ก รายงาน เร่ือง วิธีการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ในรปู แบบตา่ งๆ เสนอ ผศ.กิตติชัย สธุ าสโิ นบล จดั ทำโดย นางสาวกณภัทร จนิ า 61105010035 นางสาวเกษศริ ินทร์ ชาสุรยี ์ 61105010040 นางสาวจนิ ดา เเสงจนั ทร์ 61105010043 นางสาวซลั มี เปาะเเต 61105010050 นายนาวาวี มะสัน 61105010058 นางสาวนดี า สะตา 61105010060 นางสาวนรู ฮายาตี โต๊ะแวมะ 61105010062 นางสาวพิมพ์ชนก วงษย์ า 61105010077 วชิ า ปถ 441 การสอนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสำหรบั ครูประถม EL441 TEACHING SOCIAL STUDIES, RELIGION AND CULTURE FOR ELEMENTARY TEACHERS ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ
ก คำนำ รายงานเล่มน้ีจัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึง่ ของวชิ าปถ 441 การสอนสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สำหรบั ครูประถม เพอ่ื ให้ไดศ้ ึกษาหาความรใู้ นเร่ือง วธิ ีการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ในรูปแบบตา่ งๆ โดยมีเนอ้ื เกี่ยวกับวธิ กี ารสอนรายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ในสาระหน้าทีพ่ ลเมอื ง 5 วธิ ีการสอน ซึ่งได้แก่ การสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ ผู้จดั ทำหวังวา่ รายงานเล่มน้จี ะเปน็ ประโยชน์กับผู้อา่ น ท่ีกำลังหาขอ้ มูลเรอ่ื งน้อี ยู่ หากมขี อ้ แนะนำ หรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทำขอนอ้ มรับไว้และขออภยั มา ณ ทน่ี ้ดี ้วย คณะผ้จู ัดทำ
สารบัญ คำนำ .................................................................................................................................. ก การสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)........................................................1 ตวั อยา่ งแผนการสอนรปู แบบการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ .......................................4 การสอนแบบอปุ นัย (Induction Method).......................................................................8 ตวั อย่างแผนการสอนโดยใช้วิธกี ารสอนแบบอุปนัย............................................................10 การสอนโดยใช้กระบวนการกลมุ่ ........................................................................................19 ตัวอยา่ งแผนการการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม..............................................................21 การสอนแบบอภปิ ราย (Discussion Method).................................................................25 ตัวอยา่ งแผนการสอนรปู แบบการสอนแบบอภปิ ราย ..........................................................27 วิธีการสอนโดยใชเ้ กม (Game)........................................................................................30 ตวั อย่างแผนการสอนวิธกี ารสอนโดยใช้เกม.......................................................................31 บรรณานุกรม ....................................................................................................................37
1 การสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) ความหมาย วิธีสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ คือวิธีสอนที่ผู้สอนกำหนดหัวข้อเรื่อง ปัญหาต่างๆ หรือสร้าง สถานการณ์ข้ึนมาให้คล้ายกับสภาพความเปน็ จริง แลว้ ใหผ้ ู้เรียนได้เตรียมการลว่ งหน้า แล้วจึงแสดงบทบาท ตามที่สมมติขึ้นมาอันเป็นแนวทางที่สามารถนำไปแก้ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะประสบในชีวิตประจำวัน นอกจากน้ีผ้เู รียนก็สามารถแสดงบทบาทในชัน้ เรยี น โดยไม่มกี ารเตรียมตัวลว่ งหน้า (วราภรณ์ ศนุ าลยั , 2536) ความมงุ่ หมาย การแสดงบทบาทสมมติเป็นการฝึกให้ผู้แสดงได้ประสบกับสถานการณ์จริงในสภาพของการสมมติ ขึ้นมาท้งั นีเ้ พื่อฝกึ ใหผ้ เู้ รียนได้ทดลองและเรยี นรูท้ ีจ่ ะปรับพฤติกรรมของตนอย่างมปี ระสิทธภิ าพในสภาวะตา่ งๆ ลกั ษณะการแสดงบทบาทสมมติ 1. ผู้แสดงบทบาทสมมติจะต้องแสดงบทบาทของคนอื่น โดยละทิ้งแบบแผนพฤติกรรมของตนเองหรือ การเปล่ยี นบทบาทซ่งึ กนั และกนั กบั เพ่ือนหรอื เปน็ บคุ คลสมมติ 2. ผู้แสดงบทบาทจะยังคงรกั ษาบทบาทและแบบแผนพฤติกรรมของตน แต่ปฏิบัติอยู่ในสถานการณท์ ี่ อาจพบในอนาคต บทบาทสมมติประเภทน้ีเป็นประโยชนต์ ่อการฝกึ ฝนทกั ษะเฉพาะ วธิ กี ารสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ 1. การแสดงบทแสดงละคร วิธีนี้ผู้ทีจ่ ะแสดงต้องฝึกซอ้ มแสดงท่าทางตามบทที่กำหนดขึ้นไว้แล้ว เช่น การแสดงละครเรื่องที่เกี่ยวกับบทเรียนในหนังสือเรียนภาษาไทย ผู้แสดงบทบาทสมมติแบบ ละคร จะตอ้ งพดู ตามบทบาททผ่ี ูเ้ ขียนกำหนดข้นึ 2. การแสดงบทบาทสมมตแิ บบไมม่ บี ทเตรียมไว้ ผู้แสดงต้องไม่ฝึกซอ้ มมาก่อนเรียนไปถงึ เรือ่ งใดตอน ใดก็ออกมาแสดงได้ทันที โดยแสดงไปตามความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เช่น แสดงเป็นบุคคล ต่างๆ ในชุมชน เป็นหมอ เป็นทหาร เป็นตำรวจ นักเรียนได้คิด ได้พูดและแสดงพฤติกรรมจาก ความร้สู ึกนกึ คดิ ของเขาเอง 3. การใช้บทบาทสมมติแบบเตรียมบทไว้พร้อม ผู้สอนได้เตรียมบทมาไว้ลว้ งหน้าบอกความคิด รวบยอด ให้ผู้แสดงทราบ ผู้แสดงอาจต้องแสดงตามบทบาทบ้าง คิดบทบาทขึ้นแสดงเองตามความพอใจ บ้าง แตต่ ้องตรงกบั เนือ้ เรอ่ื งทีก่ ำหนดให้
2 ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรแู้ บบแสดงบทบาทสมมติ มขี ั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ข้นั เตรยี มการใชบ้ ทบาทสมมติ แบ่งเป็น 2 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1.1 ขั้นการกำหนดวัตถุประสงคเ์ ฉพาะ ผู้สอนควรศกึ ษาและทำความเข้าใจพืน้ ฐานเสียก่อน ว่า ต้องการให้ผู้เรียนได้รับความรู้อะไรบ้างจากการแสดงและกรรมวิธีในการใช้บทบาทสมมตินำไปเพื่อ ต้องการใหเ้ กิดอะไรข้ึน 1.2 ขั้นสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมติ เมื่อผู้สอนได้ศึกษาและเข้าใจรายละเอียด เกี่ยวกับวัตถุประสงค์เฉพาะในการเตรียมใช้บทบาทสมมติแล้ว ก็จำเป็นต้องสร้างสถานการณ์และบทบาท สมมติให้สอดคล้องต้องกันกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว ซึ่งจำเป็นต้องเล็งเห็นถึงวัยของผู้เรียน เนื้อหา สาระ ปัญหา ความเป็นจริง ข้อโต้แข้ง ตลอดจนอุปสรรคที่จำเป็นต่างๆ ที่ผู้สอนต้องให้ผู้เรียนได้รู้จัก คดิ ปฏิบตั ิและแก้ไขด้วยตนเอง 2. ข้ันแสดงบทบาทสมมติ แบ่งเป็น 7 ข้ันตอน ดงั น้ี 2.1 การนำเขา้ สู่สถานการณ์ ผสู้ อนเตรียมเร่ืองหรือสถานการณใ์ ห้ผู้เรียน แล้วนำเร่ืองราว มาเล่าให้ผู้เรียนฟงั เพื่อเป็นการเร้าความสนใจ เป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียนและ อยากติดตาม และ ควรใหผ้ ู้เรียนไดเ้ ลง็ เห็นประโยชนท์ ี่จะได้รับ จากการที่เขา้ มามีส่วนร่วมในการแสดงบทบาทสมมติน้ันๆ 2.2 การกำหนดตวั ผู้แสดง การเลอื กผู้แสดงขน้ึ อยู่กบั จุดมุ่งหมายของการสอนและ การ แสดงสำหรับการเลือกตวั ผู้แสดง ควรใหผ้ ู้เรยี นอาสาสมคั รมาแสดงบทบาทดว้ ยความเต็มใจ 2.3 การจดั สถานท่ี ผสู้ อนควรใหผ้ ้เู รยี นไดร้ ่วมมือในการจัดสถานทสี่ ำหรบั การแสดงบทบาท สมมติ ซงึ่ ควรจดั และดัดแปลงใหเ้ หมาะสมกับเน้อื เร่ืองที่กำหนดไว้ 2.4 การกำหนดตัวผู้สังเกตการณ์ โดยผู้สอนอาจจะกำหนดผู้เรียนกลุ่มหน่ึงให้เป็นผู้ สังเกตการณ์ในการแสดงบทบาท โดยฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตและรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อนำมา วิเคราะห์ อภปิ ราย และแก้ปญั หารว่ มกัน หลังจากสน้ิ สุดการแสดงบทบาทสมมตแิ ลว้ 2.5 การเตรียมพร้อมก่อนการแสดง วิธีเตรียมความพร้อมนั้นผู้สอนต้องเป็นผู้ช่วยเหลือ ไม่ให้ผู้เรียนต้องมีความวิตกกงั วลเกี่ยวกับการแสดงให้มากเกินไป ควรชี้แจงให้ผู้แสดงทราบว่า การแสดงก็ เหมือนกบั การพดู คุย และเลน่ กนั ธรรมดา เพยี งแต่ต้องแสดงบทบาทต่างๆ ตามที่ไดก้ ำหนดไว้เทา่ นัน้
3 2.6 การลงมอื แสดง เมอ่ื ผู้แสดงพร้อมแล้วก็เริ่มลงมือแสดงไดเ้ ลย ควรเปดิ โอกาสให้ ผู้ แสดงได้ใช้ความสามารถของตนได้เต็มท่ี ถ้าเกิดปัญหาขึ้นในขณะที่แสดง ผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการแก้ไข สถานการณ์ เพือ่ ใหก้ ารแสดงเป็นไปตามธรรมชาตแิ ละราบร่ืนต่อไป 2.7 การตดั บท ถ้าบงั เอญิ การแสดงของผู้เรียนยดื เยอ้ื และใช้เวลานานเกินความจำเป็นและ ผูส้ อนทค่ี วามคิดเห็นวา่ ได้ขอ้ มูลในการแสดงพอสมควรแลว้ ก็สามารถขอใหย้ ตุ ิการแสดง เพือ่ จะได้นำข้อมูล มาวิเคราะหแ์ ละอภิปรายและแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ต่อไป 3. ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผล การนำข้อมูลที่ได้จากการแสดงมาวิเคราะห์และ อภิปราย ผู้สอนและผู้เรียนต้องร่วมมือกัน แต่ควรอภิปรายในรูปแบบของความมีเหตุมีผลเฉพาะการ แสดงออกของผู้แสดงทางพฤติกรรมเทา่ นนั้ แตจ่ ะไมม่ กี ารวพิ ากษว์ จิ ารณเ์ กย่ี วกบั ตัวผแู้ สดง 4. ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป เมื่อได้วิเคราะห์และอภิปรายผลของการแสดง แล้ว ผู้สอนจะเป็นผู้เร้าและจูงใจให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ต่างๆ เพื่อให้มีแนวคิดกว้างขวาง ขึน้ โดยให้ขอ้ คดิ ว่าส่ิงท่ไี ด้เรียนร้หู รอื ประสบพบเห็นนั้นๆ จะเกยี่ วข้องกับความเป็น จรงิ ทงั้ ส้นิ แล้วให้ผู้เรียน ช่วยกันใหแ้ นวมโนทศั นแ์ ละชว่ ยกนั สรุปประเด็นให้ตรงกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการแสดงบทบาทสมมติทีก่ ำหนดไว้
4 ตัวอย่างแผนการสอนรูปแบบการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 จาํ นวน 3 ชว่ั โมง ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 หน่วยท1่ี เรอื่ ง ผนู้ ำชมุ ชน สาระหน้าทีพ่ ลเมืองฯ รายวชิ าสังคมศกึ ษา มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธํารงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข 1.ความคิดรวบยอด ชุมชนไม่ว่าจะมีขนาดใหญ่คืนเล็ก ต้องมีผู้นำเพื่อดูแลช่วยเหลือคนในชุมชนให้อยู่ร่วมกันอย่าง ปลอดภยั และมคี วามสขุ คนในชมุ ชนจะเปน็ ผูเ้ ลือกผนู้ ำ ผู้นำชมุ ชนมบี ทบาทอำนาจหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั 2.ตัวช้ีวดั ระบุผู้มีบทบาท อำนาจในการตดั สินใจในโรงเรียนและชมุ ชนได้ 3.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ บอกบทบาท อำนาจในการตัดสนิ ใจในโรงเรยี นและชมุ ชนได้ 4.สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 5.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - รักชาตศิ าสนากษัตรยิ ์ - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - ม่งุ ม่ันในการทาํ งาน - รักความเปน็ ไทย - มีจติ สาธารณะ
5 6.ค่านิยมหลัก 12 ประการ - มคี วามรกั ชาตศิ าสนา พระมหากษตั ริย์ - ซื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณ์ในสง่ิ ที่ดงี ามเพอ่ื สว่ นรวม - ใฝ่หาความรหู้ มั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรง และทางอ้อม - เข้าใจเรยี นรู้ การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมุขทถี่ ูกต้อง - มรี ะเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ - มีสติรู้ตัว รูค้ ดิ รทู้ ํา รู้ปฏิบตั ิตามพระราชดํารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั - คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง 7.สาระการเรียนรู้ ผมู้ บี ทบาทอำนาจในการตัดสนิ ใจในโรงเรียนและชมุ ชน 8.ชน้ิ งาน/หลกั ฐานร่องรอยแสดงความรู้ - ใบงานท่ี 1 9.กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงท1่ี -3 1. ครูนำภาพ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและผู้นำชุมชนมาให้นักเรียนดู พร้อมทั้งอธิบายว่าแต่ละบุคคลมี ความสมั พนั ธ์กันแล้วให้นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็นจากภาพ ครเู สรมิ แรงบวกให้นักเขียนท่ี รว่ มแสดงความคดิ เห็นด้วยการชมเชย ปรบมอื หรอื ให้รางวัล 2. ครูชวนนักเรยี นสนทนาถึงประโยชนข์ องการมผี ู้นำชุมชน ครบู นั ทกึ คำตอบบนกระดาน 3. ครอู ธิบายถงึ บทบาทหน้าทข่ี องผู้นำชมุ ชนเพิม่ เติม 4. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม 6 กลุ่มตามความสมัครใจ โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดบทบาท สมมติในเรื่องบทบาทของผู้นำดังนี้ - บทบาทของกำนนั ( 2 กลุม่ ) - บทบาทของผใู้ หญบ่ า้ น ( 2 กลมุ่ ) - บทบาทของผูน้ ำชมุ ชน ( 2 กลุ่ม) 5. ครูให้นกั เรียนออกมาแสดงบทบาทสมมติโดยครูคอยชี้แนะเพมิ่ เติม 6. นักเรียนทำใบงานท่ี 1 เร่ืองผนู้ ำชมุ ชน 7. ครตู รวจใบงาน 8. ครเู ลอื กนกั เรยี นออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี นโดยครคู อยอธิบายเพ่มิ เติม 9. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ บทบาท อำนาจ หน้าทข่ี องผูน้ ำชมุ ชน
6 10. ครเู ลอื กผลงานของนกั เรยี นมาจดั ป้ายนเิ ทศเพอ่ื ใหเ้ กดิ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 10.ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 1.ส่อื การเรียนรู้ - หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน หน้าทพี่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนนิ ชีวติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ - ใบงานท่ี 1 เร่ือง ผ้นู ำชุมชน 2.แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องสมุดโรงเรยี น - ผ้รู ู้ในชมุ ชน 11.การวดั และประเมินผล รายการประเมนิ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล เคร่อื งวดั และประเมินผล 1.ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ - สงั เกต - แบบสังเกตพฤตกิ รรมกลมุ่ - ซกั ถาม - แบบประเมินผลงานกลุม่ 2.ด้านคุณลักษณะอนั พึง - ประเมินผลงานกลุม่ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ประสงค์ - ตรวจใบงาน - ใบงาน 3.ดา้ นทักษะกระบวนการคิด - สังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งาน - แบบสงั เกตพฤติกรรมกล่มุ กลมุ่ - แบบประเมินผลงานกลมุ่ - ประเมนิ ผลงานกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรมการทํางาน - แบบสงั เกตพฤติกรรมกลมุ่ กลุม่ - แบบประเมินผลงานกลุ่ม - ประเมินผลงานกลุ่ม 12.เกณฑ์การวดั ประเมิน 1.แบบสังเกตพฤติกรรมกลมุ่ ได้ระดบั คุณภาพพอใชข้ ้ึนไป ผา่ นเกณฑ์ 12 – 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 – 7 คะแนน ปรบั ปรงุ
7 2.แบบประเมนิ ผลงานกลุ่มและระดับคณุ ภาพพอใชข้ ้นึ ไป ผ่านเกณฑ์ 12 – 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 – 7 คะแนน ปรับปรงุ 3.ประเมินใบงานไดค้ ะแนนตงั้ แตร่ อ้ ยละ 60 ข้นึ ไป ผ่านเกณฑ์ 4.แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลในระดบั คณุ ภาพพอใชข้ ึน้ ไป ผา่ นเกณฑ์ 12 – 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 – 7 คะแนน ปรับปรงุ
8 การสอนแบบอปุ นยั (Induction Method) แนวคดิ กระบวนการที่ผู้สอนจากรายละเอียดปลีกย่อย หรือจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ หรือ กฎเกณฑ์ หลักการ ข้อเท็จจริงหรือข้อสรุป โดยการนำเอาตัวอย่างข้อมูล เหตุการณ์ สถานการณ์หรือ ปรากฏการณ์ ที่มีหลกั การแฝงอย่มู าใหผ้ เู้ รยี นศึกษา สังเกต ทดลอง เปรยี บเทียบหรือวิเคราะห์จนสามารถสรุป หลกั การหรือกฎเกณฑไ์ ดด้ ว้ ยตนเอง การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรแู้ บบอปุ นัยมขี ัน้ ตอนสำคัญดังตอ่ ไปนี้ 1. ขนั้ เตรยี มการ เป็นการเตรยี มตัวผู้เรียน ทบทวนความรู้เดมิ หรือปูพืน้ ฐานความรู้ 2. ขั้นเสนอตวั อย่าง เปน็ ขน้ั ท่ีผู้สอนนำเสนอตัวอยา่ ข้อมูล สถานการณ์ เหตกุ ารณ์ ปรากฏการณ์ หรือ แนวคิดให้ผู้เรียนได้สังเกตลักษณะและคุณสมบัติของตัวอย่างเพื่อพิจารณาเปรียบเทียบสรุปเป็น หลักการ แนวคิด หรือกฎเกณฑ์ ซึ่งการนำเสนอตัวอย่างควรเสนอหลายๆตัวอย่างใหม้ ากพอทีผ่ ู้เรียนสามารถ สรุปเปน็ หลกั การหรอื หลกั เกณฑ์ต่างๆได้ 3. ขั้นเปรียบเทียบ เป็นขั้นที่ผู้เรียนทำการสังเกต ค้นคว้า วิเคราะห์ รวบรวม เปรียบเทียบความ คล้ายคลึงกันขององค์ประกอบในตัวอย่าง แยกแยะข้อแตกต่าง มองเห็นความสัมพันธ์ในรายละเอียดท่ี เหมอื นกันหรือตา่ งกนั ในขั้นนี้หากตัวอย่างที่ให้แก่ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี ครอบคลุมลักษณะหรือคุณสมบัติสำคัญๆ ของ หลักการ ทฤษฎีก็ย่อมจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและวเิ คราะหไ์ ด้ตรงตามวัตถุประสงคไ์ ดอ้ ย่างรวดเร็ว แต่ หากผู้เรียนไม่ประสบความสำเรจ็ ผูส้ อนอาจใหข้ อ้ มูลเพิม่ เติมหรือใช้วิธกี ระตนุ้ ให้ผู้เรยี นไดค้ ดิ ค้นตอ่ ไป โดยการ ตัง้ คำถามกระตนุ้ แต่ไมค่ วรใหอ้ ยู่ในลกั ษณะบอกคำตอบ เพราะวธิ สี อนนีม้ งุ่ ใหผ้ ู้เรียนไดค้ ดิ ทำความเข้าใจด้วย ตนเอง ควรให้ผเู้ รยี นไดร้ ่วมกนั คิดวิเคราะห์เปน็ กลุ่มย่อย เพื่อจะได้แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ซ่งึ กันและกัน โดย เน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่มอย่างทั่วถึงและผู้ สอนไม่ควรรีบร้อนหรือเร่งเร้าผู้เรียน จนเกินไป 4. ขั้นกฎเกณฑ์ เป็นการใหผ้ ู้เรียนนำข้อสังเกตต่างๆจากตวั อย่างมาสรุปเป็นหลกั การ กฎเกณฑ์หรอื นิยามดว้ ยตวั ผูเ้ รียนเอง 5. ขั้นนำไปใช้ ในขั้นนี้ผู้สอนจะเตรียมตัวอย่างข้อมูล สถานการณ์ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์หรือ ความคิดใหม่ๆที่หลากหลายมาให้ผู้เรียนใช้ในการฝึกความรู้ ข้อสรุปไปใช้ หรือผู้สอนอาจให้โอกาสผู้เรียน ชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ งจากประสบการณข์ องผู้เรียนเองเปรียบเทียบก็ได้ เป็นการสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนนำความรู้ท่ีได้รับ ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน และจะทำใหผ้ เู้ รยี นเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึง้ ย่ิงขึน้ รวมทงั้ เป็นการทดสอบความเข้าใจ ของผ้เู รยี นว่าหลกั การทไ่ี ด้รัยน้ัน สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาและทำแบบฝกึ หัดได้หรือไมห่ รือเปน็ การประเมินว่า ผ้เู รยี นไดบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ทีต่ ้ังไว้หรอื ไมน่ ั่นเอง
9 ประโยชน์ 1. เป็นวธิ กี ารทที่ ำให้ผูเ้ รยี นสามารถค้นพบความร้ดู ้วยตนเอง ทำใหเ้ กิดความเขา้ ใจและจดจำไดน้ าน 2. เป็นวิธีการที่ฝึกให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการสังเกต คิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตามหลัก ตรรกศาสตร์และหลักวิทยาศาสตร์ สรปุ ดว้ ยตนเองอย่างมีเหตุผลอนั จะเปน็ เคร่อื งมือสำคญั ของการเรียนรู้ ซึ่ง ใชไ้ ดด้ กี บั การวิชาวิทยาศาสตร์ 3. เป็นวธิ กี ารท่ผี ู้เรยี นได้ทง้ั เนื้อหาความรู้ และกระบวนการซึง่ ผเู้ รียนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการ เรยี นรูเ้ ร่อื งอน่ื ๆได้
10 ตวั อย่างแผนการสอนโดยใชว้ ิธกี ารสอนแบบอปุ นัย แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 หนวยที่ 2 เรื่อง การยอมรบั ความแตกตาง จํานวน 2 ชัว่ โมง สาระหนาทพี่ ลเมอื งฯ รายวิชาสังคมศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1 ________________________________________________________________________________ __ม_าตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัตติ นตามหนาที่ของการเปนพลเมอื งดี มีคานยิ มท่ีดีงาม และธํารงรกั ษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสงั คมไทยและสงั คมโลกอยางสนั ติ สขุ 1.ความคดิ รวบยอด สมาชิกในสังคมยุคปัจจุบนั มที ัง้ คนที่เหมอื นกนั และแตกตางกัน ไมวาจะเปนในดานความคิด เชอื้ ชาติ ศาสนา สีผิว เปนตน แตหากเราเรยี นรูความแตกตางนน้ั จะเห็นไดวาทุกสิง่ มคี ุณคาในตวั เอง ดังนน้ั การอยู่รวม กันในสังคม ไมวาจะมีความเหมอื นหรอื แตกตางกนั เราควรใหเกยี รติซงึ่ กนั และกัน แตกตางไมแตกแยก 2.ตวั ช้ีวัด แสดงพฤติกรรมในการยอมรับความคดิ เห็น ความคดิ ความเชอ่ื และการปฏบิ ตั ขิ องบคุ คลอน่ื ทแี่ ตกตาง กนั โดยปราศจากอคติ 3.จดุ ประสงคการเรียนรู สามารถยอมรบั ความแตกตางของผูอื่นโดยปราศจากอคติได 4.สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต 5.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค - รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย - มีวินยั - ใฝเรยี นรู - มุงม่นั ในการทาํ งาน - รกั ความเปนไทย
11 - มีจติ สาธารณะ 6.คานยิ มหลกั 12 ประการ - มคี วามรกั ชาติศาสนา พระมหากษตั ริย - กตัญ ตู อพอแม่ ผูปกครอง ครูบาอาจารย - ใฝหาความรู หมัน่ ศกึ ษาเลาเรียนทงั้ ทางตรง และทางออม - รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณไี ทย - มีสตริ ูตวั รูคดิ รทู ํา 7.สาระการเรยี นรู การยอมรบั ความแตกตางของคนในสงั คม เร่ืองความคดิ ความเชอ่ื ความสามารถ และการปฏิบัติตน ของบุคคลอื่นทแ่ี ตกตางกัน 8.ชนิ้ งาน/หลกั ฐานรองรอยแสดงความรู ใบงานที่ 1 9.กิจกรรมการเรยี นรู ชว่ั โมงท่ี1-2 1. ครูนําดินสอสี 2 แทง (สแี ตกตางกนั ) มาใหนักเรยี นดแู ลวใหนกั เรียนเลือกวาชอบสีใด และใหนกั เรยี นแสดงเหตผุ ลในการชอบสีที่ตนเองเลอื กใหเพ่อื นฟง 2. ครใู หน้ กั เรียน 2 คนออกมายืนหน้าชน้ั เรยี น ให้เพอื่ นๆช่วยกนั เปรยี บเทียบว่าทงั้ 2 คนมี ความเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไรในเรื่องของ ลกั ษณะภายนอก ลกั ษณะนสิ ยั ความชอบ เปน็ ต้น 3. ครูใชคาํ ถามเพอื่ เชือ่ มโยงเรือ่ งการยอมรบั ความแตกตางว่านักเรยี นท้งั 2 คนจาํ เปนตอง ชอบ ทกุ อยางเหมือนกนั หรือไม 4. นักเรยี นรวมกนั อานออกเสยี งบทสนทนา ในหนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน หนาท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรมและการดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คม เศรษฐศาสตรและภูมศิ าสตรชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ของสํานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง การยอมรบั ความแตกตาง และครสู ังเกตทกั ษะ การอานออกเสยี งของนักเรียน 5. ครอู ธบิ ายเรือ่ งความแตกตางและการยอมรบั ความแตกตาง 6. ครูใหนกั เรียนจบั คูเพอื่ นสนิทตามความสมัครใจและทําใบงานท่ี 1 7. ครูเลอื กนักเรยี น 4-5 คอู อกมานาํ เสนอผลงานจากการทําใบงาน 8. ครแู ละนกั เรียนรวมกันสรปุ เกยี่ วกบั “การยอมรบั ความแตกตางของผูอน่ื ”
12 9. ครูตรวจใบงาน และเลอื กผลงานของนักเรยี นมาจัดปายนิเทศในหองเรยี นเพ่อื เปนการแลก เปลยี่ นเรียนรู 10.สอ่ื /แหลงการเรยี นรู 1.สื่อการเรยี นรู - หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน หนาทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม เศรษฐศาสตรและภูมิศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร - ใบงานที่ 1 เรื่อง “การยอมรับความแตกตาง” 2.แหลงการเรยี นรู - หองสมุด 11.การวัดและประเมนิ ผล รายการประเมนิ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล เครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล 1.ด้านความร้คู วามเข้าใจ - สงั เกต - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกล่มุ 2.ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลมุ่ 3.ด้านทกั ษะกระบวนการคิด - ประเมินผลงานกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล - ตรวจใบงาน - ใบงาน - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกลมุ่ - ประเมินผลงานกลุม่ - แบบประเมนิ ผลงานกล่มุ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ - แบบสงั เกตพฤติกรรมกลมุ่ - ประเมินผลงานกลมุ่ - แบบประเมินผลงานกลมุ่ - แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 12.เกณฑ์การวัดและประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมกลุ่มไดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใช้ข้ึนไป 12 - 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 - 7 คะแนน ปรับปรุง 2. แบบประเมนิ ผลงานกลุ่มได้ระดับคณุ ภาพพอใช้ขึน้ ไป 12 - 15 คะแนน ดี
13 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 - 7 คะแนน ปรบั ปรงุ 3. ประเมินใบงานไดค้ ะแนนตัง้ แตร่ ้อยละ 60 ข้นึ ไป ผา่ นเกณฑ์ 4. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คลไดร้ ะดับคณุ ภาพพอใชข้ น้ึ ไป 12 - 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 - 7 คะแนน ปรบั ปรงุ
14 ใบงานที่ 1 เรอื่ ง \"การยอมรบั ความแตกต่าง\" ชื่อ-นามสกลุ …………………………………………………………………...ช้นั /หอ้ ง………………………….เลขท่ี…………………… คำช้ีแจง ให้นักเรียนจบั คกู่ ับเพอื่ นสนทิ และกรอกขอ้ มลู ของนักเรยี นพร้อมทัง้ เพ่ือนสนิทให้สมั พันธก์ ับหัวข้อ ทกี่ ำหนด และตอบคำถามต่อไปนพี้ รอ้ มอธิบายพอสงั เขป ความช่ืนชอบ ช่อื นกั เรยี น………………………….. ชือ่ นกั เรียน………………………….. 1. สที ช่ี อบ 2. อาหารท่ชี อบ 3. ศาสนาทนี่ บั ถอื 4. เพลงที่ชอบฟงั 5. กฬี าทีช่ อบเล่น 1.นักเรยี นและเพือ่ นสนิทมคี วามแตกตา่ งกนั เรอื่ งใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ใหน้ กั เรียนเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการยอมรบั ผูอ้ ื่นทแ่ี ตกตา่ งไดอ้ ย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
15 เฉลย ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง \"การยอมรบั ความแตกตา่ ง\" ชอ่ื -นามสกลุ …………………………………………………………………...ชัน้ /ห้อง………………………….เลขท…่ี ………………… คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนจับคกู่ ับเพือ่ นสนทิ และกรอกขอ้ มูลของนักเรยี นพรอ้ มท้ังเพือ่ นสนทิ ให้สมั พันธก์ ับหัวข้อ ทก่ี ำหนด และตอบคำถามต่อไปนี้พรอ้ มอธิบายพอสังเขป ความช่ืนชอบ ชือ่ นักเรียน………………………….. ช่อื นกั เรียน………………………….. 1. สีทชี่ อบ 2. อาหารท่ชี อบ 3. ศาสนาท่ีนับถอื 4. เพลงท่ีชอบฟงั 5. กฬี าทชี่ อบเล่น (คำตอบอยู่ในดุลยพินิจของคณุ ครู) 1.นกั เรยี นและเพอื่ นสนิทมคี วามแตกตา่ งกนั เร่อื งใดบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ให้นักเรียนเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นในการยอมรับผู้อนื่ ทแ่ี ตกตา่ งไดอ้ ยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
16 แบบสังเกตพฤตกิ รรมกลมุ่ คำชแ้ี จง : ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียน แล้วทำเครอ่ื งหมายถกู () ลงในช่องท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน เลขที่ ช่ือ-นามสกุล รบั ฟัง แบง่ งาน การมี สามคั คี/ ตรงต่อ รวม แปรผล ความ กนั สว่ นร่วม มีน้ำใจ เวลา คดิ เหน็ อยา่ ง เหมาะสม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15 ลงช่ือ……………………………………………ผู้ประเมิน ………..……./…….……../………...... เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ชว่ งคะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 12 - 15 ระดบั คุณภาพ 8 – 11 ดี 1-7 พอใช้ ปรบั ปรงุ
17 แบบประเมินผลงานกลุม่ คำช้ีแจง : ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น แลว้ ทำเคร่ืองหมายถกู () ลงในชอ่ งท่ตี รงกับระดับคะแนน ความ การมีส่วน รวม แปรผล ถูกตอ้ ง ความคิด รว่ มของ เลขท่ี ชื่อ-นามสกลุ ของ สร้างสรรค์ การใช้ สมาชกิ ตรงตอ่ เนื้อหา ภาษา เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15 ลงชือ่ ……………………………………………ผู้ประเมิน ………..……./…….……../………...... เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ชว่ งคะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ 12 - 15 ระดับคุณภาพ 8 – 11 ดี 1-7 พอใช้ ปรับปรุง
18 แบบประเมินพฤตกิ รรมรายบคุ คล คำชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น แล้วทำเคร่อื งหมายถกู () ลงในชอ่ งทต่ี รงกับระดบั คะแนน เลขที่ ชื่อ-นามสกลุ รับฟงั การ การตอบ สามคั คี/ ตรงต่อ รวม แปลผล ความ แสดงออก คำถาม มีน้ำใจ เวลา คดิ เหน็ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15 ลงชอ่ื ……………………………………………ผู้ประเมนิ ………..……./…….……../………...... เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ 12 - 15 ระดับคณุ ภาพ 8 – 11 ดี 1-7 พอใช้ ปรับปรุง
19 การสอนโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ ความหมาย กลวิธีทีค่ รูใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไปตามลำดบั ต่อเนือ่ งกนั ใหไ้ ดม้ าซึ่งการรวมตัวกันเป็น กลุ่มของนักเรียนและการดำเนนิ กิจกรรมของกลุ่มนกั เรียนเพื่อช่วยให้นกั เรยี นเกดิ การเรียนรูเ้ นื้อหาสาระตาม วตั ถุประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ 1. ใหน้ กั เรียนรู้จกั การทำงานร่วมกัน รจู้ ักแบง่ งานกนั ทำและชว่ ยเหลอื กัน 2. ให้เกดิ การปะทะสมั พนั ธ์ ระหว่างกลมุ่ 3. สร้างบรรยากาศในชัน้ เรยี นใหน้ า่ สนใจมากยิ่งขน้ึ 4. ให้นกั เรียนรจู้ ักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5. ผสมผสานวิธีสอนหลายๆแบบเขา้ ด้วยกัน 6. ครูสามารถรู้จกั นักเรยี นเปน็ รายบุคคล 7. เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นรจู้ กั และทำความเขา้ ใจซง่ื กนั และกนั 8. ให้นกั เรยี นมีโอกาสอภปิ รายและแสดงความคิดเหน็ 9. สามารถใชป้ ระสบการณจ์ ากกลมุ่ ช่วยพฒั นาการเรยี นการรเู้ ปน็ ราบบคุ คล องคป์ ระกอบของกลมุ่ 1. ผู้นำ คือผู้ที่ทำหนา้ ทีเ่ ป็นผนู้ ำกลุ่มให้สามารถทำงานจนบรรลุเป้าหมายของกลมุ่ ได้ ส่วนหน่ึงข้ึนอยู่ กับความสามารถของผู้นำ หากกลมุ่ ใดมผี ู้นำท่ดี ี กล่มุ นัน้ กย็ อ่ มจะมโี อกาสประสบความสำเรจ็ 2. สมาชิกกลุม่ สมาชกิ กลมุ่ ทด่ี ีนั้น จำเปน็ ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ท่ีของตน โดยรู้ว่า ตนควรจะทำอะไรทีจ่ ะช่วยเอื้ออำนวยให้การทำงานเปน็ ทมี บรรลผุ ลสำเรจ็ 3. กระบวนการทำงาน คือ วิธีกลุ่มที่ใช้ในการทำงาน ผลงานของกลุ่มจะออกมาดีมากน้อยเพียงใด ข้นึ อยู่กบั วธิ ีการและขน้ั ตอนท่กี ลมุ่ ที่ใช้ในการทำงานดว้ ย หากกลมุ่ ใช้วิธกี ารทำงานที่เหมาะสมกับลักษณะงาน และลกั ษณะกลุม่ แลว้ ผลงานกม็ ักมคี ณุ ภาพตามไปดว้ ย ลำดบั ข้ันตอนการทำงาน 3.1 ทำความเขา้ ใจในเปา้ หมาย จุดมุง่ หมายของงาน 3.2 วางแผนปฏบิ ตั ิในรายละเอยี ด 3.3 แบ่งงานและมอบหมายงาน 3.4 ปฏิบตั ติ ามแผนงานและติดตามงาน 3.5 ประเมินผลและปรบั ปรุงงาน
20 สาระสำคญั ของหลักการใช้กระบวนการกลุ่มในชั้นเรียน 1. สอนโดยเน้นนกั เรียนเป็นสำคัญ 2. ยึดกลมุ่ เปน็ แหลง่ ความรู้ 3. เนน้ ใหน้ กั เรียนค้นคว้าและสรา้ งสรรค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง 4. เนน้ การใชก้ ระบวนการกลมุ่ 5. ให้ความสำคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย เพื่อนำมาใช้ควบคู่ เชื่อมโยง ผสมผสานรว่ มกบั กระบวนการกลมุ่
21 ตวั อยา่ งแผนการการสอนโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ หนว่ ยท่ี 1 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 3 จำนวน 3 ช่วั โมง สาระหน้าทพี่ ลเมืองฯ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง โรงเรยี นของฉัน รายวชิ าสงั คมศกึ ษา มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปัจจบุ ัน ยดึ มนั่ ศรทั ธาและธำรงรกั ษาไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 1. ความคิดรวบยอด โรงเรยี นมบี ุคคลตา่ ง ๆ รวมกนั อยูห่ ลายคน ได้แก่ ครู นกั เรยี น ภารโรง แม่ค้า การอยูร่ ่วมกัน จงึ ตอ้ งมีผ้บู รหิ ารโรงเรยี นใหเ้ ป็นระเบยี บเรยี บร้อย นอกจากมผี ู้อำนวยการโรงเรียนเป็นผู้บริหารโรงเรยี นทุก อยา่ งแล้ว ยงั มขี ้อตกลง กฎ กติกา ระเบียบ ให้ทุกคนถอื ปฏบิ ัตติ ามหนา้ ทท่ี รี่ บั ผิดชอบ เพ่ือให้ทุกคนใน โรงเรยี นอย่กู นั อยา่ งสงบสขุ นักเรียนทุกคนท่ีเขา้ มาอยโู่ รงเรยี น ต้องเคารพ และปฏบิ ัติตามกฎ กตกิ า และ ระเบียบของโรงเรยี น 2. ตวั ชว้ี ัด ระบผุ มู้ บี ทบาท อำนาจในการตัดสินใจในโรงเรียนและชุมชน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ − บอกผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจในโรงเรียนได้ − ปฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง กตกิ ากฎระเบยี บและหน้าทท่ี ่ีต้องปฏบิ ัติในชีวิตประจำวนั 4. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน − ความสามารถในการสื่อสาร − ความสามารถในการคิด − ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ − มวี ินยั 6. ค่านิยมหลกั 12 ประการ − เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย 7. สาระการเรียนรู้ − ขอ้ ตกลง กติกา กฎระเบียบ หน้าทีท่ ี่ตอ้ งปฏบิ ัตใิ นครอบครัวโรงเรยี นสถานที่สาธารณะ − ผมู้ ีบทบาทอำนาจในการตัดสนิ ใจในโรงเรยี นและชุมชน
22 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี 1 1. ครูให้นักเรียนชว่ ยกันแสดงความคิดเหน็ ว่าภายในโรงเรยี น มสี มาชกิ ประกอบไปดว้ ย ใครบ้าง 2. ครูชวนนกั เรียนสนทนาเกี่ยวกบั บทบาทของสมาชิก ภายในโรงเรยี น เชลล์ ผอู้ ำนวยการมีบทบาทหน้าทอี่ ย่างไร เป็นต้น 3. นกั เรียนร่วมมอื กนั อ่านหนงั สือ รายวชิ าพนื้ ฐานหน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการ ดำเนินชีวติ ในสังคมเศรษฐศาสตร์ และภูมศิ าสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ของ สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอ่ื ง โรงเรยี น ของฉนั 4. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นว่า สมาชิกภายในโรงเรยี นแต่ละคนมบี ทบาท และหน้าท่ตี ่างกนั อยา่ งไร และถา้ ใครคนใดคนหน่ึงไม่ปฏบิ ตั ติ อ่ หน้าท่ีของตนจะเกดิ อะไรข้ึน 5. ครูอธิบายถึงบทบาทของสมาชิกภายในโรงเรยี นเพ่ิมเตมิ 6. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปถึงบทบาทของสมาชิกภายในโรงเรียน ชั่วโมงท่ี 2-3 7. ครูใหน้ กั เรียนสำรวจเครอ่ื งเเตง่ กายของนกั เรียนวา่ วนั น้ีใครแต่งกายถูกระเบยี บและ ผิดระเบยี บอยา่ งไร 8. ครูใหน้ กั เรียนแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ กฎ กติกา ระเบยี บภายในโรงเรยี นท่ี นกั เรียนควรปฏบิ ตั ิ 9. นักเรียนแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 6 กลุ่มเท่าเทา่ กนั ตามความสมัครใจ และให้สมาชกิ ภายใน กลมุ่ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่องกฎกติการะเบยี บ ภายในโรงเรยี น มอี ะไรบ้างท่ี นกั เรยี นควรปฏบิ ัติ 10. ใหน้ ักเรียนทั้ง 6 กล่มุ จบั คู่สมาชกิ กลุ่มที่ 1 คกู่ บั สมาชิกกลุ่มท่ี2 , สมาชิกกลุ่มที่ 3 คู่ กับสมาชกิ กลุ่มที่ 4 และสมาชกิ กล่มุ ที่ 5 คูก่ ับสมาชิกกลมุ่ ที่ 6 หมนุ เวียนกันไปโดย ไม่ใหเ้ จอกลุ่มเดมิ เพ่ือแลกเปล่ียนความรู้ที่แต่ละกลมุ่ ไดแ้ สดงความคิดรว่ มกนั ในกลุ่ม ของตน 11. ครูอธิบายเพ่มิ เติมเก่ยี วกับกฎกตกิ าระเบยี บภายในโรงเรียน 12. ครมู อบหมายให้นกั เรียนทำใบงานที่ 3 เร่ือง “กฎ กตกิ า ระเบยี บที่ฉันปฏิบัติ” 13. ครเู รือ่ งนักเรยี น 4 – 5 คนออกมาสรปุ เร่อื งกฎกตกิ าระเบียบภายในโรงเรยี นมี อะไรบา้ งนักเรียนควรปฏิบัตทิ แ่ี ตล่ ะกล่มุ รว่ มกันเสนอความคิดเห็นครูคอยช้แี นะ
23 9. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. สอ่ื การเรยี นรู้ − หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานหนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม เศรษฐศาสตรแ์ ละภมู ศิ าสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 ของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ − ใบงานท่ี 3 เรื่อง “กฎ กตกิ า ระเบยี บท่ีฉนั ปฏบิ ัติ” 10. การวดั และประเมินผล รายการประเมนิ วธิ กี ารวดั และประเมินผล เคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล 1. ด้านความรู้ความ − สังเกต − แบบสังเกต เข้าใจ − ถามคำถาม − แบบประเมินผลงาน − ประเมินผลงานกลุม่ กลุม่ − ตรวจใบงาน − แบบสงั เกตพฤตกิ รรม รายบคุ คล − แบบประเมินใบงาน 2. ด้านคณุ ลักษณะอนั − สังเกตพฤตกิ รรมการ − แบบสงั เกตพฤตกิ รรม พึงประสงค์ ทำงานกลุม่ การทำงานกล่มุ 3. ด้านทกั ษะ − สงั เกตพฤตกิ รรมการ − แบบสงั เกตพฤติกรรม ทำงานกลุม่ การทำงานกลมุ่ 11. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมกลุ่มได้ระดบั คุณภาพ พอใช้ ขน้ึ ไป 12 – 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 – 7 คะแนน ปรับปรุง 2. แบบประเมนิ ผลงานกลมุ่ ได้ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ข้ึนไป 12 – 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1 – 7 คะแนน ปรับปรงุ 3. แบบประเมนิ ใบงานได้คะแนนร้อยละ 60 ข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์ 4. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคลไดร้ ะดับคุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป
24 12 – 15 คะแนน ดี 8 – 11 คะแนน พอใช้ 1–7 คะแนน ปรับปรงุ
25 การสอนแบบอภปิ ราย (Discussion Method) ความหมาย วธิ สี อนแบบอภิปราย หมายถึง การแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ซง่ึ กันและกันมุ่งเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดม้ โี อกาส ในการสนทนาเพอ่ื ชว่ ยในการแก้ปญั หาอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ระหว่างครกู ับนกั เรียน หรอื ระหวา่ งนักเรยี นกับ นักเรยี นโดยมีครูเปน็ ผูป้ ระสานงาน แทนท่คี รจู ะเปน็ ฝ่ายต้ังปญั หาคอยถามเดก็ ครตู ้องเปิดโอกาสใหน้ ักเรียน ซกั ถามบ้างและให้นกั เรยี นมีสว่ นช่วยตอบดว้ ย คือ ได้คิด ได้ทำ ไดแ้ กป้ ญั หา วิธีการสอนนี้จะชว่ ยส่งเสรมิ ให้ เดก็ คิดเปน็ พดู เปน็ และยงั เป็นการส่งเสรมิ ใหม้ ีการอยู่รว่ มกนั แบบประชาธิปไตย เปน็ การพัฒนาผู้เรยี น ทางด้านความรู้ และการทำงานเป็นกลุ่มดว้ ย(สพุ ิน บญุ ชูวงศ์ .2530:68) ความมุ่งหมาย 1.เพื่อเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้มีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น เป็นการพฒั นาทกั ษะใน ด้านการคิด และการพูด 2.เพือ่ ฝึกการทำงานเปน็ กลุ่ม เพอื่ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ของสมาชกิ ในกลุม่ ดว้ ย 3.เพื่อฝกึ การคน้ คว้าหาความรู้ เพื่อนำมาอธิบายกับเพ่อื น ๆ และอาจารย์ องค์ประกอบ 1.เรือ่ งหวั ข้อประเด็นปัญหาทจี่ ะอภปิ ราย 2.ผูอ้ ภิปรายและผู้ร่วมอภปิ ราย 3.กระบวนการอภปิ ราย 4.ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนหลงั การอภปิ ราย ประเภทของการอภปิ ราย การอภิปรายมรี ูปแบบหรอื ประเภทการจดั การอภิปรายหลากหลายรูปแบบอาทิเช่น • การอภิปรายเปน็ คณะ • การอภิปรายแบบฟอรมั่ • การอภิปรายแบบสัมมนา • การอภปิ รายแบบระดมสมอง • การอภิปรายแบบโต๊ะกลม • การอภิปรายแบบโต้วาที
26 ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ 1.ขัน้ ตอนการอภิปราย • กำหนดหัวขอ้ วตั ถปุ ระสงค์ รูปแบบอภิปราย • ผสู้ อนควรกำหนดบทบาทให้ผูเ้ รยี น • สื่อการเรยี น อาจจะเป็นเอกสารหรอื วัสดุต่างๆท่ีจำเปน็ • สถานท่ี อาจจะเปน็ ห้องเรยี นซง่ึ ผสู้ อนควรจัดโตะ๊ เก้าอใี้ ห้เหมาะสมกบั รปู แบบการอภปิ ราย 2.ข้ันบรรยาย • บอกหวั ขอ้ หรอื ปัญหาและวตั ถุประสงค์ • บอกเงอื่ นไขหลกั เกณฑ์ • ดำเนินการอภปิ ราย 3.ขน้ั สรปุ • สรุปผลการอภปิ ราย ผูแ้ ทนกล่มุ สรปุ ผลการอภิปรายแลว้ นำเสนอผลการอภปิ รายต่อที่ประชุม 4.ขนั้ สรุปบทเรยี น • ผ้สู อนและผู้รีเยนร่วมกันสรปุ สาระสำคัญและแนวคิดทีไ่ ดจ้ าการอภปิ ราย 5.ขั้นประเมินผลการเรียน • ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกนั นำขอ้ มูลไปใช้ในการปรับปรงุ การเรียนรู้ ข้อดี 1. ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนร้จู กั คดิ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ ส่งเสริมความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 2. ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลจากแหลง่ ความรู้ตา่ ง ๆ 3. ผ้เู รยี นไม่เบ่ือ เพราะมีการปฏบิ ตั ติ ลอดเวลาเรยี น ข้อจำกดั 1. ใชเ้ วลามากพอสมควร ถ้าใหโ้ อกาสผู้เรียนแสดงความคดิ เห็นอย่างทัว่ ถึง 2. ผเู้ รียนบางส่วนอาจไม่กลา้ แสดงความคิดเหน็ 3. ผู้สอนอาจเกิดความขบั ข้องใจ ถ้าการอภิปรายคร้ังน้นั ไมส่ ามารถสรปุ ผลในรูปทผ่ี ู้สอนปรารถนา
27 ตวั อยา่ งแผนการสอนรปู แบบการสอนแบบอภิปราย แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 จํานวน 2 ชัว่ โมง หน่วยท่1ี เรื่อง บทบาท หน้าที่ของรัฐบาล ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่6 สาระหน้าท่พี ลเมอื งฯ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธํารงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 1.ความคดิ รวบยอด รฐั บาลเป็นองค์กรของรัฐซ่ึงมคี ณะรฐั มนตรเี ปน็ ผู้ใชอ้ าํ นาจบริหารราชการแผ่นดิน รฐั บาลมบี ทบาทที่ สําคัญในการรักษาประโยชน์ของประชาชน รักษาเอกราชของชาติพฒั นาประเทศให้มคี วามเจริญ ก้าวหน้าใน ทุกดา้ น 2.ตวั ชี้วัด เปรยี บเทียบบทบาท หน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และรัฐบาล 3.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ บอกบทบาท หน้าท่ีของรัฐบาลได้ 4.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5.คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - รักชาตศิ าสนากษัตรยิ ์ - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งมั่นในการทาํ งาน - มีวนิ ยั 6.คา่ นิยมหลกั 12 ประการ - มีความรักชาตศิ าสนา พระมหากษัตรยิ ์
28 - ซื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในสง่ิ ทีด่ ีงามเพื่อส่วนรวม - ใฝ่หาความรู้หมนั่ ศกึ ษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม - เข้าใจเรียนรู้ การเป็นประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมขุ ที่ถูกต้อง - มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่ - มสี ติรู้ตัว รู้คิด รู้ทํา รู้ปฏิบตั ิตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั - คํานงึ ถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง 7.สาระการเรียนรู้ บทบาท หน้าทขี่ องรฐั บาล 8.ชิ้นงาน/หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ - ใบงานท่1ี .1 - ใบงานท่1ี .2 9.กิจกรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่1-2 1.ครนู าํ ภาพผลงานของรัฐบาล หรอื บทความเก่ยี วกบั ผลงานของรัฐบาลมาสนทนากบั นกั เรียน แล้วร่วมกันอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ในประเดน็ ดังนี้ - ผลงานที่สาํ คัญของรัฐบาลมีอะไรบ้าง - ผลงานของรฐั บาลส่งผลต่อประชาชนและประเทศชาติอย่างไร 2.ครเู ชอ่ื มโยงให้เหน็ ถึงความสําคญั ของการบริหารงานของรัฐบาลที่มีต่อประชาชนและประเทศชาติ 3.นกั เรยี นเข้ากลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน โดยมนี ักเรยี นเก่ง อ่อน และปานกลาง คละกัน ครกู าํ หนดให้ เลอื กประธาน และเลขานุการ ทเ่ี หลอื เป็นสมาชิกร่วมกันศึกษาความรู้เรอื่ งบทบาท หน้าท่ที ีส่ ําคญั ของ รัฐบาล จากหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปราย และสรุปบทบาท หน้าที่สําคัญของรัฐบาลลงในใบงานที่ 1.1 แบบสรุป บทบาทหน้าทีส่ าํ คญั ของรฐั บาล 4.สุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน นักเรียนกลุ่มอื่นที่มีความคิดเห็นแตกต่าง แสดงความคิดเห็นเพมิ่ เติม โดยครูคอยเพิ่มเติมให้มคี วามสมบูรณ์ถกู ตอ้ ง 5.นกั เรยี นทาํ ใบงานที่1.2 เรอื่ ง หน้าท่ขี องรัฐบาล 6.ครเู ฉลยคาํ ตอบใบงานท่ี1.2 ให้นักเรียนเปลีย่ นกันตรวจ 7.นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปบทบาทหน้าที่ของรัฐบาล
29 10.ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 1.สื่อการเรยี นรู้ - หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ - รูปภาพผลงานของรฐั บาล / บทบาทเก่ียวกับผลงานของรฐั บาล - ใบงานที่1.1 “สรปุ บทบาท หน้าที่สําคัญของรัฐบาล” - ใบงานท1่ี .2 เรอ่ื ง “หน้าท่ีของรฐั บาล” 2.แหล่งการเรยี นรู้ - ห้องสมดุ โรงเรียน - หอ้ งสมุดประชาชน - ทําเนยี บรัฐบาล 11.การวดั และประเมินผล วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งวดั และประเมินผล รายการประเมนิ - สังเกต - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกลุ่ม 1.ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ - ซกั ถาม - แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม - ประเมินผลงานกลุ่ม - ใบงาน 2.ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึง - ตรวจใบงาน ประสงค์ - สังเกตพฤตกิ รรมการทํางาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรมกลุ่ม 3.ดา้ นทักษะกระบวนการคิด กลมุ่ - แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม - ประเมินผลงานกลุ่ม - สงั เกตพฤติกรรมการทาํ งาน - แบบสงั เกตพฤติกรรมกลุ่ม กลมุ่ - แบบประเมินผลงานกลุ่ม - ประเมินผลงานกลุ่ม
30 วธิ กี ารสอนโดยใช้เกม (Game) ความหมาย วิธีการสอนโดยใชเ้ กม (Game) คอื กระบวนการท่ีช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนร้ตู ามวตั ถุประสงค์ โดย การใหผ้ เู้ รยี นเลน่ เกมตามกติกาและนำเนื้อหาและขอ้ มลู ของเกม พฤตกิ รรมการเลน่ วธิ กี ารเลน่ และผลการ เล่นเกมของผูเ้ รียนมาใช้ในการอภิปรายเพ่อื สรุปการเรียนรู้ (ทศิ นา แขมมณี, 2543) วัตถปุ ระสงค์ 1. ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อยา่ งสนกุ สนานและท้าทายความสามารถ 2. ทำให้เกิดประสบการณ์ตรง 3. เป็นวิธที ่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มสูง ขั้นตอนการสอน 1. ผู้สอนนำเสนอเกม ชี้แจงวธิ กี ารเล่น และกตกิ าการเลน่ เกม เกมที่ไดร้ ับการออกแบบให้เป็นเกม การศกึ ษาโดยตรงมีอยดู่ ้วยกนั 3 ประเภท คอื 1) เกมแบบไม่มกี ารแข่งขนั 2) เกมแบบแขง่ ขนั 3) เกม จำลองสถานการณ์ การเลอื กเกมเพือ่ นำมาใช้สอนทำได้หลายวธิ ผี ู้สอนอาจเปน็ ผู้สร้างเกมขึ้น หรือ อาจนำเกมทม่ี ผี ู้สรา้ งข้นึ แลว้ มาปรบั ดดั แปลงให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และควรช้แี จงกติกาการเลน่ เกมให้เขา้ ใจ 2. ผู้เรียนเลน่ เกมตามกติกา ผู้สอนควรติดตามสังเกตพฤติกรรมการเลน่ ของผู้เรียนอย่างใกลช้ ดิ และควร บันทึกขอ้ มลู ที่จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นของผเู้ รยี น 3. ผูส้ อนและผูเ้ รียนอภปิ รายผล ควรอภปิ รายผลเกีย่ วกับผลการเลน่ และวธิ ีการหรอื พฤตกิ รรมการเลน่ ของผู้เรียนที่ไดจ้ ากการสงั เกตจดบันทกึ ไว้ และในการอภปิ รายผลควรให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ การ ใชเ้ กมในการสอนโดยทั่ว ๆ ไป มวี ัตถปุ ระสงค์ดงั นี้ 1. ฝกึ ฝนเทคนิคหรือทักษะต่าง ๆ 2. เรียนรู้เนือ้ หาสาระจากเกม 3. เรียนรคู้ วามเปน็ จรงิ ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ดังนนั้ การอภิปรายควรมงุ่ ประเด็นไปตาม วตั ถุประสงค์ของการสอน ขอ้ ดแี ละขอ้ จำกัด ขอ้ ดี - ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรูส้ ูง - ผเู้ รยี นไดร้ ับความสนุกสนาน และเกดิ การเรยี นรู้จากการเล่น ข้อจำกดั - เปน็ วธิ ีการสอนท่ผี ู้สอนตอ้ งมีทักษะในการนำการอภิปรายที่มปี ระสิทธภิ าพ จงึ จะสามารถชว่ ยให้ ผู้เรียนประมวลและสรปุ การเรียนรู้ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์
31 ตวั อยา่ งแผนการสอนวิธกี ารสอนโดยใชเ้ กม หนว่ ยที่ 1 เร่ือง วันหยุดราชการ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 จำนวน 3 ชั่วโมง สาระหนา้ ทีพ่ ลเมอื งฯ รายวิชาสงั คมศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบัตติ นตามหนา้ ท่ขี องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านิยมที่ดีงาม และธาํ รงรกั ษา ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวิตอย่รู ่วมกนั ในสังคมไทย และสังคมโลกอยา่ ง สนั ตสิ ุข 1. ความคดิ รวบยอด ในหนง่ึ ปมี ีวนั หยุดราชการหลายวนั ซึ่งเปน็ วันสำคัญเกีย่ วกับ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และวนั หยุดเกีย่ วกบั ประเพณีและวฒั นธรรมไทย 2. ตัวช้ีวัด อธบิ ายความสำคญั ของวนั หยุดราชการที่สำคัญ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ บอกสำคัญของวนั หยดุ ราชการท่ีสำคญั ได้ 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - ซ่ือสตั ย์ สุจรติ - มีวนิ ัย - ใฝ่เรยี นรู้ - มงุ่ มนั่ ในการทำงาน - อยู่อย่างพอเพียง - รกั ความเปน็ ไทย - มีจิตสาธารณะ 6. ค่านิยมหลกั 12 ประการ - มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ - ซ่อื สัตย์ เสียสละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในสงิ่ ท่ีดงี ามเพอ่ื ส่วนรวม
32 - กตญั ญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์ - ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเล่าเรียนทง้ั ทางตรง และทางออ้ ม - รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณไี ทยอนั งดงาม - มศี ีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผอู้ น่ื เผอ่ื แผแ่ ละแบง่ ปนั - มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูน้ ้อยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่ - มีสตริ ู้ตัว รูค้ ดิ รทู้ ำ รู้ปฏิบตั ิตามพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั - คำนึงถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาตมิ ากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง 7. สาระการเรียนรู้ วนั หยดุ ราชการท่ีสำคัญ 8. ช้นิ งาน/หลักฐานรอ่ งรอยแสดงความรู้ เกมพาพวี่ นั หยุดกลับบา้ น 9. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-3 1. ครูชวนนักเรยี นพูดคยุ ถงึ วันหยุดราชการทเ่ี พิ่งผา่ นมา หรอื วนั หยุดราชการทีใ่ กลจ้ ะมาถึง 2. ครใู ช้คําถามกระตุ้นความคิดของนักเรยี นโดยใช้คําถามวา่ นักเรยี นคดิ ว่าวันหยดุ ราชการที่ ผ่านมามคี วามสำคญั อย่างไร 3. ครกู ล่าวชน่ื ชมนกั เรียนทีร่ ่วมแสดงความคิดเหน็ หรอื หากยงั ไมม่ นี กั เรียนรว่ มแสดงความ คิดเหน็ ได้ ครูอาจยกตัวอย่างคําตอบใหน้ กั เรยี นเพ่ือชว่ ยในการคดิ หาคําตอบ 4. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ เกี่ยวกับ วันหยดุ ราชการ 5. ให้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม 3 กลุ่ม ตามความสมคั รใจและร่วมกันศกึ ษาวนั หยดุ ราชการตามหัวขอ้ ต่อไปนี้ - วนั สำคัญเกยี่ วกบั ชาติ - วนั สำคญั เกยี่ วกับศาสนา - วนั สำคัญเก่ยี วกบั ประเพณี จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน หนา้ ท่ีพลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการโดยให้สมาชกิ ในกลุ่มแบ่งกันอ่านวนั สำคัญต่างๆ จากในหนังสือให้เพ่ือน ในกลมุ่ ฟัง 6. ครูให้ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ออกมาสรุปความร้ทู ่ไี ดจ้ ากการทำกิจกรรมกลุม่ หน้าชน้ั เรยี นให้เพอื่ น กลุ่มอนื่ ฟงั 7. ครูเลน่ กจิ กรรม...พาพี่วนั หยุดกลบั บ้าน 8. ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ 3 กลุ่มตามเดิม โดยมกี ตกิ าของกจิ กรรม ดงั นี้
33 - ครูแจกชดุ กิจกรรมกลมุ่ ละ 1 ชดุ โดยชดุ กจิ กรรมจะประกอบด้วย บตั รคำ วันหยดุ ราชการตา่ ง ๆ และบ้านจำลองประเภทของวันหยดุ - ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ แยกวันหยุดต่างๆให้สอดคล้องกบั ประเภทของวนั หยุด (แนวคำตอบ: วนั มาฆบูชา ; วนั สำคญั เก่ยี วกับศาสนา) - ครูจับเวลา 5 นาที - กลุ่มใดเสรจ็ แล้วใหย้ กมอื เพ่อื ให้ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ ง - กลุ่มใดถูกต้องเป็นกลุม่ แรกกล่มุ น้นั เป็นผู้ชนะ 9. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุป ความสำคญั ของวนั หยดุ ราชการ เพิม่ เติมจากทนี่ ักเรยี นไดอ้ อกมา นําเสนอหนา้ ชั้นเรยี น 10. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. สือ่ การเรยี นรู้ - หนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน หนา้ ทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม เศรษฐศาสตร์ และภมู ศิ าสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ของคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร - เกม พาพว่ี ันหยดุ กลับบา้ น 2. แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด - อินเทอรเ์ นต็ - ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น 11. การวัดและการประเมินผล รายการประเมนิ วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล 1.ด้านความรคู้ วามเข้าใจ - สงั เกต - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกลมุ่ - ซกั ถาม - แบบประเมนิ ผลงานกลมุ่ - ประเมนิ ผลงานกลุ่ม - แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล - ตรวจใบงาน - ใบงาน 2.ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึง - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกลมุ่ ประสงค์ - ประเมินผลงานกลุ่ม - แบบประเมินผลงานกลมุ่ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 3.ด้านทักษะกระบวนการคิด - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมกลุ่ม - ประเมนิ ผลงานกลมุ่ - แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม - แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
34 12. เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุม่ ไดร้ ะดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป - 12 – 15 คะแนน ดี - 8 – 11 คะแนน พอใช้ - 1 – 7 คะแนน ปรับปรงุ 2. แบบประเมินผลงานกลุ่มไดร้ ะดบั คุณภาพพอใชข้ ้ึนไป - 12 – 15 คะแนน ดี - 8 – 11 คะแนน พอใช้ - 1 – 7 คะแนน ปรับปรงุ 3. ประเมินใบงาน ได้คะแนนตัง้ แต่ร้อยละ 60 ข้นึ ไป ผ่านเกณฑ์ 4. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ไดร้ ะดับคุณภาพพอใชข้ นึ้ ไป - 12 – 15 คะแนน ดี - 8 – 11 คะแนน พอใช้ - 1 – 7 คะแนน ปรบั ปรุง
35 เกม พาพ่ีวนั หยดุ กลบั บา้ น วนั สาคญั เกยี่ วกบั ศาสนา วนั สาคญั เกยี่ วกบั ชาติ วนั สาคญั เกย่ี วกบั ประเพณี วนั มาฆบูชา วนั จกั รี วนั สงกรานต์ วนั ขน้ึ ปี ใหม่ วนั อดิ ล้ิ อฎั ฮา วนั วสิ าขบูชา วนั แม่แห่งชาติ วนั รฐั ธรรมนูญ วนั เดก็ แหง่ ชาติ วนั ครู วนั อาสาฬหบชู า วนั ปิยมหาราช
36 เฉลย เกม พาพี่วนั หยดุ กลบั บา้ น วนั สาคญั เกย่ี วกบั ศาสนา วนั สาคญั เกยี่ วกบั ชาติ วนั สาคญั เกย่ี วกบั ประเพณี วนั มาฆบูชา วนั จกั รี วนั สงกรานต์ วนั วสิ าขบูชา วนั แมแ่ ห่งชาติ วนั ขน้ึ ปีใหม่ วนั อดิ ล้ิ อฎั ฮา วนั ปิยมหาราช วนั ครู วนั อาสาฬหบชู า วนั รฐั ธรรมนูญ วนั เดก็ แห่งชาติ
37 บรรณานกุ รม ชนกานต์ สมานมติ ร.(2564). วิธกี ารสอนแบบอภปิ ราย. สบื ค้นเมอื่ 11 พฤศจิกายน 2564,จาก https://blog.nsru.ac.th/60111806020/4252 นติ ยา. (2558). การจดั การเรียนรู้แบบอปุ นัย (Induction Method). สืบคน้ เมื่อ 11 พฤศจกิ ายน 2564, จาก http://017nittaya56.blogspot.com/2015/08/induction-method.html นุชรี โลพะกุล. (2564). เทคนคิ การสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม. สบื ค้นเมอ่ื 12 พฤศจกิ ายน 2564 จาก http://krunucharee3011.blogspot.com/p/17.html เพชรี พนั ธภาพ. (2564). วิธกี ารสอนโดยใชเ้ กม. สืบค้นเม่อื 12 พฤศจกิ ายน 2564 จาก https://bow17052536.wordpress.com/2015/03/14/วิธกี ารสอนโดยใชเ้ กม-game/ สนิ นุม่ พรม. (2564). การจัดการเรียนรูแ้ บบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing). สืบคน้ เม่อื 12 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.gotoknow.org/posts/506108?fbclid=IwAR1p2afJCqohz8h3- iwzaXaRk1P9W8Qailzwk3ymqAuZHgqwPRN-rIIiQdk
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: