอื่ การเรยี นการสอนประกอบหลกั สูตร 2. ปรับปรุงส่ือการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการของท้องถิ่น 3. สร้างหลักสูตรและสือ่ การเรยี นการสอน (การพฒั นาหลกั สตู รทอ้ งถนิ่ ) 4. จัดทาแผนการดาเนินงานในแตล่ ะเดอื น/ปี 5. จัดทารายงานการปฏิบัติงานประจาเดือนส่งให้แก่ครูนิเทศ และผู้บริหารตามสายงาน บังคบั บัญชา 6. ประเมินผลการเรียนการสอนของผู้เรียน ประเมินผลการจบหลักสูตรของผู้เรียนร่วมกับ กรรมการหมู่บ้าน ครูนิเทศและเจ้าหน้าที่อื่นๆ ท่ีกาหนดไว้ และประเมินผล/สรุปการจัดกิจกรรมโครงการ ต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 7. จัดทาบันทึกประจาวันประจาไว้ที่ศูนย์การเรียนฯเพื่อให้เป็นข้อมูลและประวัติการทางาน ของหมบู่ ้าน ซงึ่ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้สาหรับเจ้าหน้าท่ีทุกฝุาย รวมทั้งเมื่อมีกรณีครูลาออกจากการ แผนพฒั นาการจดั การศึกษาชมุ ชนบนพ้ืนที่สูง ศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
3 ปฏิบัติงาน และครใู หมเ่ ข้าไปปฏิบัติงานแทน จะสามารถศึกษาประวัติการทางานและสานต่อการทางานใน หมู่บา้ นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 8. รับผิดชอบ เกบ็ รักษา และทาบัญชวี สั ดุ ครุภณั ฑ์ ของศนู ยก์ ารเรยี นฯ 9. งานธุรการอ่ืนๆได้แก่ 9.1 งานทะเบียน ทะเบียนผู้เรียน / ผู้รับบริการ 9.2 งานสารบรรณ โต้ตอบหนงั สอื ราชการ 9.3 บันทึกการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 9.4 แผนการจดั การเรยี นรู้ 9.5 จัดหา/จัดสมดุ บนั ทึกการนเิ ทศ สาหรบั ให้ครูนเิ ทศ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผู้นเิ ทศภายนอก เช่น ศกึ ษานเิ ทศก์ ผู้บริหารสานักงาน กศน.จงั หวัด คณะกรรมการนเิ ทศ 9.6 จัดหา/จดั ทา สมุดเซ็นต์เยีย่ ม 9.7 จดั ทาแผนการปฏิบัตงิ านของครูอ่ืน ๆ 10. จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศของหมูบ่ ้าน / ชุมชน 11. จดั สภาพแวดล้อม 11.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” ให้เหมาะสม กับสภาพการเรียนของผู้เรียน ดูแลความสะอาด ห้องนอน ห้องครวั ห้องน้า ห้องเก็บของ และห้องเรียน ให้ มีความสะอาด รม่ ร่ืน สวยงาม ปลอดภัย เหมาะสม และมีบรรยากาศเอ้ือต่อ การส่งเสริม การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เปน็ ท้งั หอ้ งสมดุ ห้องเรียนและ ทพ่ี ักครู มีความม่ันคงแข็งแรงเหมาะสมกับการจัดกิจกรรม เช่น ส่วนทน่ี ่ังพืน้ ทจี่ ดั กจิ กรรมอภิปรายกล่มุ ห้องครวั ห้องนา้ หอ้ งพกั ครู ท่ีเก็บสือ่ และอื่น ๆ ได้แก่ 1) ปรัชญา วิสยั ทัศน์ เปูาประสงค์ ของสถานศึกษา (กศน.อาเภอ) 2) มุมเฉลมิ พระเกียรติ 3) มขี ้อมูลพน้ื ฐานชมุ ชน ประวตั ชิ มุ ชน ประวตั ชิ นเผ่า ประเพณี วฒั นธรรม 4) แผนผังหมูบ่ า้ น ทาเนยี บผู้นา กรรมการศนู ยก์ ารเรยี น 5) โครงสรา้ งบคุ ลากร กิจกรรมการดาเนินงานของ ศศช. 6) ขอ้ มลู สถติ ิผูเ้ รยี น 7) ทะเบียนผูเ้ รียน ทะเบยี นผ้ไู ม่รหู้ นังสือ 8) ขอ้ มูลแหลง่ เรียนรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน 9) โครงสรา้ งหลกั สตู ร 10) สมดุ นิเทศ (สาหรับครนู เิ ทศ ผูน้ ิเทศภายใน และผู้นเิ ทศภายนอก บันทกึ ) 11) สมุดบันทึกการเยี่ยม (สาหรับบุคคลภายนอกที่มาเยี่ยมการจั ดกิจกรรม ใน ศศช. บนั ทึกเยี่ยม ) 12) แผนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 13) แบบบนั ทึกหลังการสอน 14) มมุ การศกึ ษาทางไกล (โทรทศั น์ ส่อื มัลติมีเดียตา่ ง ๆ ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ ทวี ี ไอท)ี 15) มุมสง่ เสริมการอ่าน 16) บอรด์ นทิ รรศการวันสาคญั 17) มุมสอื่ การสอน 18) มมุ สง่ เสรมิ การเรียนรู้ เช่น มมุ อาเซยี น บุคคลสาคญั เป็นตน้ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพ้ืนทสี่ ูง ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
4 19) มุมแสดงผลงาน/ขอ้ มูล มุมฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารในหอ้ งเรียน 11.2 จัดสภาพแวดล้อมภายนอกศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ าู หลวง” ให้เหมาะกับผู้เรียน/ผู้รับบริการ และพัฒนาของเด็กก่อนวัยเรียน (ท่ีอาจมี) เช่น สนามเด็กเล่นสถานท่ีฝึก ปฏิบตั กิ ารเกษตรกรรม (แปลงผัก สถานทเี่ ลีย้ งสตั ว์ บอ่ ปลา สวนไมผ้ ล สวนไมด้ อก อ่ืน ๆ) สถานที่พักผ่อน และอื่น ๆไดแ้ ก่ 1) มีปาู ย ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ าู หลวง” 2) เสาธงชาติ ธงอาเซียน 3) มีลานกิจกรรม สนามเดก็ เล่น 4) มกี ารปลกู ไมด้ อก ไม้ประดับ 5) มปี ูายแผนการปฏิบัตงิ านของครู 6) มีบอรด์ ประกาศ ประชาสัมพนั ธ์ 7) มบี อร์ดนิทรรศการงานสาคญั 8) มแี หลง่ เรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง 9) มีแปลงพชื ผักสวนครัว และโรงเรอื นเลี้ยงสัตว์ 10) มปี าู ยสุภาษิต คาคม ภาษาลา้ นนา ติดให้ความรตู้ ามต้นไม้ หรือนอกอาคาร 11) มีการจดั การขยะ มีถังขยะแยกประเภท 11.3 การจัดสภาพแวดล้อมในชมุ ชน ซ่งึ ถือเปน็ แหลง่ เรียนรแู้ ละนากจิ กรรมการเรียนรู้ที่ จาเป็นสาหรบั ผเู้ รยี นนาไปปฏิบตั ิจริง เชน่ การจดั การบ้านเรือนใหส้ ะอาด เป็นระเบยี บ การเกษตรกรรม ทาปูายนเิ ทศ ประกาศขาวชุมชน สถานทีฝ่ กึ อาชีพ/ฝกึ ปฏบิ ัติ สถานทท่ี าเวทชี าวบา้ น อนื่ ๆ 12. ประสานงานการให้บริการของศูนย์การเรียนฯ ในรูปแบบต่างๆ ให้ข้อมูล ข่าวสาร เน้นให้ บคุ ลากรในชุมชนเปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบดาเนนิ งานและจัดให้สนองกบั ความต้องการของชุมชน 13. ศึกษาชุมชน ใช้ชีวิตร่วมกับชุมชน ศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจในวิถีชีวิตของชาวเขาและ สภาพทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม รวมทัง้ ภาษา ซึ่งมีความแตกตา่ งในแต่ละชุมชน 14. ใหค้ าแนะนาทางดา้ นสุขภาพอนามยั บริการสาธารณสุขมูลฐานเท่าที่จาเป็นและประสานงาน กบั หน่วยงานทางด้านสาธารณสขุ ในระดบั ท้องถน่ิ 15. ประสานงานด้านการเกษตร เพ่ือปรับปรงุ อาชพี และการทามาหากนิ ของชาวบ้าน 16. ประสานงานและให้ความร่วมมือแก่เจ้าหน้าท่ีหน่วยงานอื่นท่ีรับผิดชอบในชุมชนนั้นและ รว่ มมอื ในการพัฒนาด้านต่างๆ 17. ปฏบิ ตั งิ านตามคาแนะนาในคมู่ ือการดาเนินงานของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” คณะกรรมการ ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสามกลุ า ๑. นายชัยวทิ ย์ ฉั่วจา ประธาน ๒. นายสมชาย เสโล่ กรรมการ ๓. นายสุภกิณห์ เลายี กรรมการ ๔. นางสาวชุลติ า จะติ กรรมการ ๕. นางสาวนชิ ากร ธนรตั น์ศิรกิ ุล กรรมการและเลขานกุ าร แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพน้ื ที่สูง ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
5 อาสาสมัคร/คณะกรรมการยุวกรรมหย่อมบา้ น ประจาศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ้านสามกลุ า 1. เด็กหญงิ ธรี ะนนั ท์ เลาหมี 2. นางสาวสลินทิพย์ ผ้ึงสวยงาม 3. นางสาวพรธิตา อนภุ พ 4. นางสาวนิจวิภา มะตะโก 5. นางสาวนิชากร ธนรัตนศ์ ริ กิ ลุ บุคลากร ศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกุลา ๑. นางพฒั นา ใจเถงิ ครูประจาศูนย์การเรียน ๒. นายณฐภพ ตาหล้า ครนู เิ ทศ สภาพท่ัวไปของศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า สภาพอาคารสถานท่มี ีอาคาร 3 หลงั ดังนี้ 1. อาคารเรียนช้ันเดียวสีเขียวมุงเมทัลชีทก่ออิฐบล็อกคร่ึงและล้อมตาข่ายคร่ึงมี 2 ห้อง (ห้องอ่านหนงั สอื 1หอ้ งและห้องเรยี น1หอ้ ง สรา้ งโดยเครอื ข่ายเอกชนชมรมเอน็ ดรูโรเ่ วยี งปุาเปูาปี 2560) แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาชมุ ชนบนพนื้ ทส่ี งู ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
6 2. อาคารห้องครัวชนั้ เดียวสีฟูามงุ ดว้ ยเมทลั ชที และสงั กะสที าฝามี 2 หอ้ ง (ห้องครวั 1 ห้องและห้อง อินเทอร์เนต็ 1หอ้ ง สรา้ งโดยเครอื ขา่ ยรฐั วสิ าหกิจการไฟฟูาเชยี งใหมป่ ี 2562) 3. อาคารห้องนอน 1 ห้อง มุงด้วยเมทัลชีทก่ออิฐบล็อกเต็มมีห้องน้าในอาคาร (อาคารปรับปรุง ซ่อมแซมหลังคาสนับสนุนงบประมาณโดยคา่ ยอาสาพาฝนั เมือ่ วนั ที่ 3-6 เม.ย. 2564 ) แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพ้ืนที่สูง ศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกุลา
7 ตอนที่ 2 ขอ้ มูลพืน้ ฐานเพ่อื การวางแผน แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาชมุ ชนบนพ้ืนทสี่ ูง ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
8 ข้อมลู พ้ืนฐานบา้ นสามกุลา ความเป็นมา บา้ นสามกลุ าก่อตั้งมาเม่ือ 87 ปีท่ีผ่านมาโดยพ่อเฒ่าสามกุลา แซ่หมี เป็นผู้ก่อต้ังหมู่บ้าน พ่อเฒ่า สามกลุ า อพยพลกู หลานจานวนหนึ่งมาจากบา้ นแม่แวน อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ และต่อมาจึงได้ต้ัง ชอื่ หมู่บ้านว่าบ้านสามกลุ าและสมยั น้นั ชาวบา้ นในหม่บู ้านนบั ถือผี (พุทธผี) มีการสบื สานประเพณีวัฒนธรรม มาเรื่อย ๆ จนมีผู้นารุ่นใหม่เปลี่ยนเข้ามาและเริ่มเปล่ียนศาสนาเป็นศาสนาคริสต์เม่ือปี พ.ศ. 2538 และเป็น บ้านบริวารของบ้านแม่ปูนหลวง หมู่ที่ 8 ตาบลเวียง อาเภอเวียงปุาเปูา จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันมีผู้นา ทางการตาแหน่งผชู้ ่วยผ้ใู หญบ่ า้ น หมู่ที่ 8 ชอื่ นายรชั ชานนท์ พงษ์ศาไพสฐิ ท์ ทีต่ งั้ บา้ นสามกลุ า ตง้ั อย่หู มูท่ ่ี 8 ตาบลเวยี ง อาเภอเวยี งปาุ เปูา จังหวดั เชียงราย สภาพทั่วไป ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ บ้านสามกุลา มีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ 2 ไร่ 1 งาน 71.02 ตารางวา คิดเป็นเน้ือท่ี ร้อยละ 0.00154589372 ของตาบลเวยี ง อย่หู า่ งจากท่ีวา่ การอาเภอประมาณ 37 กิโลเมตรอยู่ห่างจาก ตวั เมอื งจงั หวดั เชยี งรายประมาณ 127 กิโลเมตร สภาพภมู ิประเทศ ส่วนใหญต่ ั้งอยู่ระหว่างท่รี าบหบุ เขา มีความสงู จากระดับน้าทะเลปานกลาง 1,000 เมตรอยู่ในเขต ปาุ สงวนแหง่ ชาตปิ ุาแมป่ ูนนอ้ ย ปุาแม่ปนู หลวง และปุาห้วยโปุงเหมน็ อาณาเขตติดต่อ ติดตอ่ กับบา้ นขนุ แจ๋ ตาบลแมแ่ วน อาเภอพร้าว จงั หวดั เชยี งใหม่ ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับหมู่บ้านแมป่ ูนนอ้ ยมเู ซอ ตาบลเวียง อาเภอเวียงปาุ เปาู จงั หวดั เชียงราย ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั หมบู่ ้านผาเยอี ง ตาบลบ้านโปงุ อาเภอเวยี งปาุ เปูา จงั หวดั เชียงราย ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับหมบู่ ้านสามกลุ าตาบลเวยี ง อาเภอเวยี งปาุ เปูา จงั หวดั เชยี งราย ทศิ ตะวนั ตก แผนทีห่ มู่บ้านสามกลุ า หมู่ที่ 8 ตาบลเวียง อาเภอเวยี งปา่ เปา้ จังหวดั เชียงราย แผนพฒั นาการจดั การศึกษาชมุ ชนบนพน้ื ทีส่ ูง ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
9 สภาพภมู ิอากาศ บ้านสามกุลา ในรอบปีท่ีผ่านมา พบว่ามีลักษณะภูมิอากาศอุณหภูมิสูงสุด 36 องศาเซลเซียส ต่าสุด 6 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิเฉลี่ย 22 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝนเฉล่ียตลอดปี 1,261.70 มิลลิเมตร แหลง่ น้า 1. แหล่งน้าธรรมชาติจากลาห้วยและนามาพักเก็บในถังเก็บน้าขนาดใหญ่ของหมู่บ้านโดย งบประมาณจากกรมชลประทานจังหวดั เชียงรายเพอื่ นามาใชอ้ ุปโภคบรโิ ภคในหมู่บ้าน 2. แหล่งน้าท่ีชาวบ้านนามาใช้ทาการเกษตรมาจากแหล่งน้าลาห้วยธรรมชาติโดยเกษตรกร จะตอ่ ตรงจากลาหว้ ยเขา้ ใช้ในพ้นื ท่ที าการเกษตรโดยตรง ข้อมูลด้านประชากร - ขอ้ มูลประชากรจาแนกตามเพศ/พื้นที่การปกครอง จานวนประชากรท้ังหมด 315 คน จาแนกเปน็ ชาย 127 คน หญงิ 188 คน - จานวนครวั เรอื นในหมบู่ า้ น 69 ครัวเรือน - จานวนหลงั คาเรือน 69 หลงั คา - ขนาดของครอบครัวโดยเฉล่ยี (คน/ครอบครัว) 5 คน - ไม่มีสญั ชาติไทย 7 คน ชาย 4 คน หญิง 3 คน - กลุม่ ชาติพันธห์ ลกั คือ ชนเผา่ ลีซอ ข้อมลู ประชากรจาแนกตามช่วงอายุ ช่วงอายุ เพศ หญงิ จานวน ชาย 14 0-11 13 23 27 12-14 11 15 34 15-17 15 55 30 18-25 19 17 74 26-35 28 34 45 36-49 13 18 47 50-59 19 12 37 60ปขี น้ึ ไป 9 188 21 รวม 127 315 ตารางข้อมลู ผเู้ สียชวี ติ ิในรอบปที ่ผี า่ นมาจาแนกตามสาเหตุ สาเหตขุ องการตาย จานวน (คน) 3 ชราภาพ 2 เจบ็ ปวุ ย - อบุ ัตเิ หตุ - อน่ื ๆ (ระบ)ุ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพนื้ ท่สี ูง ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
10 ตารางขอ้ มูลผพู้ ิการจาแนกตามประเภท จานวน (คน) ประเภท 1 1 พกิ ารทางสมอง - พกิ ารทางสายตา - พิการทางร่างกาย 2 พิการซา้ ซ้อน ร้อยละ รวม 29.20 70.80 ตารางขอ้ มลู การนับถอื ศาสนา ศาสนา จานวน (คน) พุทธ 92 คริสต์ 223 ข้อมูลด้านสงั คม 1. ประเพณปี ีใหม่ลีซอ 2. ประเพณกี นิ ขา้ วใหม่ 3. ประเพณีคริสต์มาส 4. ประเพณีเลย้ี งผบี รรพบรุ ุษ 5. ประเพณกี ารแต่งงาน 6. ประเพณีงานศพ 7. ประเพณีผกู ขอ้ มอื เดก็ ทารกครบ 1 เดอื น 8. ประเพณขี นึ้ บ้านใหม่ 9. ประเพณีเรยี กขวญั คนปุวย ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ อาชีพของประชาชนในชุมชน - เกษตรกร ปลกู ผกั ขายสง่ โครงการหลวง ร้อยละ 93 - อน่ื ๆ รบั จา้ งในชุมชน ร้อยละ5 - รบั จ้างท่ีประเทศเกาหลี รอ้ ยละ 2 การทาสวนผกั หอมญี่ปุ่น,กระเทียมญ่ีปนุ่ - พื้นทกี่ ารทาสวนทง้ั หมด 120 ไร่ - จานวนครัวเรอื นทท่ี าสวน 69 ครวั เรือน ผลผลิตเฉล่ยี 100 กโิ ลกรัม/ไร่ การทาไร่ - พ้ืนท่กี ารทาไร่ทั้งหมด 100 ไร่ - จานวนครวั เรอื นทีท่ าไร่ 69 ครัวเรอื นผลผลิตทไี่ ด้จากการทาไรไ่ ด้แก่ ขา้ วไร่ ขา้ วโพด (เลย้ี งสตั ว์) แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพืน้ ทสี่ ูง ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
11 การเลยี้ งสัตว์ - ประเภทเชงิ พาณิชย์ ไดแ้ ก่ ไม่มี - ประเภทเพอ่ื บรโิ ภคในครวั เรือน ได้แกไ่ ก่พนั ธพ์ุ น้ื เมอื ง และ หมพู นั ธ์พุ ืน้ เมือง การคา้ ขาย การค้าขายในหมูบ่ า้ น ประกอบด้วย - ร้านขายของชา จานวน 1 แหง่ กลุ่มอาชพี เศรษฐกิจชุมชน การดาเนินการกลมุ่ อาชีพเศรษฐกิจชุมชน มีการจัดต้ังกลุ่ม การรวมกลุ่มอาชีพกลุ่มเกษตรกร โดย หลายภาคส่วนได้ส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มอาชีพในหมู่บ้านในการพัฒนาทั้งทักษะ/ความรู้ และข้อมูล การพัฒนางานหรือผลิตภัณฑข์ องทกุ กลุ่มในชมุ ชน ทาให้เกิดการรวมกลุ่มข้นึ หลายกลุ่มเช่น กลุ่มปลูกพืชผัก โครงการหลวง, กลุ่มการทาปุ๋ยหมักชีวภาพ, กลุ่มการทาไม้กวาดดอกหญ้า บางกลุ่มยังไม่มีความต่อเนื่อง ของกจิ กรรมการผลติ การตลาด เนอ่ื งจากไม่ไดเ้ รียนรู้ใหม้ ีความเข้าใจจึงเกดิ ปัญหาเลยเลกิ ทา ข้อมลู ด้านการศกึ ษา บา้ นสามกลุ ามศี นู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ูาหลวง” บา้ นสามกลุ า จานวน 1 แหง่ มีครู 1 คน และนักเรียน 24 คน ท่ี ระดับการศึกษาของประชาชนในบ้านสามกุลา หมายเหตุ ไมร่ หู้ นังสือ จาแนกตามการศกึ ษาสูงสุด 1. 30 ตา่ กวา่ ประถม ประถม ม.ต้น ม.ปลาย 46 82 86 71 ผู้จบระดับประถมศึกษาในระบบโรงเรียน และเรยี นต่อในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ในระบบโรงเรียน ผจู้ บระดับประถมศึกษาในระบบโรงเรยี น เรยี นตอ่ ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ท่ี ในระบบโรงเรยี น คน คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1. 27 11 40.74 ผู้จบระดบั ประถมศกึ ษาในระบบโรงเรียน และเรยี นต่อในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กศน. ผู้จบระดบั ประถมศึกษาในระบบโรงเรยี น เรียนตอ่ ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน. ท่ี คน คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16 59.25 1. 27 แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาชมุ ชนบนพ้นื ทีส่ ูง ศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกุลา
12 ผ้จู บระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นในระบบโรงเรยี น และเรยี นต่อในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายในระบบโรงเรียน ผจู้ บระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เรียนตอ่ ในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ี ในระบบโรงเรยี น ในระบบโรงเรียน คน คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1 23 18 78.26 ผูจ้ บระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในระบบโรงเรยี น และเรียนตอ่ ในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย กศน. ผ้จู บระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น เรียนตอ่ ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กศน. ท่ี ในระบบโรงเรยี น คน คิดเป็นร้อยละ คน 5 21.73 1 23 แหล่งเรยี นรู้ ภาคีเครอื ข่าย ท่สี ามารถนามาใชป้ ระโยชน์เพอ่ื การจดั การศึกษา ตารางขอ้ มูลภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ในชุมชน ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ความรู้ความสามารถ ท่อี ยู่ นายอารมณ์ วรรกั ษ์นิติกลุ ผู้นาทางศาสนาพทุ ธ(ผี) 459 หมู่ท่ี 8 ต.เวยี ง อ.เวียงปาุ เปูา จ.เชียงราย นายไอ่ใส่ เสมะ หมอสมนุ ไพรโบราณ 469 หมทู่ ี่ 8 ต.เวยี ง อ.เวียงปาุ เปูา จ.เชยี งราย นายอาซา หลีจา ผ้นู าทางศาสนาคริสต์ 119 หมทู่ ่ี 8 ต.เวยี ง อ.เวียงปุาเปาู จ.เชยี งราย นายชยั วทิ ย์ ฉวั่ จา ด้านการปลกู ผกั เมอื งหนาว 47 หมู่ที่ 8 ต.เวยี ง อ.เวียงปุาเปาู จ.เชยี งราย (ผักหอมญ่ีปนุ ) นายโชคชยั เสมะ ดา้ นใชช้ ีวิตตามหลักปรัชญา 57 หมู่ที่ 8 ต.เวียง อ.เวยี งปาุ เปาู จ.เชยี งราย ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตารางขอ้ มลู แหล่งเรยี นร้ใู นชุมชน ชือ่ แหลง่ เรยี น ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ศาลเจ้าบ้านสามกุลา สถานที่ศกึ ษาประเพณีเดมิ สวนเศรษฐกจิ ครบวงจรบ้านสามกุลา สถานทตี่ วั อยา่ งการใช้พื้นทท่ี าการเกษตร สวนพืชเศรษฐกจิ ตน้ หอมญ่ีปุน สถานทต่ี วั อยา่ งการใชพ้ ้นื ท่ีปลูกต้นหอม โบสถ์คริสต์บ้านสามกุลา สถานทศ่ี กึ ษาโบสถ์ โรงอบสมุนไพรโบราณ สถานทอ่ี บสมนุ ไพร ศศช.บ้านสามกุลา สถานท่ใี หค้ วามรู้ดา้ นการศกึ ษา ศูนยส์ ง่ เสริมการเกษตรพ้ืนท่ีสูง สถานทใ่ี หค้ วามร้ดู า้ นการเกษตร แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพื้นทีส่ งู ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสามกุลา
13 ตารางขอ้ มลู ภาคเี ครอื ขา่ ยทร่ี ่วมจดั การศึกษา ภาคเี ครอื ข่าย การสนบั สนุน องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลเวยี ง วิทยากรให้ความรู้ด้านการส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในชุมชน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพบา้ นแม่ปูนหลวง วทิ ยากรให้ความรดู้ า้ นสขุ ภาพ โครงการหลวงแม่ปูนหลวง วิทยากรด้านการปลกู หอมญีป่ ุน การท่องเท่ยี วและการบรกิ าร บ้านสามกุลา มีศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว โดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีปีใหม่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์(ตรุษจีน)ของทุกปีจะมีงานประเพณี มีการเต้นราของ ชนเผา่ ลซี อประชาชนสว่ นใหญ่จะแต่งกายประจาเผา่ สวยงาม การไฟฟ้า การบริการไฟฟูาในหมู่บ้านสามกุลาอยู่ในความรับผิดชอบของการไฟฟูาส่วนภูมิภาค อาเภอพร้าว จงั หวัดเชยี งใหม่ ปจั จุบันในทุกหมบู่ า้ นมีกระแสไฟฟูาใช้ และครวั เรือนในพนื้ ที่ส่วนใหญม่ ไี ฟฟูาใช้ครบ การประปา บ้านสามกุลา มีระบบประปาหมู่บา้ นใชร้ ะบบน้าประปาภเู ขา ด้านสาธารณสุข จานวน(แห่ง) 1 สถานพยาบาลในชุมชน ท่ี ประเภท 1 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) บุคลากรท่ที าหน้าทสี่ ง่ เสริมบริการด้านอนามยั ชุมชน จานวน(คน) 7 ท่ี ประเภท 1 1 อสม. 3 2 หมอสมุนไพร 3 หมอนวดแผนโบราณ โรคทเี่ ป็นกนั มาก (5 อันดบั แรก) จานวนผปู้ ่วย ท่ี เรียงลาดบั โรคทเ่ี ป็นกันมาก เด็ก ผใู้ หญ่ รวม 1 ปวดหวั 2 ปวดทอ้ งกระเพาะอาหาร - 47 47 3 ความดันสูง 4 ไขมนั ในเสน้ เลือด - 39 39 5 ไขห้ วดั - 45 45 - 42 42 17 25 42 แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพืน้ ท่สี งู ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
14 การวเิ คราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชมุ ชน ตารางวิเคราะห์สภาพปัญหาและความตอ้ งการจาแนกตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเปา้ หมาย ปญั หาและความตอ้ งการ แนวทางแกไ้ ข กลุ่มคนที่ไม่รู้หนังสือ / กลุ่ม ค น ที่ ไ ม่ รู้ ห นั ง สื อ / ก ลุ่ ม ภ า ว ะ สอดแทรกการรู้หนังสือในกิจกรรม ภาวะการลมื หนังสือ ก าร ลืม หนัง สือ ใน ฤดู ก าลทา ง การดาเนินชีวิตประจาวัน จัดเป็น การเกษตรผู้เรียน ไม่สามารถมาพบ โครงการและกิจกรรมต่างๆเพื่อ กลุ่มได้ สง่ เสรมิ การรูห้ นังสอื กล่มุ วัยเด็ก กลุ่มวัยเด็ก มีความต้องการในด้าน ส่งเสริมการมีนิสัยรักการอ่าน หนั ง สื อ นิ ท า น ขอ ง เ ล่ น เ ส ริ ม เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการ พฒั นาการของเดก็ อา่ น กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มเด็กและเยาวชน บ้านสามกุลา การจัดและส่งเสริมการศึกษา บางคนออกกลางคัน ทาให้ขาด น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า โอกาสทางการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐ า น ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย ก ลุ่มปร ะ ชาก ร วั ย แร ง ง า น กลุ่มประชากรวัยแรงงานระหว่าง เสริมสรา้ งทกั ษะอาชพี การมีงานทา ระหว่างอายุ 25 – 59 ปี อายุ 25 – 59 ปี ต้องการอาชีพ ส า ห รั บ ก ลุ่ ม เ ปู า ห ม า ย มี เสรมิ เพิ่มรายได้ เม่อื เวลาว่างจาก พฒั นาอาชีพและสร้างรายได้ให้กับ ประชาชนในชมุ ชน การทางาน แลว้ กลุ่มผ้สู งู อายุ อายุ 60 ปี ขนึ้ ไป กลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ข้ึนไป เสริมสร้างทักษะอาชพี ใช้เวลาว่าง ส่วนมากจะมีเวลาว่างมาก ต้องการ ให้เกิดประโยชน์ สอดแทรกการรู้ กิจกรรมการดาเนินชีวิตประจาวัน อาชีพเสริม และผ้ไู มร่ ูห้ นังสอื และกิจกรรมต่างๆ การส่งเสริม การรูห้ นงั สอื กลุ่มผู้พกิ าร - - แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพื้นท่ีสูง ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
15 ตารางวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาและความต้องการจาแนก งานกพด. 6 ดา้ น 1. ด้าน โภชน าก าร บา้ นสามกุลา ประชาชนจานวนมากยัง การดาเนินการจัดโครงการให้ความรู้ในการ และสขุ ภาพอนามัย ขาดความเข้าใจพน้ื ฐานดา้ นโภชนาการ ดูแลรักษาสุขภาพนามัย ในเร่ืองการปูองกัน และสุขภาพอนามัยการส่งเสริสุขภาพ ควบคุมโร คติดเช้ือไ วรั สโ คโ รน า 2019 และปูองกันโรคให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี (COVID – 19) และโครงการอบรมให้ความรู้ ตลอดช่วงอายุ รวมถึงความรู้และ เรือ่ งปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมสุขภาพด้วยหลัก แนวทางการพฒั นาด้านสุขภาพอนามยั 3 อ. 2 ส. เพ่อื ปูองกันโรคในผ้สู งู อายุ 2. ดา้ นการศึกษา บา้ นสามกลุ า เด็กและเยาวชน บางคน การดาเนินการจดั โครงการส่งเสริมการร้หู นังสือ ออกกลางคัน ทาให้ขาดโอกาส ทาง ไทย เพ่ือให้ประชาชน มีความรู้ความสามารถ การศึกษาเน่ืองจากฐานะยากจน และทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย ประชาชนอายุ 40 ข้ึนไป จะจบชั้น โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ต้องทาอาชีพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาหรับกลุ่มเด็กและ เกษตรกรรม และสาหรับผู้สูงอายุ เยาวชนบ้านสามกุลา ได้เรียนรู้ โดยมีหลักสูตร ส่วนมากจะมีเวลาว่างงาน และอยู่ใน สื่อและแหล่งเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับกิจกรรม กลุ่มคนที่ไม่รู้หนังสือ/กลุ่มภาวการณ์ การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และ ลมื หนังสือ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อศึกษา หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนได้ด้วย ตนเอง มีนิสัยรักการเรียนรู้ และนาความรู้ท่ี ไ ด้ รั บ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์ 3. ดา้ นอาชีพ บ้าน สาม กุลา ปร ะ ชา ชน มีก า ร การดาเนินการจัดโครงการจัดการศึกษา ประกอบอาชพี เกษตรกรรม แต่ยังขาด เพื่อพัฒนาอาชีพ ส่งเสริมการเล้ียงสัตว์ปีก อาชพี เสริม เพิ่มรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว และหลักสูตรทาขนมไทยสมุนไพรไทย ให้กับ ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และทักษะการ ประกอบอาชีพ เห็นช่องทางในการนาความรู้ ไป ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและ ครอบครัว การเสริมสร้างทักษะอาชีพและ พัฒนาอาชีพให้มีความยัง่ ยนื 4. ด้านการอนุรักษ์ บ้านสามกุลา มีความอุดมสมบูรณ์ของ การดาเนินการจัดโครงการจัดการศึกษาเพื่อ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาส่ิงแวดล้อม กิจกรรมโครงการปลูกปุา การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการ เฉลิมพระเกียรติ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่ิงแวดล้อม ของคนในชมุ ชนให้ดขี ้ึนมีอาชพี และทีท่ ากินเป็น หลกั แหลง่ สามารถอยอู่ าศัยกับทรพั ยากรปุาได้ ช่วยกันอนุรักษ์ให้คงอยู่ แต่ยังขาด ความรู้ความเข้าใจในบางเรื่องท่ีทาให้ อยา่ งสมดลุ และเพือ่ ถวายเปน็ พระราชกุศล เกดิ การทาลายสิง่ แวดล้อม แผนพฒั นาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพ้ืนทส่ี ูง ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกุลา
16 ตารางวิเคราะหส์ ภาพปญั หาและความต้องการจาแนก งานกพด. 6 ด้าน 5. ดา้ นการอนุรักษ์ บ้านสามกุลา เป็นชนเผ่าลีซอ เป็น การดาเนินการจดั โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ และสืบทอดวัฒนธรรม หมู่บ้านท่ีมีการอนุรักษ์และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมชนเผ่าลีซอ ส่งเสริม วฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คง สนับสนุนและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม และภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน อยตู่ ามวิถชี ีวติ ชนเผา่ ใหค้ นรุ่นหลังได้รู้ ชนเผ่าลีซอ การปลูกจิตสานึกให้คนในท้องถ่ิน ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ ความ เกิดความตระหนัก และเขา้ มามีส่วนร่วมในการ เป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีของ อนุรักษฟ์ ื้นฟู และสืบสานภูมิปัญญาและคุณค่า ท้องถิ่น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ให้คน ในท้องถิ่นได้เรียนรู้ความสาคัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถ่ิน ความ เป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น อันจะสร้างความภูมิใจและจิตสานึกในการ รักษาวฒั นธรรมประเพณีของทอ้ งถ่นิ สบื ไป ๖. กจิ กรรมด้านอ่ืน ๆ กิ จ ก ร ร ม อื่ น ๆ ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ การดาเนินก ารจัด โครงก ารพัฒ นาศูน ย์ การดาเนินโครงการที่สอดคล้องกับ การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ าู หลวง” บริบทของบ้านสามกุลา และศูนย์ บ้านสามกุลา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ก า ร เ รี ย น ชุ ม ช น ช า ว ไ ท ย ภู เ ข า พัฒนาอาคาร สถานท่ี และให้เป็นแหล่งเรียนรู้ “แม่ฟูาหลวง” บ้านสามกุลา เพื่อเป็น ท่ีสะอาด ปลอดภัย พร้อมให้บริการด้วยมิตร แนวทางในการดาเนินกิจกรรมให้ ไมตรีในรูปแบบ กศน. งามตา ประชาชื่นใจ บรรลุเปูาหมายตามทกี่ าหนดไว้ และโครงการจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและ ชุมชน กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน ให้ประชาชนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ และตระหนัก ถงึ ความสาคัญของการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยใน ชุมชน แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพนื้ ทส่ี ูง ศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
17 การวเิ คราะห์ SWOT ของศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสามกลุ า จดุ แข็ง (Strengths - S) ๑. มีอาคาร ศศช.เป็นเอกเทศ ศศช. ๒. ได้รบั งบประมาณจาก กศน.อาเภอเวยี งปุาเปูาทกุ ปี ๓. มีสัญญานอนิ เทอรใ์ ช้ ครู มคี รูประจาพ้ืนท่ี ชุมชน ไดร้ ับงบประมาณจาก กศน.อาเภอเวยี งปาุ เปูา และภาคเี ครือข่ายสนบั สนนุ ทุกปี เป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีผู้นาทางการ จดุ อ่อน ( Weaknesses - W) ๑. บริหารงบไม่ตรงกับความต้องการของชุมชน ตอ้ งปฏิบัตติ ามนโยบายเรง่ ดว่ น ศศช. ๒. ตง้ั อยไู่ กลบา้ นของชาวบา้ น ( 1 กม. ) 3. ช่วงฤดูแลง้ นา้ น้อยถงึ ไมม่ นี า้ ใช้ 4. ความปลอดภัยมนี อ้ ยเพราะตง้ั อย่กู ลางปุา ครู ครูจบวุฒไิ ม่ตรงกบั สาระวชิ าท่ตี ้องสอน ชุมชน กจิ กรรมด้านการเกษตรอาจจะไมส่ มบูรณใ์ นชว่ งฤดูแล้ง โอกาส (Opportunities - O) 1. จดั กจิ กรรมได้เหมาะสมเพราะสถานทก่ี ว้างอาคารพร้อม ศศช. 2. มีครูคอยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ กิจกรรมดา้ นตา่ งๆอย่างต่อเนอ่ื ง 3. การบริการประชาชนไมจ่ ากัดเวลาเพราะมไี ฟฟูาใช้ 4. มขี ้อมูลให้สบื คน้ หาในการเรยี นรเู้ พราะมี WIFI ใช้ ครู ๑. ครูไดร้ บั การพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง ๒. ครพู ร้อมปฏิบัตหิ น้าทีเ่ ต็มกาลงั ชุมชน ๑. มปี ระเพณีและวฒั นธรรมที่สามารถเป็นสอื่ แหล่งเรียนรไู้ ด้ 2. มีถนนสายหลกั เขา้ หมู่บา้ นรองรบั อปุ สรรค/ความเส่ยี ง (Threats - T) ศศช. 1. ด้านความปลอดภยั อาจเกดิ อันตรายช่วงการทางาน 2. กิจกรรมดา้ นการเกษตรอาจจะไมส่ มบูรณใ์ นชว่ งฤดแู ล้ง ครู ๑. มนี โยบายเร่งดว่ นทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามหน้าท่ี ๒. ครไู ม่ได้มีความถนดั ในทกุ วิชา 1. ความเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมตามยคุ สมยั ชุมชน 2. การใช้สารเคมีเพ่มิ มากข้ึน เพอ่ื ให้ไดผ้ ลผลติ ที่ค้มุ ทุน 3. ถนนเป็นถนนลูกรัง ไม่มีรถโดยสารประจาทาง ในฤดูฝนการเดินทางค่อนข้าง ลาบาก แผนพฒั นาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพน้ื ทีส่ ูง ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
18 1. นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ การจัดการศึกษาชุมชนบนพ้นื ที่สงู 3.1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) วิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมี ความมั่นคง ม่ังคง่ั ยงั่ ยนื เป็นประเทศ พัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” และเปน็ คตพิ จน์ประจำชาติว่า “มัน่ คง มงั่ คั่ง ยั่งยนื ” ความม่ันคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน ประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และ มีความมั่นคงในทุกมิติท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อมและการเมืองเช่นประเทศ มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครองระบบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหน่ียว จิตใจ ของ ประชาชน มีระบบการเมืองที่ม่ันคงเป็นกลไกนำไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเน่ือง และโปร่งใสตาม หลักธรรมมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพยี งกับการดำรงชีวิต มีการออมสำหรับวัยเกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า มีที่อยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สนิ ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและมีความย่ังยืนจนเข้าสู่ กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกนั มากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพ ชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศ มีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในตลาดโลกและ ตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพื่อให้สอดรับกับบริบทการพฒั นาที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทย มีบทบาทท่ีสำคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟูนกับประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสำคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทำธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากน้ัน ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้าง การพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทนุ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ความย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มขน้ึ อย่างต่อเนอื่ ง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยู่บนหลักการใช้ การรักษา และการฟื้นฟูฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ สิ่งแวดล้อม จนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบูรณ์ มากขึ้นและ ส่งิ แวดล้อมมคี ณุ ภาพดีขน้ึ คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละ เพื่อผลประโยชน์ ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายท่ีมุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของ ประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนา อย่างสมดลุ มเี สถียรภาพและยั่งยืน แผนพฒั นาการจดั การศึกษาชุมชนบนพ้ืนท่ีสงู ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกุลา
19 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ โดยมี สาระสำคัญที่เก่ียวข้องกับสำนักงาน กศน. ดงั นี้ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ด้านความมนั่ คง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคงประชาชน มีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และ มีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสำมารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงทม่ี ีอยู่ ในปัจจุบัน และ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ ทั่วโลกบนพื้นฐาน ของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ ให้สามารถ ขบั เคลื่อนไปไดต้ ามทิศทางและเป้าหมายทกี่ ำหนด ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้น การยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพ้นื ฐานแนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ 1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปทร่ี ากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วฒั นธรรม 2) ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่หี ลากหลาย รวมทงั้ ความได้เปรียบ เชิงเปรียบเทียบ ของประเทศในด้านอื่นๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้ สอดรับกับบริบท ของเศรษฐกิจ และสังคมโลกสมัยใหม่ “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนา โครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศในมิติต่างๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ อนาคต 3) “สรา้ งคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับ อนาคต บนพ้ืนฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนใน เวทีโลก ควบคู่ไปกบั การยกระดับรายได้ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนา ที่สำคัญเพอื่ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อม ทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ สังคมและผู้อ่ีน มัธยัสถ์ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดท่ี ถูกต้อง มีทักษะท่จี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสอื่ สารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผูป้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละ อืน่ ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเปูาหมาย การพัฒนา ท่ีสำคัญท่ีให้ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการร่วมคิดร่วมทำเพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ิน การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยท้ังในมิติสุขภาพ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาชุมชนบนพื้นท่ีสงู ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
20 เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทำประโยชน์แก่ ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพ อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจส่ิงแวดล้อมธรรมาภิบาลและความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหวา่ งกันทั้งภายในและภายนอก ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นท่ีเป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงานและการให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องได้ เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโต ร่วมกันไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุล ท้งั 3 ดา้ น อันจะนำไปสู่ความยงั่ ยนื เพ่ือคนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพั ฒนาระบบการบ ริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อปรับเปล่ียนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และ ประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐ ที่ ทำหน้าที่ ในการกำกับหรือในการให้ บริการในระบบเศรษ ฐกิจท่ี มี การแข่งขันมีขีดสมรรถนะสู ง ยดึ หลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธแิ์ ละผลประโยชน์สวนรวมมีความทันสมัยและ พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงาน เทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา มีส่วนร่วม เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วน ในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธ ไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธภาพ และ นำไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิ บัติและการอำนวย ความยุตธิ รรมตามหลักนติ ิธรรม 3.2 แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ สานักงาน กศน. (พ.ศ. 2560 – 2579) วิสัยทศั น “คนไทยไดรับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู ตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิต ท่ีเหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป นในโลก ศตวรรษที่ 21” จุดเนน “สงเสริม สนบั สนนุ และใหบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู ตลอดชีวิตอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ มีสาระการเรียนรูท่ีเปนปจจุบันและตรงกับความตองการของผูเรียน และสังคม โดยนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใชส่ือเทคโนโลยีที่หลากหลายและทันสมัย มาเปน กลไกในการจัดรวมทั้งพัฒนาครูให เปนผูจัดการศึกษาและการเรียนรู มืออาชีพเน นพัฒนา กระบวนการคิดและการวิจัยใหกับกลุมเปาหมายใชกลยุทธการบริหารจัดการเชิงรุก โดยใหชุมชนและ แผนพฒั นาการจดั การศึกษาชุมชนบนพืน้ ทสี่ งู ศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
21 ทุกภาคสวนมีสวนรวมภายใตการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร างสังคมแหงการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ อยางยั่งยืน” เปาหมายหลกั 1) คนไทยสามารถเขาถึงบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทัง้ การเรยี นรู ตลอดชวี ิตทีม่ คี ุณภาพ และมาตรฐานอยางทัว่ ถงึ 2) คนไทยมสี มรรถนะและทกั ษะในการดารงชวี ิตท่ีเหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และพรอมรับการเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 3) หนวยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพ่ือใหบริการ การศึกษาและการเรยี นรูตลอดชีวิตใหกับประชาชนอยางท่ัวถึงและมีประสิทธภิ าพ 4) หนวยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใตการบริหารจัดการ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล 5) ทุกภาคสวนมีบทบาทและมสี วนรวมในการสงเสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและ การเรียนรู ตลอดชวี ติ ยทุ ธศาสตร 1) เพิ่มและกระจายโอกาสในการเขาถงึ บรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรูท่มี คี ุณภาพ 2) พัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพคนทุกชวงวัยใหมีสมรรถนะและทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชีวิต ที่ดี 3) สงเสริมและพฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพือ่ การศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ชวงวัย 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและสงเสริมใหทุกภาคสวนมีบทบาทและมีสวนรวมในการ จัดการศกึ ษา เปาหมายตามยุทธศาสตรและแนวทางการพฒั นา ยุทธศาสตรท่ี 1 เพ่ิมและกระจายโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาและการเรียนรูที่มี คุณภาพ เปาหมายตามยุทธศาสตร 1) คนไทยไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเข าถึงการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ทมี่ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน 2) แหลงเรยี นรู สอ่ื และนวัตกรรมการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขาถึงได โดยไมจากัดเวลาและสถานท่ี 3) คนไทยทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจชายแดนใต และพ้ืนท่ีพิเศษไดรับการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคณุ ภาพ แนวทางการพัฒนา การศึกษานอกระบบ 1) ประกันโอกาสการเข ารับบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให แกผูเรียน ในทุกพ้นื ที่ ครอบคลมุ ผูที่มคี วามตองการจาเปนพเิ ศษ 2) สงเสริมใหมีการบูรณาการ การศึกษานอกระบบเพ่ือให ผูเรียนสามารถเขาถึงโอกาสทาง การศึกษาที่มีคุณภาพ สอดคลองกับวัย สภาพรางกายและสุขภาพ ความจาเปน ความตองการและความ สนใจ และ สามารถนาผลทไี่ ด้จากการศกึ ษาและการเรยี นรูไปเทียบระดบั เทยี บโอน เช่ือมโยงสงตอระหวาง การศกึ ษาทุกรูปแบบทุกระดบั ได้ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพื้นที่สูง ศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกุลา
22 3) สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบที่สอดคล องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู เรียน ทกุ กลมุ เปาหมาย 4) สงเสริมโอกาสในการเขาถงึ การศึกษานอกระบบของคนทกุ ชวงวัยในพ้ืนที่พิเศษ และเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกับภูมิสังคม อัตลักษณ และความตองการของชุมชนและ พน้ื ที่ 5) จัดทา SMART CARD ทางการศึกษาสาหรับทุกกลุมเปาหมายโดยเฉพาะกลุมเปาหมายพิเศษ เพ่อื ขอรบั บริการทางการศึกษา 6) พัฒนาระบบ E-exam และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกสใหมีมาตรฐานและยกระดับ สถานศกึ ษาทุกแหงใหเปนศูนยทดสอบดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเพื่อเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ี มคี ณุ ภาพใหแกประชาชน 7) พฒั นาระบบการเทียบโอนและการเทียบระดับการศึกษา ใหมีมาตรฐานและสามารถเช่ือมโยง การศกึ ษาและการเรียนรูทุกระดับ ทุกรปู แบบ การศึกษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหลงเรียนรูในชุมชนใหมีมาตรฐานตามประเภทแหลงการเรียนรู และสอดคลองกับ ความสนใจและวิถชี ีวติ ของผูรบั บริการแตละกลุมเปาหมาย รวมทัง้ สามารถใหบริการไดอยางท่วั ถงึ 2) พฒั นาหองสมดุ พิพิธภัณฑ และจดั แหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย กระจายอยูทุกพื้นท่ีใหเปนกลไก ในการแสวงหาความรูของประชาชน 3) เพิ่มโอกาสในการเขาถึงการศึกษาตามอัธยาศัยของคนทุกชวงวัยในพื้นท่ีพิเศษ และเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกับภูมิสังคม อัตลักษณ และความตองการของชุมชนและ พ้ืนที่ 4) พฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนรู ส่ือเพื่อการเรียนรู และการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกรูปแบบ ตลอดจนขยายเครอื ขายอินเทอรเนต็ ความเร็วสูงในสถานศึกษาทุกแหง ครอบคลุมทุกพ้ืนที่และ เพียงพอ กับผูเรยี น เพ่ือเอือ้ ตอการเรยี นรูดวยตนเอง และการเรียนรูแบบมสี วนรวม ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคนทุกชวงวัยใหมีสมรรถนะ และทักษะ เหมาะสม มคี ณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี เปาหมายตามยทุ ธศาสตร 1) คนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรู ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิต ไดตามศักยภาพ 2) คนไทยไดรับการพฒั นาสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตที่เหมาะสมกับชวงวัย และพรอม รบั การเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 รวมพื้นท่ีชายแดนใต้และพ้ืนที่พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนใต 3) ระบบการวัดผลและประเมนิ ผลและการเทียบโอนการศึกษาทีม่ ีประสิทธิภาพ 4) คนไทยมีความรักในสถาบันหลักของชาติและยึดหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข 5) สถานศกึ ษาสามารถจัดกิจกรรม กระบวนการเรียนรูตามหลกั สตู รได้อยางมคี ุณภาพ มาตรฐาน 6) ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาไดรับการพฒั นาสมรรถนะอยางตอเนอื่ ง แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาชุมชนบนพ้นื ท่ีสงู ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
23 7) กลุมผูดอยโอกาส กลุมผูพลาดโอกาส และกลุมผูขาดโอกาส ไดรับโอกาสในการพัฒนา สมรรถนะและทกั ษะในการดารงชวี ิตเพ่ือการมคี ณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี 8) ผูเรียน ผูรับบริการ ไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขารับการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อยางมีคุณภาพ แนวทางการพฒั นา การศึกษานอกระบบ 1) ปฏิรูปหลักสูตร ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนรูใหทันตอความเปลี่ยนแปลง เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพของกลุมเปาหมาย 2) พัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพือ่ ยกระดับคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบคุณภาพการศึกษา นอกระบบระดบั ชาติ (N-NET) 3) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษานอกระบบใหเชื่อมโยงกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพท่ีนาไปสู เสนทางอาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพ่ือเทียบโอนความรูและประสบการณ และพัฒนาใหมี ระบบการ สะสมและเทยี บโอนหนวยการเรยี น (Credit Bank System) 4) พัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรูใหสอดคลองกับสภาวการณการพัฒนาประเทศและ เปนไปตามสภาพและความตองการของกลุมเปาหมาย โดยคานึงถึง การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน เสริมสราง ความตระหนักในคุณคาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความรูเรื่องทักษะท่ีจาเปน ในศตวรรษที่ 21 5) พัฒนารูปแบบและวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถวัด และประเมนิ ไดตรงตามวัตถุประสงคและนาผลการประเมินไปใชไดจรงิ 6) สงเสริมให มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู ส่ือเพื่อการเรียนรู และ การใหบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศทกุ รปู แบบท่ไี ดมาตรฐาน 7) พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบและหลักสตู รการอบรมแกกลมุ ผูสูงวัยใหมีคณุ ภาพและ ชีวิตทดี่ ี 8) พัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรับประชาชนเพื่อยกระดับทักษะการใชภาษาอังกฤษ ของคนไทย และภาษาตางประเทศอน่ื ๆ ที่เปนไปตามความตองการของพื้นทแี่ ละประชาชน 9) สงเสริมใหมีการจดั ทาแผนการเรยี นรูตลอดชวี ติ ของชุมชน/รายบคุ คล เพื่อเปนเคร่ืองมือ ในการ กาหนดทิศทางและสรางแรงจงู ใจในการเรียนรูตลอดชวี ติ ของประชาชน 10) สงเสริมใหสถานประกอบการจัดการศึกษานอกระบบ ซ่ึงอาจจัดเองหรือรวมจัดโดยสามารถ นาคาใชจายในการจัดการศึกษาไปลดหยอนภาษีได 11) พฒั นาหลักสูตรอาชพี เพอ่ื เสริมสรางการพัฒนาอาชีพใหกับประชาชนในชุมชนแบบครบวงจร ซึ่งเปน็ กระบวนการตนทางถงึ ปลายทางตัง้ แตกระบวนการผลิต การแปรรูป การจดั จาหนาย การตลาด และ การดาเนนิ การ ในเชิงธุรกจิ 12) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สรางเสริม และปรับเปลี่ยนคานิยมของคนไทยใหมีวินัย จติ สาธารณะ และพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค 13) พัฒนาสมรรถนะครูใหมีศักยภาพในการจัดการเรียนรู สามารถใชเทคโนโลยี และประสาน ภูมิปญญาทองถิ่นเพ่ือประโยชนในการจัดการเรียนรู เปนครูมืออาชีพ และมีมาตรฐานคุณภาพตามท่ี สานักงานรบั รอง มาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ (องค์การมหาชน) กาหนด แผนพฒั นาการจดั การศึกษาชุมชนบนพืน้ ท่สี งู ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
24 14) พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรใหตรงกับสายงานหรือความชานาญเพอื่ ให สามารถจัดการศกึ ษาและสงเสริมการเรยี นรูตลอดชีวติ อยางมีคณุ ภาพ 15) สงเสริมใหแรงงานไดรับโอกาสยกระดบั คณุ วุฒทิ างการศกึ ษาและทกั ษะความรูที่สูงขึน้ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นรูท่ปี ลูกจิตวิทยาศาสตรใหกับประชาชนผาน STEM Education สาหรบั ประชาชน อันจะนาไปสูการใชความคิดวิเคราะห ความคิดสรางสรรค และการ ใชเหตุผลในการ ดาเนินชีวิต 2) สงเสริมการสร างสรรคความรูใหม ๆ ทั้งจากภูมิปญญาทองถ่ินที่มีอยูเดิมและความรู ดานนวตั กรรมใหมๆ 3) จดั กิจกรรม สือ่ และนทิ รรศการที่มชี วี ติ และกระตุนความคดิ สรางสรรค ในแหลงเรียนรู ยุทธศาสตรท่ี 3 สงเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาสาหรับคนทุกชวงวยั เปาหมายตามยทุ ธศาสตร 1) โครงสรางพ้ืนฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการศึกษาของหน วยงานและสถานศึกษา มีความทันสมัย และมคี ณุ ภาพ 2) ระบบฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน และ ระบบเชอื่ มโยงกบั หนวยงานอนื่ เพือ่ ประโยชนในการจัดและบรกิ ารการศกึ ษาได แนวทางการพฒั นา 1) พั ฒ น าร ะ บ บเทคโน โลยี สาร สน เทศเ พื่ อ ก าร ศึก ษา ก าร จัดก าร เรี ยน ก าร สอ น การจัดกระบวนการเรยี นรูทม่ี ีความยดื หยนุ หลากหลาย สามารถเขาถึงไดโดยไมจากดั เวลาและสถานที่ 2) พัฒนาสถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษา (ETV) ใหเปนสถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษา สาธารณะ (Free ETV) 3) สงเสริมใหมกี ารจัดต้ังสถานีโทรทัศนสาธารณะแบบดจิ ิทัลและการผลติ รายการเพื่อการศึกษา 4) พฒั นากระบวนการเผยแพร ICT เพ่ือการศกึ ษาใหมรี ูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย เปนปจจุบัน และสอดรับกบั ความตองการของสงั คม 5) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบ แนวทางในการใชเทคโนโลยีเพ่ือ การศกึ ษาในการจดั และสงเสริมการจัดการศกึ ษา 6) ใหมีและบังคับใชมาตรการทางกฎหมายเพ่ือสนับสนุนใหเกิดการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา อยางมปี ระสิทธภิ าพ 7) สงเสริมใหมสี ่อื ดิจิทลั เพือ่ พัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนและการสงเสรมิ การมอี าชีพเพม่ิ ขน้ึ 8) จัดและสนับสนุนสถานศึกษา แหลงการเรียนรู กศน.ตาบล ใหมีความพรอมเกี่ยวกับโครงสราง พ้นื ฐานดาน ICT และเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษาอืน่ ทีเ่ หมาะสมกับพ้ืนท่ี 9) พฒั นาระบบฐานขอมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศกึ ษาใหครอบคลุมถกู ตองเปนปจจุบัน และเชื่อมโยงทุกหนวยงานที่เก่ียวของ เพ่ือการวางแผน การบริหารจัดการ การติดตาม ประเมิน และ รายงานผล ใหมีมาตรฐานท่ีครอบคลุม ถูกตองเปนปจจุบัน และตรงกับความตองการในการใชงาน ที่เชื่อมโยงกับ หนวยงานท้งั ภายในและภายนอกองค์กรอยางเปนระบบ 10) พฒั นาเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา ทั้งโครงสรางพื้นฐาน อปุ กรณ เนอื้ หา และวิชาการเพอื่ ชวยใน การเรยี นรูดวยตนเองสาหรบั ประชาชน แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพื้นทส่ี งู ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกุลา
25 11) พัฒนาประสิทธิภาพเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาทางไกล และการศกึษาในระบบเป ด อาทิ ETV E-learning MOOC เพือ่ เปนเครอ่ื งมอื ในการขยายการใหบรกิ ารในรปู แบบตางๆ ยุทธศาสตรท่ี 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศึกษา และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีบทบาท และมี สวนรว่ มในการจดัการศกึ ษา เพือ่ สรางสังคมแหงการเรียนรู เปาหมายตามยทุ ธศาสตร 1) ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส งผลต อคุณภาพและมาตรฐาน การจดั การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวติ 2) ระบบบรหิ ารงานบุคคล มีความเปนธรรม สรางขวัญและกาลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานได เตม็ ตามศกั ยภาพ 3) บุคลากรทุกประเภททุกระดับไดรับการพัฒนาความรู ทักษะ ตามมาตรฐานตาแหนง รวมทั้ง บทบาทภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย 4) กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของ รองรับการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลอง กบั บรบิ ทของสภาพสังคม 5) ระบบและกลไกการวัด ตดิ ตาม และประเมินผลการศึกษาและการเรยี นรูมปี ระสทิ ธภิ าพ 6) ทุกภาคส วนมีบทบาทและมีส วนร วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู ท่ีตอบสนอง ตอความตองการของประชาชนในพน้ื ท่ีเพอ่ื สรางสังคมแหงการเรียนรูใหเกดิ ข้ึนในพน้ื ท่ี/ชมุ ชน แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการที่เนนการกระจายอานาจลงสูพื้นท่ีภาค การมีสวนรวมของ ทุกภาคสวน และมรี ะบบบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 2) กาหนดใหมีมาตรการจูงใจทั้งด านภาษี และสิทธิประโยชน ตางๆ ให กับภาคีเครือขาย ท่ีเขามารวมจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3) ผลักดันใหเกิดกองทุนเพื่อการพัฒนาสาหรับการศึกษานอกระบบ เพื่อเปนกลไกในการสราง โอกาสทางการศึกษา 4) สงเสริม สนบั สนนุ ใหทกุ ภาคสวนเขามามีสวนรวมในการเปนภาคีเครือขาย และสรางแรงจูงใจ ในรูปแบบตางๆ ใหภาคีเครอขื ายรวมจัดและสงเสรมิ การจัดการเรียนรูในชมุ ชนอยางตอเนื่องและยั่งยืน 5) สรางเครือขายความรวมมือดานการศึกษากับองคกรหรือหนวยงานท้ังในและตางประเทศ โดยเนนการทางานในลกั ษณะบรู ณาการการวิจัยและพฒั นา 6) วิเคราะห วจิ ยั ปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบตางๆ ที่สอดคลองกับการพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเออ้ื ตอการบรหิ ารจัดการ 7) สงเสริมการสรางสภาพแวดลอมของชมุ ชน ทองถ่ิน สังคม เพื่อเอ้ือตอการศึกษาและการเรียนรู และสนับสนนุ การสรางกลไกการขับเคลื่อนชุมชนไปสูสงั คมแหงการเรียนรู 8) วิเคราะหและจัดทาแผนอัตรากาลังตามบทบาท หน าที่ และภารกิจ ของหนวยงานและ สถานศึกษาในสังกัดโดยใชรูปแบบการวิจัย เพ่ือใหการเกลี่ยอัตรากาลัง/บรรจุแตงตั้งบุคลากรตาม อัตรากาลงั มคี วามเหมาะสม 9) พัฒนาบคุ ลากร กศน. ทกุ ระดับใหมคี วามรูและทกั ษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกับสายงาน หรือความชานาญ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาชมุ ชนบนพ้ืนท่ีสงู ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
26 3.3 แผนพฒั นาการศึกษาจังหวดั เชียงราย (พ.ศ.2563 – 2565) วสิ ยั ทัศน์ เชียงรายเมืองแห่งคุณภาพการศึกษา พัฒนาสู่สากล* บนพ้ืนฐานวัฒนธรรมล้านนา มวลประชา อยเู่ ย็นเปน็ สขุ สากล* หมายถึง การพัฒนาสู่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย พ้ืนที่พิเศษเพื่อการท่องเท่ียว อย่างยงั่ ยนื ประชาคมอาเซียน อนุภาคลุ่มน้าโขง (Greater Mekong Sub region (GMS)) และประชาคม โลก พันธกิจ 1. จดั การศกึ ษาได้ตามมาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละประเภทสถานศกึ ษา 2. จดั การศึกษาสอดคล้องกับความต้องการของผเู้ รยี นเตม็ ศักยภาพของบคุ คล 3. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมสี มรรถนะดา้ นภาษา 4. จดั การศกึ ษาอาชีพมสี มรรถนะสอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศเขต เศรษฐกิจพเิ ศษเชียงราย และกลุ่มอนุภาคลมุ่ นา้ โขง (GMS) 5. สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณลี ้านนา ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ และอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม 6. จัดการศกึ ษาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. ส่งเสรมิ สถาบนั ครอบครวั ให้เขม้ แข็ง และย่ังยืน 8. สรา้ งผลงานวิจัยท่ีมีคณุ ค่า สนบั สนนุ การทาวจิ ัยอยา่ งเป็นระบบ และสง่ เสรมิ การตอ่ ยอด งานวจิ ัยสู่สังคมและเชิงพาณิชย์ เปา้ ประสงค์ 1.คนทุกช่วงวัยมคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ ม่นั การปกครองระบบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2. คนทุกช่วงวยั ในเขตพื้นทพี่ เิ ศษได้รบั การศึกษาและเรียนรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ 3. ผู้เรียนทจี่ บการศึกษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะประเภทการศกึ ษาสามารถ ศกึ ษาต่อและประกอบอาชพี ตามความตอ้ งการ 4. ผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาการเรียนรตู้ ามความตอ้ งการอย่างตอ่ เน่อื ง ตลอดชวี ิตเตม็ ศักยภาพ ของบุคคล 5. ผเู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาดา้ นภาษาทม่ี คี ณุ ภาพเปน็ ไปตามเปาู หมาย เตม็ ศกั ยภาพของบคุ คล 6. ผู้เรียนได้รับการพัฒนามีสมรรถนะ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน เขตพัฒนา เศรษฐกิจพเิ ศษเชียงราย และตรงกับความต้องการกล่มุ อนภุ าคลุ่มน้าโขง (GMS) 7. ผู้เรยี นมที ักษะชีวิต คุณภาพชวี ิต สอดคล้องกบั วฒั นธรรม ประเพณีลา้ นนา ภูมิปัญญา ท้องถน่ิ และอนุรกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม 8. ผเู้ รยี นนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปเปน็ หลักการในการดารงชีวิตในสงั คม 9. สถาบันครอบครัว มีความเข้มแข็งและยั่งยืน อยใู่ นสังคมอยา่ งมีความสขุ 10. ภาคีเครือข่าย ชุมชนมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา และหน่วยงานการศึกษาได้รับการ สนบั สนุนจากชมุ ชน แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาชมุ ชนบนพื้นท่สี ูง ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
27 11. หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษาผลิตผลงานวจิ ยั ที่มคี ณุ ภาพ และนาผลงานวจิ ัย ไปยกระดบั คุณภาพของคนในสงั คมและนาไปใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณิชย์ 12. ผูเ้ รียนมที กั ษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่จาเป็น ในศตวรรษที่ 21 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ างการศึกษาของจงั หวัดเชียงราย เปูาประสงค์ ตวั ชีว้ ดั และเปูาหมายกลยทุ ธ์แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2563 – 2565) จังหวัด เชียงราย ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพ่ือให้เชียงรายเป็นเมืองแห่งความสุข สะอาด ปลอดภัย น่ายล โดยสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพ อตั ลกั ษณ์ และภูมิทางสังคมของจังหวดั เชียงรายที่แตกตา่ งกนั ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การจัดการศึกษาเพื่อให้มีทักษะอาชีพท่ีสนองต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ การท่องเที่ยวและชายแดน โดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิทางสังคมของจังหวัดเชียงราย ทีแ่ ตกต่างกนั ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การบริหารจัดการศกึ ษาเพ่อื โอกาสและความเสมอภาคที่เท่าเทียม โดยสอดคล้อง กับศกั ยภาพ อัตลกั ษณ์ และภูมทิ างสงั คมของจงั หวัดเชยี งรายที่แตกต่างกนั 3.4 จุดเน้นการดาเนนิ งานการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพื้นที่สงู สานกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงราย สานักงาน กศน.จังหวัดเชียงราย ขับเคลื่อนงานการจัดการศึกษาชุมชนบนพื้นที่สูงโดยนา แนวทางการดาเนินตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี 6 ด้าน ดงั น้ี 1. ดา้ น โภชนาการ และสขุ ภาพอนามยั สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงตระหนักถึงความสาคญั ของการดูแลภาวะโภชนาการของเด็กต้ังแต่อยู่ในครรภ์และเด็กแรกเกิดซึ่งเป็น ช่วงวกิ ฤตท่ีสดุ ในวงจรชวี ิต การขาดสารอาหารของแม่ที่ต้งั ครรภ์จะส่งผลทาให้เด็กในครรภ์และเด็กแรกเกิด มีภาวะโภชนาการบกพร่อง ดังจะเห็นได้จาก น้าหนักแรกคลอดของเด็กจะต่ากว่า ๒,๕๐๐ กรัม เด็ก เจริญเติบโตและมีพัฒนาการชะงักงันรวมทั้งความสามารถในการเรียนรู้ มีความเส่ียงต่อการติดเชื้อและ เสียชีวิตสูง เป็นเด็กแคระแกร็น น้าหนักตัวน้อย เม่ือเติบโตเข้าสู่วัยเจริญพันธ์ุก็จะเป็นหนุ่มสาวที่ขาด อาหาร เป็นแม่ต้ังครรภ์ที่น้าหนักตัวน้อยส่งผลให้เด็กในครรภ์ขาดอาหารตลอดไป และในปัจจุบันจาก รายงานเชิงระบาดวทิ ยาพบวา่ การมนี า้ หนกั แรกคลอดต่า (low birth weight) ยังเป็นปัจจัยเส่ียงสาคัญต่อ การเกิดโรคอ้วนและโรคท่ีไม่ติดต่อเรื้อรังท่ีกลายเป็นปัญหาสาคัญของประเทศที่เพ่ิมจานวนมากข้ึนอย่าง รวดเร็ว นอกจากนี้ในการดูแลเด็กท่ีขาดสารอาหารโดยมุ่งเน้นที่เฉพาะการเพ่ิมน้าหนักเพื่อให้ได้เกณฑ์ นา้ หนกั ตวั โดยไมไ่ ด้ ใหค้ วามสาคญั กับการเพิ่มส่วนสูง อาจทาให้พบเด็กที่มีการขาดสารอาหารอยา่ งเร้ือรัง ทเ่ี ตยี้ แล้วอาจกลายเป็นโรคอ้วนดว้ ย กรณีดังกลา่ วยังเปน็ การเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความ ดันโลหิตสูง ดังน้ันเพ่ือไม่ให้เป็นการแก้ไขปัญหาด้านหนึ่งแต่กอใหเกิดปญหาอีกดานหน่ึง การมองปญหา โภชนาการของเด็กและเยาวชนในถิน่ ทุรกันดารในอนาคตจึงควรมองทัง้ สองดาน คือทั้งดานขาดและเกิน อัน จะทาใหสามารถแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมนอกจากปญหาโภชนาการแลว ในบางพน้ื ทต่ี ามแนวชายแดน ที่เปน พื้นท่ีเสี่ยง เด็กและเยาวชนรวมทั้งประชาชน ตองประสบกับการเจ็บปวยจนถึงขั้นเสียชีวิตดวยโรค ติดตอท่ีสาคัญเชนโรคมาลาเรียเปนตนพื้นท่ีเหลานี้หลายแหงบริการของรัฐยังเข าไมถึงดังน้ันแนว พระราชดาริในการแกไขปญหาจึงพยายามใหบุคลากรครูท่ีอยูประจาในพื้นท่ี ทาหนาท่ีใหบริการแกผูปวย แผนพัฒนาการจดั การศึกษาชมุ ชนบนพืน้ ทส่ี งู ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
28 เบอื้ งตนเปนการเสริมการทางานของเจาหนาที่สาธารณสุข เพื่อชวยบรรเทาความรุนแรง และปองกันการ สูญเสียท่อี าจเกดิ ขนึ้ ได้ 2. ดา้ นการศกึ ษา นอกจากการเตรียมเด็กและเยาวชนในดานโภชนาการและ สุขภาพแลว สมเด็จพระกนิษฐา ธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเห็นวา เด็กและเยาวชนทุกคนควรได รับการศึกษา เพราะนอกจากจะเปนสิทธิข้ันพ้ืนฐานที่ทุกคนควรจะไดรับอยางเทาเทียมกันแลวการศึกษา ยังเปนกระบวนการที่ทาใหเด็กและเยาวชนมีความรูและสามารถดารงชีวิตอยูไดดวยตนเอง เปนคนมี คุณภาพของครอบครัวและสังคมสวนรวม แมหนวยงานทางการศึกษาไดพยายามจัดบริการ การศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน แตก็ยงั ไมสามารถดาเนนิ การได้อยางท่วั ถึง และสนองตอวิถีชีวิตและความตองการของเด็กและ เยาวชนดอยโอกาส ซึ่งครอบคลุมกลุมที่ยากจนกลุมที่อยูหางไกลไมสามารถเขาถึงบริการได้ กลุมท่ีอยูใน พนื้ ทีเ่ สี่ยงภัย กลุมผูพ้ ิการ หรือ มคี วามบกพรองทาง รางกาย สติปญญา อารมณ นอกจากน้ี กลุมเด็กและ เยาวชนที่มีความสามารถพิเศษ ก็ยังขาดบุคลากรที่เช่ียวชาญในการจัดการเรียนการสอน ทาใหเด็กและ เยาวชนเหล านี้ ไม ได รับโอกาสในการพัฒนาเรียน รู เต็มตามศักยภาพของตนเอง ดังน้ัน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีจึงพระราชทาน ความชวยเหลือและสนบั สนุน การจัดการศึกษาในรูปแบบตาง ๆ ใหครอบคลุมเด็กและเยาวชนกลุมต่าง ๆ เพ่อื ใหเดก็ และเยาวชนทุกคนมโี อกาสและความเสมอภาคที่จะพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ เติบโตเปนคน ท่ีมีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติได สาหรับเด็กและเยาวชนส วนหนึ่งเมื่อจบการศึกษาภาคบังคับ แต่ไมมีโอกาสศึกษาตอในระดับสูงอาจเนื่อง มาจากครอบครัวมีฐานะยากจนและในชุมชนไม มีโรงเรียนที่ เปดสอนในระดับสูง ก็ยังไดรับโอกาสทางการศึกษาเพิ่มข้ึน โดย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานทุนการศึกษาใหแกเด็กและเยาวชนเหลานั้น เพื่อ ส งเสริมให เด็กและเยาวชนเหล าน้ีได มีโอกาสศึกษาต อในระดับสูงขึ้นจนสุดศักยภาพของแต ละคนและ สามารถพฒั นาตนเองให้เปนคนมีคณุ ภาพท่ดี ยี งิ่ ขึ้นของประเทศชาติตอไป 3. ดา้ นอาชพี พ้ืนฐานดั้งเดมิ ของสังคมไทยคือเกษตรกรรม และถอื วาเปนอาชีพหลักของประชาชนสวนใหญที่ ทผ่ี านมาสงผลใหเดก็ และเยาวชนรุนใหม่ มีทักษะและความชานาญทางการเกษตรลดลงมีทศั นคติวาเปนงาน หนกั เหนด็ เหนื่อย รายไดไมคุมการลงทนุ ทาใหขาดความสนใจในงานการเกษตรนอกจากน้ีการทาเกษตรที่ ผานมา ทาใหมกี ารใชทรัพยากรอยางสิ้นเปลือง สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเส่ือมโทรมลง จนถึงขาดแคลน ระบบนเิ วศเสยี สมดลุ แหลงอาหารทางธรรมชาติลดลง หรือแมกระท่ังมีสารเคมีตกคางและ ปนเปอนใน หวงโซอาหาร จนเปน อันตรายถงึ ชีวติ วถิ กี ารดารงชีวิตพร้อมกับวัฒนธรรมและภูมิปญญาท่ีดี งามของทองถนิ่ ถูกทาลายจนเกอื บหมดไป สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเห็นถึงความจาเปนอยางเรงดวนในการพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน ท้ังดาน ความรูและทักษะทางการเกษตร ตลอดจนการปลูกฝงทัศนคติที่ดี มีความอดทน เห็นคุณคาของการทางาน เกษตรความรูท่ีไดสามารถนาไปใชในการผลิตอาหารสาหรับบริโภคในครัวเรือน ซ่ึงเปนการชวยลดรายจายของ ครัวเรือนได นอกเหนือจากอาชีพการเกษตรแลว สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงเห็นวาการงานพ้ืนฐานอาชีพอ่ืนๆ เชน การประกอบอาหาร การแปรรูปถนอมอาหาร การเพาะขยายพันธุไม พันธุสัตว ศิลปหัตถกรรม การตัดเย็บเส้ือผา งานกอสราง ชางยนต ชางไฟฟา งานซอมแซมเคร่ืองใชอุปกรณตาง ๆ ภายในครัวเรือน จะเปนพื้นฐานที่จะเปน ประโยชน ในการดารงชีวิตประจาวันของเด็ก และเยาวชนดวย และเปนฐานสาหรับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมพูนทักษะตอไป แผนพัฒนาการจดั การศึกษาชุมชนบนพ้นื ท่ีสูง ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกุลา
29 ในอนาคต นอกจากน้ียังทรงเนนถงึ การปลูกฝงใหเดก็ และเยาวชนสามารถชวยเหลือตนเองได้ รวมท้ังชวยเหลือ ซึง่ กันและกนั และรูจกั เสียสละเพ่ือสวนรวม โดยใชหลักการสหกรณ พรอมทั้งการฝกการทางานรวมกันอยาง มีระบบและแบบแผน การจดบนั ทกึ การจดั ทาบญั ชี เพือ่ ใหเกิดความโปรงใส ตรวจสอบได้ 4. ดา้ นการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม สถานการณ ความขาดแคลนและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล อมมี แนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น สงผลตอสุขภาพและการดารงชีวิตของประชาชน ดังจะเห็นไดจาก พ้ืนที่ ปาลดลง การขาดแคลนน้าในระดับรุนแรง แตยังมีน้าหลากทวมเปนประจา คุณภาพน้าเสื่อมโทรมดินขาด ความอดุ มสมบรู ณถกู ชะลางพงั ทลาย ระบบนิเวศเสียสมดุล และความหลากหลายทางชีวภาพลดลง เหลานี้ ลวนเปนเร่อื งท่ที ุกคนตองรวมมือกันแกไขสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงหวงใยและทรงเห็นถึงความจาเปนอยางยิ่งที่จะตองเรงฟ นฟู และอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหคืนสูสมดุลโดยเร็วที่สุด โดยเฉพาะพ้ืนท่ีเปาหมายในการพัฒนา สวนใหญเปนพ้ืนท่ีปา พื้นท่ีตนน้า พื้นท่ีชุมน้า พื้นท่ีเขตปาสงวน ดังน้ันหากเด็กและเยาวชนซ่ึงเปน พลัง สาคัญที่จะทาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสูการใชทรัพยากรของชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ ไดมี ประสบการณตรงจากสภาพที่เปนจริงของทองถ่ิน ก็จะชวยในการฟนฟูและรักษาความสมบูรณของ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ซึ่งถอื วาเปนรากฐานของประเทศใหม่นั คงและย่งั ยนื ตอไปได้ 5. ด้านการอนุรกั ษแ์ ละสบื ทอดวฒั นธรรมและภูมิปญั ญาท้องถิ่น สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเห็น วาพื้นที่เปาหมายในการพฒั นามกั เปนชุมชนทก่ี อต้งั มาชานานมคี วามหลากหลายของเชื้อชาติที่มีวัฒนธรรม ประเพณีตลอดจนภูมิปญญาทองถิ่นท่ีแตกตางกันและเปนเอกลักษณเฉพาะของตนจึงมีพระราชดาริที่จะ ปลูกฝงเด็กและเยาวชนใหรูจักรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงาม และวิถีชีวิตท่ีเป น เอกลักษณของทองถนิ่ ไว้ ปองกันไมใหสงิ่ ที่ดงี ามเหลานี้ถกู ละเลยหรอื ถกู ทาลายไปพรอมๆกบั การพฒั นาและ ทีส่ าคัญคอื จะนามาซ่งึ ความภาคภูมิใจ และดารงไวซ่ึงวฒั นธรรมทด่ี งี าม 6. ด้านอื่น ๆ คือ กิจกรรม / โครงการ ท่ีไม่รวมอยู่ใน 5 ด้าน เช่น นโยบายพิเศษ โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ โครงการบ้านเล็กในปุาใหญ่ โครงการ พอ.สว.การปูองกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ฯลฯ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพ้นื ท่สี งู ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
30 ตอนที่ 3 แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพน้ื ทส่ี ูง แผนพัฒนาการจดั การศึกษาชมุ ชนบนพนื้ ท่สี ูง ศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกุลา
31 แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพน้ื ทีส่ งู ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า (พ.ศ.2564 – 2567) วสิ ัยทศั น์ กศน.อาเภอเวียงปุาเปูา จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพให้กับ ประชาชนทุกช่วงวัย สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะท่จี าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่มีคุณภาพเพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของ ประชาชน ทุกกลุม่ เปูาหมายให้เหมาะสมทุกชว่ งวยั 2. จัดการศึกษาหลักสูตรการรู้หนังสือไทยใหก้ ับผู้ไม่รูห้ นังสอื 3. จัดการศกึ ษาอาชพี ใหก้ ับประชาชน 4. จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ ใหก้ ับประชนทุกกลมุ่ เปาู หมาย 5. จัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชนใหก้ บั ประชนทกุ กลุม่ เปาู หมาย 6. การจดั การศกึ ษาตามหลักของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. จัดการศึกษาตามอัธยาศัยโดยส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ภายในตาบล และจัดกิจกรรม ส่งเสรมิ การเรยี นรู้เพอื่ ปลูกฝงั นสิ ัยรกั การอ่านใหก้ ับประชาชนทุกกล่มุ เปูาหมาย 8. การส่งเสรมิ สนบั สนุนและประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 9. พฒั นาระบบการบริหารจัดการให้มปี ระสทิ ธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล 10. พฒั นาการประกนั คุณภาพภายในใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย เปา้ ประสงค์ ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษา ในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษา ตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของ แต่ละกลุ่มเปาู หมาย แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาชุมชนบนพน้ื ทสี่ ูง ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสามกุลา
32 การดาเนนิ งาน ตามกลยทุ ธ์การดาเนินงานการจัดการศึกษาชุมชนบนพื้นที่สูง สานักงาน กศน.จังหวัดเชียงราย ท้ัง 6 ด้าน 1. ส่งเสริมโภชนาการ และสุขภาพอนามัย ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ ๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ความเข้าใจตามกรอบเนอ้ื หาการอบรม และบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดขี ้ึนไป เกณฑค์ วามสาเรจ็ 1. ร้อยละ ๘๐ ประชาชนในชมุ ชน มคี วามพงึ พอใจในกิจกรรม ในระดบั ท่ดี ขี ึน้ ไป 2. ร้อยละ ๘๐ ประชาชนในชุมชนมีพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ีเพิ่มขน้ึ 2. ส่งเสริมการศึกษา ด้านการสง่ เสริมการรู้หนงั สอื ไทย ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนผา่ นการประเมินตามหลกั สูตร 2. รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เรยี นมีความพงึ พอใจในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เกณฑ์ความสาเร็จ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนสามารถฟัง พูด อ่านออก เขียนได้และสามารถส่ือสารได้ตาม ความรู้ทไี่ ดร้ ับไปปรับใชใ้ นการดาเนินชวี ิต ด้านการสง่ การศึกษาข้นั พื้นฐาน ตัวช้วี ดั ความสาเร็จ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผเู้ รยี นใชเ้ วลาในแต่ละระดับไม่เกนิ ๔ ภาคเรยี น 2. รอ้ ยละ ๘๐ ของผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นในแต่ละภาคเรยี นไมต่ ่ากว่า ๒.๕ เกณฑ์ความสาเร็จ 1. รอ้ ยละ ๘๐ ของผูเ้ รยี นสามารถนาความรู้ที่ได้รบั ไปพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ดา้ นการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตัวชี้วัดความสาเรจ็ ๑. ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนผู้รับบริการมีนิสัยรักการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าจากแหล่ง เรยี นรใู้ นชมุ ชน เกดิ ทักษะในการเรียนรูด้ ้วยตนเอง สามารถนาไปปรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์ ๒. ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนผู้รบั บรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดบั ดีขึน้ ไป เกณฑ์ความสาเรจ็ 1. รอ้ ยละ ๘๐ ของประชาชนผูร้ ับบริการมคี วามพงึ พอใจในระดับดีขึน้ ไป แผนพฒั นาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพ้ืนทสี่ ูง ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
33 3. ส่งเสริมอาชพี ตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ บรรลุตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดโครงการ (หลักสตู ร) 2. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจ ในระดับดีขึ้นไป เกณฑ์ความสาเรจ็ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย สรา้ งอาชพี ใหม่ หรือทาเปน็ อาชีพเสรมิ 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็ ๑. ร้อยละ ๘๐ ของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจตามกรอบเน้ือหาการอบรม และบรรลวุ ัตถุประสงค์ของโครงการ ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดบั ดีขนึ้ ไป เกณฑค์ วามสาเรจ็ 1. รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการนาความรทู้ ไี่ ด้รับไปปรับใช้ในการดาเนินชวี ิต 5. ส่งเสริมการอนรุ กั ษ์และสบื ทอดวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตวั ชี้วดั ความสาเร็จ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความสาคญั ของประเพณวี ัฒนธรรมท้องถ่นิ 2. ร้อยละ ๘๐ ของผ้เู ข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับดีขน้ึ ไป เกณฑ์ความสาเร็จ 1. ร้อยละ ๘๐ ของโครงการเข้าร่วมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ 6. สง่ เสริมด้านอ่นื ๆ ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้ารว่ มโครงการมคี วามร้คู วามเข้าใจตามกรอบเนอื้ หาการอบรม และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจในระดับดขี น้ึ ไป เกณฑ์ความสาเรจ็ 1. รอ้ ยละ ๘๐ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาชมุ ชนบนพน้ื ท่ีสงู ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” บา้ นสามกลุ า
เป้าประสงค์ แผนการจดั การศึกษาชุมชนบนพน้ื ท่ีสูง ศูนย์การเรยี (พ.ศ.2564 กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม ประชาชนผู้ด้อย พลาด และ 1. ส่งเสริม 1. โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการปูองกัน ขาดโ อ กาสทาง การ ศึก ษา โภชนาการ การติดเชือ้ ไวรสั COVID – ๑๙ รวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รับ และสุขภาพ 2. โครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองปรับเปล่ียน โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ อนามัย พฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ.2ส. เพ่ือ ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ปอู งกนั โรคในผสู้ งู อายุ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษา 3. โครงการให้ความรู้เร่ืองโรคติดต่อตามช่วง ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ฤดกู าร อัธยาศัยท่ีมีคุณภาพอย่างเท่า 4. โครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองการใช้ เทียมและทั่วถึง เป็นไปตาม สารเคมแี บบถกู วธิ ี บริบท สภาพปัญหาและความ 5. โครงการสขุ ภาพดชี ีวมี สี ุข ตอ้ งการของแต่ละกล่มุ เปูาหมาย แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชุมชนบนพืน้ ท่สี ูง ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ
34 ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” บ้านสามกุลา 4 – 2567) เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ คา่ เป้าหมาย 2564 2565 2566 2567 (คน/รอ้ ยละ) 20 20 - - 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ รอ้ ยละ 80 ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต า ม ก ร อ บ เ นื้ อ ห า 30 - 30 - การอบรม และบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการ 2. ผู้ เข้ าร่ วมโครงการมี ค ว า ม พงึ พอใจในระดบั ดีข้นึ ไป 30 30 30 30 - 30 30 30 - 30 - 30 บา้ นสามกุลา
แผนการจดั การศึกษาชุมชนบนพน้ื ที่สงู ศูนย์การเรยี (พ.ศ.2564 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 2564 25 ประชาชนผู้ด้อย พลาด และ 2. ส่งเสรมิ 1. โครงการสง่ เสรมิ การรู้หนังสอื 27 2 ขาดโอกาสทางการศึกษา การศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับ 2. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั 24 2 โอกาสทางการศึกษา ใน การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ระดบั ประถมศึกษา รูปแบบการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ เ น่ื อ ง แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย ท่ี มี 3. โครงการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย 102 1 คุณภาพอย่างเท่าเทียมและ ทั่วถึง เป็ นไป ตาม บ ริบ ท สภาพปญั หาและความต้องการ ของแต่ละกลุม่ เปาู หมาย แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาชมุ ชนบนพ้นื ทส่ี ูง ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บ
35 ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” บ้านสามกลุ า 4 – 2567) เปา้ หมาย ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ ค่าเป้าหมาย (คน/รอ้ ยละ) 565 2566 2567 ร้อยละ 80 27 27 27 1. ผเู้ รยี นผา่ นการประเมนิ ตามหลักสูตร 2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ 3. ผู้เรียนสามารถฟัง พูด อ่านออก เขียนได้และ สามารถสือ่ สารได้ตามความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการ ดาเนนิ ชีวิต 24 24 24 1. ผู้เรยี นใช้เวลาในแต่ละระดับไมเ่ กนิ ๔ ภาคเรยี น 2. ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในแต่ละภาคเรียน ไม่ตา่ กว่า ๒.5 3. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม 102 102 102 1.ประชาชนผู้รับบริการมีนิสัยรักการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เกิดทักษะในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถนาไปปรับใช้ในการพัฒนา คุณภาพชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 2.ประชาชนผู้รบั บริการมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้น ไป บา้ นสามกลุ า
เปา้ ประสงค์ แผนการจดั การศกึ ษาชุมชนบนพ้นื ทสี่ ูง ศูนย์การเรีย (พ.ศ.2564 กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม ประชาชนผู้ด้อย พลาด และ 3.สง่ เสริม 1. โครงการสง่ เสรมิ การเลยี้ งสัตว์ปีก ขาดโ อ กาสทาง การ ศึก ษา อาชีพ 2. โครงการส่งเสริมอาชีพในรูปแบบกลุ่ม รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับ สนใจการทาขนมไทยสมุนไพรไทย (หลักสูตร โอ ก า สท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ๕ ช่วั โมง) รูปแบบการศึกษานอกระบบ 3. โครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองการทาปุ๋ย ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น หมัก ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ 4. โครงการอบรมใหค้ วามรู้เร่ืองการทาบว๊ ย ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย ที่ มี ไซรปั คุณภาพอย่างเท่าเทียมและ 5. โครงการเลย้ี งหมหู ลมุ ท่ัวถึง เป็นไปตามบริบท สภาพ ปัญหาและความต้องการของ แตล่ ะกลุ่มเปูาหมาย แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชุมชนบนพืน้ ท่สี ูง ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ
36 ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง”บา้ นสามกุลา 4 – 2567) เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ ค่าเป้าหมาย 2564 2565 2566 2567 (คน/ร้อยละ) 8 - - - 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความ รอ้ ยละ 80 - 12 - 12 เข้ าใจ และมี ทั ก ษะ บร รลุ ตาม วัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ (หลกั สตู ร) - 8 - 8 2. ผู้เข้าร่ว มโครง ก าร มีคว าม พงึ พอใจ ในระดับดีขน้ึ ไป - -8- - -8- บา้ นสามกลุ า
เป้าประสงค์ แผนการจัดการศกึ ษาชุมชนบนพนื้ ที่สงู ศูนย์การเรีย (พ.ศ.2564 กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม ประชาชนผู้ด้อย พลาด และ 4. สง่ เสริมการ 1. โครงการปลกู ปุาเฉลมิ พระเกยี รติ ขาดโ อ กาสทาง การ ศึก ษา อนรุ กั ษท์ รพั ยกร 2. โครงการให้ความร้แู ละการปฏบิ ตั ิการ รวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รับ ธรรมชาติและ โอ ก า สท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส่งิ แวดลอ้ ม ทาแนวปูองกนั ไฟปาุ 3. โครงการปลูกตน้ ไมต้ ามแนวรัว้ บรเิ วณ รูปแบบการศึกษานอกระบบ บา้ น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ เ น่ื อ ง แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย ที่ มี คุณภาพอย่างเท่าเทียมและ ทัว่ ถงึ เปน็ ไปตามบริบท สภาพ ปัญหาและความต้องการของ แต่ละกลุ่มเปูาหมาย แผนพฒั นาการจดั การศึกษาชมุ ชนบนพน้ื ท่ีสงู ศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ
37 ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง”บา้ นสามกลุ า 4 – 2567) เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ ค่าเป้าหมาย (คน/ร้อยละ) 2564 2565 2566 2567 ร้อยละ 80 20 20 20 20 ๑. ผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามรคู้ วาม 20 20 20 20 เขา้ ใจตามกรอบเนื้อหาการอบรม แ ล ะ บ ร ร ลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง - - 20 - โครงการ ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึง พอใจในระดับดีขน้ึ ไป บา้ นสามกลุ า
แผนการจัดการศกึ ษาชุมชนบนพน้ื ท่ีสงู ศนู ยก์ ารเรยี (พ.ศ.2564 เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ประชาชนผู้ด้อย พลาด และ 5. สง่ เสริมการ 1. โครงการส่งเสริมอนุรักษ์ประเพณี ขาดโอกาสทางการศึกษา อนุรักษแ์ ละ และวัฒนธรรมชนเผ่าลซี อ สบื ทอด รวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รับ 2. โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมการ โอกาสทางการศึ กษา ใน วฒั นธรรมและ แต่งกายชนเผ่าลซี อ รูปแบบการศึกษานอกระบบ ภูมิปัญญา 3. โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมการ ทอ้ งถ่นิ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาหารชนเผ่าลซี อ ก าร ศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง แล ะ การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมี คุณภาพอย่างเท่าเทียมและ ทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพ ปญั หาและความต้องการของแต่ ละกลุ่มเปาู หมาย แผนพัฒนาการจัดการศึกษาชมุ ชนบนพน้ื ทสี่ ูง ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บ
38 ยนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง”บา้ นสามกุลา 4 – 2567) เปา้ หมาย ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ คา่ เป้าหมาย 2564 2565 2566 2567 (คน/รอ้ ย ละ) 60 - - - 1. ผู้ เ ข้ า ร่ ว มโ คร ง ก าร เห็ น รอ้ ยละ 80 ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ป ร ะ เ พ ณี - 20 - 20 วัฒนธรรมท้องถน่ิ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความ - - 20 - พึงพอใจในระดบั ดขี ้ึนไป บา้ นสามกุลา
แผนการจดั การศึกษาชุมชนบนพนื้ ที่สูง ศูนย์การเรยี (พ.ศ.2564 เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กจิ กรรม ประชาชนผู้ด้อยพลาดและขาด 6. การ 1. โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คม โอกาสทางการศึกษารวมท้ัง สง่ เสรมิ ชุมชนกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยใน ประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาสทาง ดา้ นอืน่ ๆ ชมุ ชน ๒. โครงการพัฒนาศนู ย์การเรียนชุมชน ชาว การศึกษาในรูปแบบการศึกษา ไทยภเู ขา “แมฟ่ าู หลวง ” บ้านสามกลุ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น 3. โครงการปลกู จิตสานึกในการรักสถาบัน พระมหากษตั รยิ ์ พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและ ก า ร ศึ ก ษ า ต าม อั ธ ย า ศั ย ที่ มี คุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหา แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง แ ต่ ล ะ กลุม่ เปาู หมาย แผนพัฒนาการจดั การศึกษาชมุ ชนบนพ้ืนท่ีสูง ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ
39 ยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง”บ้านสามกุลา 4 – 2567) เป้าหมาย ตวั ชีว้ ัดความสาเร็จ ค่าเปา้ หมาย (คน/ร้อยละ) 2564 2565 2566 2567 ร้อยละ 80 30 30 30 30 1. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเขา้ ใจตามกรอบเนอ้ื หา การอบรบและบรรลวุ ัตถุประสงค์ 30 30 30 30 ของโครงการ ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความ พึงพอใจในระดับดีขนึ้ ไป 30 30 30 30 บา้ นสามกุลา
40 ทปี่ รึกษา คณะผู้จัดทา นายอดุ ร สมฤทธ์ิ นางสมหมาย ดีทิพย์ ประธานกรรมการสถานศึกษา นางจดิ าภา มหาวัน ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเวยี งป่าเปา้ ครูผ้ชู ว่ ย กศน.อาเภอเวยี งปา่ เปา้ คณะผจู้ ัดทา นายชัยวทิ ย์ ฉ่ัวจา ประธานกรรมการศึกษา ศศช.บา้ นสามกุลา นายสมชาย เสโล่ รองประธานกรรมการศกึ ษา ศศช.บา้ นสามกลุ า นายสุภกณิ ห์ เลายี กรรมการ นางสาวชุลิตา จะติ กรรมการ นางสาวนชิ ากร ธนรัตนศ์ ิริกุล กรรมการและเลขานุการ นางพัฒนา ใจเถิง ครอู าสาสมัครฯ(ศศช.บ้านสามกุลา) แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาชุมชนบนพนื้ ท่ีสงู ศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นสามกลุ า
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: