0
1 รอฟิเฎาะฮคฺ ือใคร อุละมาอฺอุศูลได้ต้ังกฎกตกิ าไว้ว่า “การวินิจฉัยชี้ชัดส่ิงหนึ่งส่ิงใด ถือเป็นส่วนหนึ่งของทศั น วิสัยต่อส่ิงนั้น” หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เราไม่สามารถช้ีชัดฟั นธงส่ิงใดส่ิงหนึ่ง จนกว่าเราจะรู้แจ้ง เหน็ จริงส่ิงนน้ั อย่างชัดเจนดว้ ยปัญญาของตนเองอยา่ งทะลปุ รุโปรง่ เสยี ก่อน เช่นเดียวกันกับกรณี รอฟิเฎาะฮฺ ก่อนที่เราจะตดั สินว่ากลุม่ ลัทธิน้ีจะผิดถูกอย่างไร เราควร ตอ้ งศกึ ษาอย่างละเอยี ดถถี่ ้วนเสยี กอ่ นว่ารอฟิเฎาะฮคฺ อื ใคร อะไรคอื แกน่ แกนคาสอนของพวกเขา หลักอะกีดะฮฺและหลักชะรีอะฮของพวกเขามีประวัติความเป็นมาอย่างไร อะไรคือเป้าหมายและ ความใฝ่ฝั นสูงสุดของพวกเขา สภาพปั จจุบันของพวกเขาเป็นอย่างไร ส่ิงเหล่านี้คือโจทย์สาคัญ และกุญแจหลักทีเ่ ราจะไขปัญหาต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถูกทางมากขึน้ ก่อนอื่น ต้องขอเรียนว่า บางครง้ั ผู้เขียนใช”้ รอฟิเฎาะฮ”ฺ แทนคาว่า”ชีอะฮฺ” ซึง่ คดิ วา่ ท่านผู้อา่ นคงจะเข้าใจเจตนารมณ์ของผูเ้ ขียนได้ เมอ่ื อ่านบทความนจี้ นจบครับ ความจริงมนั ไม่ใช่เป็นปัญหาทางภูมิศาสตร์ ชาตพิ ันธุ์ หรอื ปัญหาดา้ นพรมแดนกบั ประเทศ เพื่อนบ้านตามท่ีหลายคนเข้าใจ แต่เป็นปั ญหาท่ีได้หย่ังลึกจนกระทบถึงแก่นแกนทางอะกีดะฮฺ ชะรอี ะฮแฺ ละประวัตศิ าสตร์ทีเ่ ราต้องหวนกลับศกึ ษารากเหง้าของปัญหาท้งั 3 ประเดน็ นอี้ ย่างเข้าถึง จรงิ ๆ นักประวัติศาสตร์ได้มีทัศนะที่หลากหลายว่า ชีอะฮฺมีจุดเร่ิมต้นอย่างไร แต่เกือบทุกทัศนะ เห็นพ้องกันว่าหลังจากฟิตนะฮฺการฆาตกรรมท่านอุษมาน บินอัฟฟาน ชาวมุสลิมยุคน้ันได้แตก ออกมาเป็นสองขั้วใหญ่ๆ(ถึงแม้มีกลุ่มน้อยท่ีไม่ฝั กใฝ่ฝ่ายใดก็ตาม) ข้ัวแรกเป็นกลุ่มท่ีสนับสนุน อะลีเป็ นเคาะลีฟะฮฺ ซ่ึงถือเป็นกลุ่มส่วนใหญ่ ส่วนข้ัวท่ีสองสนับสนุนท่านมุอาวิยะฮฺที่ปั กหลักท่ี เมืองชาม แต่ท้ังน้ีไม่ได้หมายความว่ากลุ่มที่สนับสนุนท่านอะลี คือกลุ่มที่มีหลักอะกีดะฮฺและชะ รีอะฮฺท่ีเหมือนกับกลุ่มชีอะฮฺในปัจจุบัน ประเด็นที่เป็นข้อขัดแย้งระหว่างสองกลุ่มนี้คือประเด็นทาง การเมืองและที่มาของอานาจการปกครองเท่าน้ัน ท้ง้ั สองฝ่ายยังยึดม่ันตามหลักการชาวสุนนะฮฺ ทกุ ประการ และท่านอะลกี ไ็ ม่ได้ เรียกร้องและเชิญชวนสู่อะกีดะฮฺและชะรีอะฮฺใหม่ตามความเช่ือของชีอะฮฺยุคปั จจุบัน แม้กระท่ังชาวสุนนะฮฺส่วนใหญ่ในยุคน้ันจนถึงยุคนี้ก็เห็นว่า ฝ่ายอะลีมีความชอบธรรมมากกว่า ฝ่ายมุอาวิยะฮฺด้วยซ้า ชาวสนุ นะฮฺ ยงั รักและชื่นชมท่านและครอบครวั ท่านเหมือนเศาะฮาบะฮฺท่าน อนื่ ๆ ตัง้ แต่อดตี จนถึงปัจจุบันพวกเขาไดข้ อบะเราะกะฮจฺ ากอัลลอฮฺดว้ ยการตัง้ ชื่อลกู หลานตามช่ือ
2 ของท่านและลูกหลานของท่านเสมอมา น่ีคือจุดยืนของชาวสุนนะฮฺท่ีไม่เคยแปรเปล่ียน ในขณะ เดียวก็เห็นว่าฝ่ายมุอาวิยะฮฺก็ได้อิจญ์ติฮาดแล้ว แต่การอิจญ์ติฮาดของเขาอาจพลาดพล้ังไป ซ่ึง ตามหลักการแล้ว เมื่อมุจญ์ตะฮิดได้อิจญ์ติฮาดในประเด็นหน่ึง หากเขาถูก เขาจะได้ผลบุญสอง เท่า คือผลบุญของการอิจญ์ติฮาดและผลบุญของความถกู ต้อง ส่วนผู้ที่อิจญ์ติฮาดพลาดพล้งั ไป เขาจะได้รับเพียงผลบุญเดียวคือผลบุญของการอิจญ์ติฮาดเท่านั้น ท่านมุอาวิยะฮฺจึงเข้าข่ายของ ผู้อิจญ์ติฮาดที่พลาดพล้ัง เราจึงขอดุอาให้อัลลอฮฺทรงอภัยโทษในความผิดพลาดของเขา เราไม่ ควรไปวิพากษ์วิจารณ์ท่านในทางท่ีเสียหาย แต่ในขณะเดียวกันเราก็ไม่ปั กใจเชื่อว่าพวกเขาเป็น กลุ่มชนที่มะอศฺ มู (ได้รับการปกป้องไม่ใหก้ ระทาบาปเหมือนบรรดานบี) พวกเขาคือมนุษยป์ ุถุชนท่ีมี ทั้งถูกต้องและพลาดพลั้ง แต่ความประเสริฐของพวกเขาย่ิงใหญ่กว่าและสามารถลบล้างความ ผิดพลาดของพวกเขาได้ พวกเขาคือประชาชาติที่ได้ผ่านพ้นไปแล้ว แต่ละคนก็ได้รับผลการตอบ แทนจากอัลลอฮฺอยา่ งยุติธรรมที่สุด ทั้งการกระทาที่ดีและไม่ดี แล้วเราเป็นใครท่ีหาญกล้าฟั นธงว่า ใครผิดใครถูก ในขณะที่เราเพ่ิงเกิดมาตามหลังพวกเขาเป็นพันๆปี หากการบริจาคทานของเรามี จานวนมากมายก่ายกองเท่ากับโลกน้ีทั้งใบ ยังไม่สามารถเทียบได้กับการบริจาคของพวกเขาเท่า อุ้งมือ ท่านเคาะลีฟะฮฺอุมัร บินอับดุลอะซีส เราะหิมะฮุลลอฮฺได้กล่าวว่า “อัลลอฮฺได้ทาให้มือของ เราปลอดภัยจากการหลั่งเลือดพวกเขา ดังน้ันเราจึงมีความจาเป็นท่ีต้องรักษาล้ินของเรามิให้ใส่ ร้ายเกียรตศิ ักดิศ์ รขี องพวกเขา” เพราะการรักพวกเขาคือสัญลักษณ์ของอีมาน ในขณะท่ีชิงชังและ เคยี ดแคน้ พวกเขาคอื อัตลักษณข์ องชาวมุนาฟิกและซินดกี (ผู้บดิ เบอื น) สรุปแล้ว ชีอะฮฺตามสภาพความเป็นจริงในปั จจุบัน ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับท่านอะลีเลย และท่านอะลีก็ไม่มีส่วนเก่ียวข้องใดๆ กับหลักอะกีดะฮฺและหลักชะรีอะฮฺของลัทธิกลุ่มน้ี ชีอะฮฺอะลี ยุคแรกคือกลุ่มที่สนับสนุนท่านอะลีและเห็นว่าท่านอะลีมีความเหมาะสมกับตาแหน่งเคาะลีฟะฮฺ มากกว่าท่านมุอาวียะฮฺ ทั้งสองฝ่ายนี้มีความขัดแย้งประเด็นทางการเมืองและท่ีมาของอานาจ ทางการปกครองเท่าน้ัน ไม่ได้ขัดแย้งด้านอะกีดะฮฺและชะรีอะฮฺแต่ประการใด ชีอะฮฺอะลีในยุคแรก คือชาวสุนนะฮฺที่สนับสนุนอะลีในประเด็นความเหมาะสมการเป็นเคาะลีฟะฮฺเท่านั้น ไม่ใช่เหมือน ชอี ะฮทฺ ี่ผดิ เพยี้ นไปจากหลักการอสิ ลามเหมอื นปัจจุบนั นักประวัติศาสตร์บางคนมีทัศนะว่า ชีอะฮฺ เร่ิมต้นหลังจากฆาตกรรมท่านฮุเซ็น บินอะลี เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ซ่ึงเป็ นทัศนะที่มีความเป็ นไปได้สูงมาก หลังจากท่ีท่านฮุเซ็นได้ออกจาก มะดนี ะฮสฺ ู่อีรคั ตามคาเชญิ ชวนของกลุ่มท่สี นับสนุนท่าน แต่เมอ่ื ถึงที่เมืองกรั บาลา พวกเขาได้กลับ ลอยแพท่านหุเซ็นให้เผชิญหน้ากับกองกาลังฝ่ายตรงกันข้ามอย่างโดดเด่ียว เป็นผลทาให้ท่าน ฮเุ ซ็นถูกฆ่าอย่างทารณุ บรรดาผูส้ นบั สนุนท่านจึงมีจุดยืนตอ่ ตา้ นราชวงศอ์ มุ ะวียะฮฺ และมีมติออก
3 จากการสวามิภักดิ์ต่อราชวงศ์นี้ ในช่วงน้ีเกิดสงครามบ่อยคร้ัง ทาให้สูญเสียชีวิตของแต่ละฝ่าย มากมาย มีการกล่าวถึงคาว่า ชีอะฮฺ กันอย่างแพร่หลาย และกลุ่มนี้มีความผูกพันกับท่านฮุเซ็น มากกว่าท่านอะลีด้วยซ้า ดังที่เราเห็นในปัจจุบันที่พวกเขาจัดพิธีกรรมราลึกการเสียชีวิตของท่าน ฮุเซ็นอย่างเอิกเกริกใหญ่โตพร้อมบทราพึงราพันมากมายตลอดจนร้องห่มร้องไห้ ทุบตี ทรมาน ตัวเองเสมือนคนบ้าคลั่ง ทั้งๆ ที่พวกเขาไม่เคยจัดพิธีกรรมเช่นนี้ เพ่ือราลึกถึงการเสียชีวิตของ ท่านอะลีเลย แม้กระทั่งท่านหะซัน บินอะลีที่อาจกล่าวได้ว่าแทบหลุดวงจรท่ีไม่ค่อยได้รับการ กล่าวถึงในแวดวงชีอะฮยฺ ุคนี้เลย การตัดสนิ ใจของท่านฮเุ ซน็ สเู่ มอื งอรี ัค นบั เป็นประเดน็ ใหญ่ทเ่ี ราควรพดู ถงึ เป็นอย่างย่งิ ตามอะกีดะฮฺของชาวรอฟีเฎาะฮฺมีความเชื่อว่าบรรดาอิมามเป็ นมะอฺศูม การตัดสินใจของ อิมามไมเ่ คยผิดพลาดและพวกเขาสามารถหยั่งรู้ฟ้าดนิ จนสามารถรบั รู้วันตายของตัวเองดว้ ยซ้า การตดั สนิ ใจของท่านฮเุ ซน็ สู่เมอื งอรี คั มีสาเหตุมาจาก 2 กรณีเท่านน้ั คือ 1. เนอื่ งจากการตัดสินใจอันเด็ดเดี่ยวของทา่ น 2. เน่อื งจากเป็นคาววิ รณ(์ วะฮยฺ ู) ที่เป็นคาสัง่ จากอัลลอฮฺ หากเป็นกรณีแรกการตัดสนิ ใจของท่านเป็นการตดั สนิ ใจท่ีมะอศฺ มู (ตามความเช่ือของลทั ธิ รอฟิเฎาะฮฺ) แล้วเราจะไปเสียอกเสียใจกับผลของการตัดสินใจท่ีถูกต้องของอิมามไปทาไม ท่าน อิมามสามารถทานายอนาคตมิใช่หรือ แล้วด้วยเหตุผลประการใดท่ีอิมามยังเข้าไปในอีรัคด้วย ความตั้งใจอันเด็ดเดยี่ วทงั้ ๆ ทร่ี อู้ ย่เู ตม็ อกแลว้ วา่ จะลงเอยด้วยรปู แบบใด หากเป็ นกรณีที่สอง ทุกอย่างก็จบ เพราะมุสลิมไม่มีสิทธิ์แสดงปฏิกิริยาใดๆ ต่อคาส่ัง ของอลั ลอฮนฺ อกจากยอมจานนและยอมรับดว้ ยความบรสิ ุทธิใ์ จเท่าน้ัน เขาไม่สามารถตโี พยตพี าย หรือแสดงอาการไม่พอใจต่อคาตัดสินของอัลลอฮฺโดยเด็ดขาด หาไม่แล้ว เขาจะถูกผนวกรวมเข้า ไปเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มชนท่ีไม่ศรัทธาต่อเกาะฏอและกอดัรของอัลลอฮฺเลยทีเดียว มุสลิมทุกคน ถูกสั่งใช้ให้ค้นหาวิธีการใดๆก็ได้ที่ถูกต้องเพื่อประกันความปลอดภัยของตนเอง หากเกิดส่ิงดี เขา ควรชุโกร์ และหากเกิดส่ิงท่ีไม่ดี เขาควรศอบัรและมอบหมายแด่อัลลอฮฺสุบฮานะฮูวะตะอาลา ไม่ ควรราพึงราพันเสียใจร่าไห้กับส่ิงที่เกิดข้ึนมาแล้วนานนับพันๆปี ที่แม้แต่คนไม่เชื่อในพระเจ้าก็ยัง ไมท่ าเยีย่ งนี้ สรุปแล้ว กลุ่มชนที่แปรพักต์ออกจากการสวามิภักดิต์ ่อราชวงศ์อุมะวียะฮฺคือกลุ่มชนท่ีมี ความคิดเห็นที่ขัดแย้งทางการเมืองเท่าน้ัน พวกเขายังยึดม่ันในหลักการอะกีดะฮฺและหลักชะรีอะฮฺ
4 เฉกเช่นชาวสุนนะฮฺทกุ ประการ แม้กระทั่งบรรดาอิมามยุคแรกๆ ที่ชาวชีอะฮฺยกย่องว่าเป็นทายาทที่ สบื ทอดจากทา่ นอะลกี ็ไม่ใช่ใครอื่น นอกจากเป็นกลมุ่ ชนยคุ เศาะฮาบะฮ์และยุคตาบิอนี ทีย่ ึดม่ันกับ หลักพืน้ ฐานของชาวสนุ นะฮฺทกุ ประการ หลังจากกการชะฮีดของท่านฮุเซ็น เหตุการณ์เร่ิมคล่ีคลายกลับสู่ภาวะปกติในระดับหน่ึง ในช่วงน้ีลูกชายของท่านคือ อะลีซัยนุลอะบีดีน บิน ฮุเซ็นมีความโดดเด่นมาก ท่านเป็นคนอาลิมท่ี ใช้ชวี ิตอยา่ งสมถะ ไมเ่ คยปรากฏรอ่ งรอยที่บง่ บอกว่าทา่ นมที ศั นะขัดแย้งกับบรรดาเศาะฮาบะฮฺและ ตาบิอนี ในประเด็นอะกดี ะฮฺและชะรีอะฮฺเลย ท่านอาลีซัยนุลอาบิดีนมีบุตรชาย 2 คนท่ีเป็ นคนอาลิมและตักวา คนหนึ่งช่ือมุฮัมมัด อัลบากิร และอีกคนชื่อ ซัยด์ ท่านทั้งสองมีทัศนะเดียวกันกับบรรดาเศาะฮาบะฮฺและตาบิอีน มี เพียงประเด็นเดียวที่ ซัยด์ มีทัศนะว่าท่านอะลี บิน อะบีฏอลิบเป็ นผู้ท่ีมีความเหมาะสมได้รับ ตาแหน่งเป็นเคาะลีฟะฮฺมากกวา่ ท่านอะบูบักร์ อุมัรและอุษมาน แต่ทั้งน้ีไม่ได้หมายความว่าซัยด์ มี หลักอะกีดะฮฺที่ต่างกับบรรดาเศาะฮาบะฮฺ ท่านได้ยอมรับการเป็นเคาะลีฟะฮฺของเศาะฮาบะฮฺทั้ง 3 ท่าน แต่เห็นว่าท่านอะลีมีความเหมาะสมกว่าเท่านั้น เพราะท่านเช่ือว่า ในบางกรณี อนุญาตให้ แต่งตั้งผู้นาท่ีมีความประเสริฐน้อยกว่าถึงแม้จะมีผู้นาที่มีคุณสมบัติที่ประเสริฐกว่าก็ตาม ส่วนใน ประเดน็ อ่นื ๆ ทา่ นซยั ดม์ คี วามเหน็ พอ้ งกนั กับเศาะฮาบะฮฺและตาบอิ ีนทกุ ประการ ซัยด์ บิน อะลีซัยนุลอาบีดีน ได้ตัดสินใจไม่สวามิภักดิต์ ่อราชวงศ์อุมาวียะฮฺตามรอยปู่ของ ท่าน (ฮุเซน็ ) เช่นเดียวกนั จนกระทั่งท่านถกู ฆาตกรรมเสยี ชวี ิตในปี 122 ฮ.ศ. บรรดาสานุศิษย์ของ ท่านได้รเิ ร่ิมกอ่ ตัง้ สานกั แนวคดิ ตามแนวคดิ ของทา่ นที่รูจ้ ักในนาม สานกั คิดซัยดยี ะฮฺ ซง่ึ เป็นสานัก คิดที่ใกล้เคียงกับชาวสุนนะฮฺมากที่สุด เว้นแต่ประเด็นเดียวเท่านั้นคือพวกเขาเช่ือว่าท่านอะลี บินอะบีฏอลิบ มีความประเสริฐและเหมาะสมกว่าเคาะลีฟะฮฺทั้ง 3 สานักคิดซัยดียะฮฺมีอยู่ แพรห่ ลายในประเทศเยเมนปัจจบุ นั ช่วงท่ีท่านซัยด์ บินอะลีมีชีวิตอยู่ มีบรรดาสานุศิษย์กลุ่มหนึ่งได้ถามท่านเกี่ยวกับอะบูบักร์ และอุมัร ท่านจึงได้กล่าวพรท้ังสองด้วยคาดุอาที่ดี แต่สานุศิษย์กลุ่มนี้ได้ปฏิเสธแนวคิดของท่าน และได้ปฏิเสธทจี่ ะกลา่ วพรตอ่ อะบูบักร์และอมุ ัร กลุ่มน้ีจึงถูกเรียกภายหลังว่า รอฟิเฎาะฮฺ หมายถึง กลุ่มชนท่ีปฏิเสธ หมายถึง ปฏิเสธแนวคิดของท่านซัยด์ และในขณะเดียวกันก็ปฏิเสธการเป็นผู้นา ของทา่ นอะบบู กั ร์และอุมัร กลุม่ นไี้ ดแ้ ผ่อิทธิพลอย่างกวา้ งขวางและเป็นตน้ ตารับของลทั ธิอิมาม 12 ซ่ึงเป็นลัทธิท่ีครองอานาจในอิหร่าน เลบานอน และแผ่ขยายอย่างกว้างขวางในประเทศอาหรับ และโลกมุสลิมในปั จจุบัน นับแต่นั้นเป็ นต้นมา พวกเขาจึงส้ินสภาพของการเป็นชีอะฮฺอะลีทุก ประการ แต่ช่ือท่ีมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับแนวคิดและอะกีดะฮฺของพวกเขาคือ
5 รอฟิเฎาะฮฺ หมายถึง ผู้ปฏิเสธแนวคิดของท่านซัยด์ และปฏิเสธการเป็นผู้นาของท่านอะบูบักร์และ อุมรั น้นั เอง ท่านมุฮัมมัด อัลบากิรได้เสียชีวติ ปี ฮ.ศ. 114 ลูกชายของท่านคนหนึ่งชื่อ ญะฟั ร อัศศอดกิ ถือเป็ นอุละมาอฺที่ย่ิงใหญ่ ท่านได้ยืนหยัดบนหลักอะกีดะฮฺและชะรีอะฮฺตามครรลองของบรรดา เศาะฮาบะฮแฺ ละตาบิอีนทุกประการ ในช่วงปลายราชวงศอ์ ุมะวียะฮฺ เกดิ ขบวนการโค่นล้มรัฐบาลนาโดยกลุ่มตระกลู อับบาสียะฮฺ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มท่ีแปรพักต์ออกจากซัยด์ บินอะลีซัยนุลอาบิดีน ด้วยการใช้แผน แยกกันเดินร่วมกันตี ทาให้พวกเขาสามารถโค่นล้มราชวงศ์อุมะวียะฮฺได้สาเร็จเมื่อปี ฮ.ศ.132 แต่ อาศัยความเจนจัดทางการเมืองท่ีเหนือกว่า ทาให้อะบุลอับบาส อัสสัฟฟาหฺชิงความได้เปรียบ สถาปนาตนเองเป็นเคาะลีฟะฮฺ และหลังจากที่เขาเสียชีวิต อะบูญะอฺฟั ร อัลมันศูร น้องชายของ อะบุลอับบาสได้รับการแต่งต้ังเป็ นเคาะลีฟะฮฺแทน และได้กลายเป็ นต้นกาเนิดของราชวงศ์ อับบาสียะฮฺในเวลาต่อมา สร้างความไม่พอใจแก่กลุ่มแนวร่วมท่ีเคยเคียงบ่าเคียงไหล่ โค่นล้ม รัฐบาลมาตั้งแต่ต้น กลุ่มน้ีต้องการให้ลูกหลานของอะลี บินอะบีฏอลิบเป็นเคาะลีฟะฮฺ พวกเขาจึง รวมตัวปฏิวัติรัฐบาลโดยใช้ชื่อว่า อัฏฏอลิบิยยูน (มาจากอะลี บินอะบูฏอลิบ) เพื่อประกาศจุดยนื ที่ อยู่ฝ่ายตรงกนั ข้ามกบั อับบาสยิ ยูน (มาจากอบั บาส บนิ อบั ดุลมุฏฏอลิบ ผเู้ ป็นศกั ดิเ์ ป็นอาของนบี) ญะอฺฟั ร อัศศอดิกได้เสียชีวติ เม่ือปี 148 ท่านมีลูกชายทอี่ าลิมเช่นกนั ช่ือ มูซา อัลกาซิมซง่ึ ไดเ้ สยี ชวิตในปี 183 หลังจากนน้ั มซู าอรั ริฎอลูกชายของอัลกาซมิ ขึ้นเป็นทายาทรบั ช่วงตอ่ สมยั การปกครองของเคาะลีฟะฮฺอลั มะมนู ทา่ นไดด้ าเนินนโยบายเรยี กคะเเนนนยิ มกับกลุ่ม อัฏฏอลิบิยยูน เพ่ือลดกระแสการต่อต้านรัฐบาล เขาจึงแต่งตั้งมูซา อัรริฎอเป็ นผู้สืบทายาท เคาะลีฟะฮฺ ทาให้ฝ่ายของราชวงศ์อับบาสียะฮฺไม่พอใจมาก และเป็นเหตุให้อัรั ริฎอเสียชีวิตอยา่ งมี เง่ือนงา กลุ่มอัฏฏอลิบิยยูนจึงกล่าวหาเคาะลีฟะฮฺอัลมะมูนว่าเป็ นผู้อยู่เบ้ืองหลังน้ี การปฏิวัติจึง ปะทขุ ้นึ มาเป็นระลอกๆอกี ครั้ง เวลาผ่านไป สถานการณ์ได้คล่ีคลายในระดับหนึ่ง แต่แนวคิดเพ่ือโค่นล้มรัฐบาล อับบาสียะฮยฺ งั เป็นไฟสุมขอนที่รอวันเวลาปะทุข้ึนไดท้ ุกเมอ่ื พวกเขาเปรยี บเสมือนพรรคการเมอื งที่ มีเป้าหมายชิงอานาจจากรัฐบาลกลางเท่าน้ัน ไม่ได้มีส่วนเก่ียวข้องกับประเด็นข้อปลีกย่อยความ ขดั แยง้ ด้านอะกีดะฮฺและชะรอี ะฮฺแต่อยา่ งใดเลย เป็นที่น่าสังเกตว่า แนวคิดในการโค่นล้มรัฐบาลกรุงแบกแดด ได้รับความสนใจจากชาว เปอร์เซียเป็นอย่างย่ิง เพราะนับต้ังแต่การล่มสลายของอาณาจักรเปอร์เซียอย่างเบ็ดเสรจ็ ในสมัย
6 ท่านเคาะลีฟะฮฺอุมัร บินอัลค็อฏฏอบ ถึงแม้ไฟโซโรแอสเตอร์ถูกดับมอดด้วยรัศมีแห่งอิสลาม นับตั้งแต่วันกาเนิดของนบีมุฮัมมัดด้วยซ้า แต่ไฟแห่งอาฆาตแค้นของพวกเขาท่ีมีต่ออิสลามและ ชาวมุสลิมยังไม่เคยดับสนิท ชาวเปอร์เซียเป็นผู้คลั่งไคล้ในชาติพันธุ์มาก พวกเขาคิดว่าชาติพันธ์ุ เปอร์เซียย่อมประเสริฐกว่าชาติพันธุ์อาหรับเบดูอีน แนวคิดนี้ได้หยั่งลึกเข้าไปในเส้นเลือดและ ซึมซับเข้าไปในทุกอณูชีวิตของพวกเขาอยู่แล้ว พวกเขายกย่องบูชาสัญลักษณ์และพิธีกรรมทาง ศาสนาด้ังเดิมน้ี แม้กระทั่ง ไฟ ท่ีเคยเป็นสัญลักษณ์อันศักดิส์ ิทธิ์ของลัทธิโซโรแอสเตอร์ยุคอดีต กาลกต็ าม ท่านผู้อ่านลองต้ังคาถามดูว่า ทาไมรอฟิเฎาะฮฺยุคปัจจุบันยกย่องท่านหุเซ็นมากกว่าท่าน หะซัน และมากกว่าท่านอะลีด้วยซ้า หากท่านผู้อ่านทราบว่า หนึ่งในภรรยาของท่านหุเซ็นผู้มีนาม ว่า ชาห์ ซินาน ยสั ดะเจอร์ พระราชธดิ าในกษัตรยิ อ์ งค์สุดท้ายของเปอร์เซีย และบรรดาอมิ ามชีอะฮฺ 12 หลังจากท่านหุเซ็นแล้ว ล้วนแล้วแต่เป็นลูกหลานของท่านหุเซ็นท่ีมาจากแม่ของพระธิดาแห่ง เปอรเ์ ซียน้ีแล้ว เช่อื วา่ ทา่ นผูอ้ า่ นสามารถไขข้อสงสยั หลายประการทเี ดียว กลมุ่ ลทั ธิคลัง่ ชาตินตี้ ระหนักวา่ ลาพงั แคอ่ าศัยอิทธิพลของตนเอง ไมส่ ามารถสรา้ งคะแนน นิยมพอท่ีจะสั่นคลอนรฐั บาลอิสลามได้ พวกเขาจึงต้องพึ่งพาอาศัยอิทธิพลของอัฏฏอลิบิยยูนมา เป็นต้นทุนในการสั่นคลอนอาณาจกั รอิสลามที่เคยสยบอาณาจักรอันย่ิงใหญ่ของพวกเขามากอ่ น หากปราศจากอาภรณ์ของอัฏฏอลิบยิ ยูน พวกเขาไม่สามารถอาพรางตนเองเพ่ือก้าวไปสู่จุดสูงสุด ของอานาจได้ ดังน้ันเพ่อื 1) ทวงคนื อานาจท่ีสญู เสียไป 2) โคน่ ลม้ รัฐบาลอิสลาม และ 3) ทาลายอิสลามจากภายใน พวกเขาได้สวมเสื้อผ้ายี่ห้ออัฏฏอลิบิยยูนด้วยการชูประเด็นการยกย่องวงศ์วานนบีและ อาลุลบัยต์ ด้วยแนวคิดน้ี ทาให้พวกเขาได้พัฒนาจากการเป็นกลุ่มการเมืองอย่างเดียว กลายเป็น ลัทธิท่ีบิดเบือนทางศาสนาด้วยการผสมผสานคาสอนจากกลุ่มลัทธิบิดเบือนต่างๆเข้าไปเป็ นส่วน หนึ่งของหลักอะกีดะฮฺและชะรีอะฮฺอิสลาม ท้ังๆที่บรรดาผู้นาที่พวกเขาเชื่อถือ ก็ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ใดๆกบั คาสอนเหลา่ น้เี ลย …ลัทธิบิดเบอื นทางศาสนาจึงเร่ิมเกดิ ข้ึนตั้งแตบ่ ดั น้ัน เมื่อหามุกเดิมๆไม่ได้ กลุ่มน้ีจึงสรรหาวาทกรรมใหม่เพ่ือยืดอายุในการเดินหน้าตาม แผนการณ์ท่ีได้วางไว้ ตัวละครใหม่ที่ได้รับการเลือกเฟ้นให้ปรากฎบนเวทีช่วงนี้คือ อิมามมะฮฺดีย์ และบุคคลที่เหมาะสมที่จะได้รับการสวมโขนอิมามมะฮฺดีย์ก็คือชายน้อย อายุ 5 ขวบ ที่หายตัว
7 ลึกลับพร้อมๆกับนวนิยายภาคแปลกพิศดารซึ่งเต็มไปด้วยอิทธิฤทธิอ์ ภินิหารพิลึกกึกกือชนิดหนัง ละครบทอภินิหารต่างๆ ต้องชิดซ้ายไปเลย ส่วนเนื้อหาจะมีความตื่นเต้นเร้าใจเพยี งใด ท่านผู้อ่าน สามารถคน้ อา่ นในตาราทเี่ กย่ี วข้องไดไ้ ม่ยากเย็น มหากาพย์อิมามมะฮฺดีย์ตามความเช่ือของกลุ่มน้ี จึงกลายเป็นท่ีมาของหลักคาสอนท่ี บิดเบอื นและผดิ เพี้ยนจากคาสอนของอิสลามที่ถูกต้อง และนี่คือแกนคาสอนของลัทธิชีอะฮฺอิมาม 12 ท่แี ผ่อิทธพิ ลอย่างกว้างขวางในโลกมสุ ลมิ ปัจจบุ ัน พวกเขาเชือ่ วา่ อมิ ามมี 12 ท่านเทา่ น้ันคือ 1) อะลี บนิ อะบูฏอลบิ 2) หะซนั บินอะลี 3) หเุ ซ็น บินอะลี 4) อะลี ไซนลุ อาบดิ ีน 5) มฮุ ัมมดั อัลบากิร 6) ญะฟั ร อัศศอดิก 7) มูซาอลั กาซิม 8) อะลี อัรรฎิ อ 9) มุฮัมมัด อลั เญาววาด 10) อะลี อลั ฮาดี 11) หะซัน อัสกะรยี ์ และ 12) มุฮมั มดั บนิ หะซนั อัสกะรีย์ การจากัดอิมามเพียง 12 ท่านถือเป็นปั ญหาอันใหญ่หลวงและเป็นชนักปั กหลังที่คอยท่ิม แทงลัทธิน้ีตลอดเวลา เพราะพวกเขาเร่มิ นับอิมามคนแรกจากทา่ นอะลี หาใช่เราะซูลลุ ลอฮฺไม่ และ เป็ นท่ีทราบกันดีว่าอะลีได้รับการแต่งตั้งเป็ นเคาะลีฟะฮฺหลังจากท่ีเราะซูลุลลอฮฺเสียชีวิตไปแล้ว เกือบ 26 ปี เป็นไปได้หรือที่อะลีคนเดียวจะแบกรับสาสน์แห่งอิสลามท้ังหมดเพ่ือถ่ายทอดให้แก่ วงศ์วาน ช่วงเวลาของการเกิดภาวะสูญญากาศทางผู้นาน้ี ท่านผู้อ่านลองคิดดูว่า ใครเล่าท่ีเป็น อิมามของประชาชาติมุสลิม ใครเลา่ ทโี่ บกสะบดั ธงอิสลามใหข้ จรขจายไปทั่วทุกมุมโลก การเป็นยุค
8 ที่ประเสริฐสุดของประชาชาตินี้ตามคาบอกเล่าของเราะซูลลุ ลอฮฺถูกลอยแพอย่างโดดเดี่ยวไร้ผูน้ า ถึงระดับน้เี ชยี วหรอื แต่ถ้ารวมเราะซูลลุ ลอฮฺเป็นอมิ ามคนแรก ละครเรื่องน้ีก็คงจบตั้งแตต่ ้น เพราะจะไปจบส้นิ ไปที่อิมามคนท่ี 11 เท่านั้น แสดงว่าอิมามมะฮฺดียังไม่เกิดข้ึนบนโลกนี้ ซึ่งก็ขัดแย้งกับหลักอะกีดะฮฺ ของลทั ธิน้ี ในเม่ือพวกเขาเกิดภาวะความอับจนและเจอทางตันไม่ว่าในมิติทางศาสนาและปั ญญา พวกเขาจึงไมม่ ีชอ่ งทางอ่ืนยกเวน้ มิตทิ ี่ 3 มาหกั ล้างกนั และกลายเป็นตัวกากับทิศทางความอยู่รอด ของตนเอง นน่ั คือมติ แิ หง่ อารมณใ์ ฝ่ต่าและกิเลสตัณหา ลัทธิน้ีมีความเชื่อว่า อิมามส้ินสุดลงท่ีอิมามคนที่ 12 เท่านั้น เขาผู้นี้คืออิมามมะฮฺดีย์ผู้ถูก รอคอย และเป็นคนเดียวกันกับเด็กชายมุฮัมมัด บินหะซันอัสกะรีย์ ท่ีเชื่อกันว่าเขาไม่ตาย แต่ไป ปลีกวิเวกแค่ 40 วันเท่านั้น เม่ือเวลาล่วงผ่านไป ก็เขียนบทใหม่ว่าเป็น 40 เดือน 40 ปี จนกระท่งั มีการแบ่งช่วงการหายตัวเป็น 2 ช่วงด้วยกัน คือการหายตัวแบบชั่วคราวและการหายตัวอย่างยาว การหายตัวในช่วงแรกเพราะสาเหตุมาจากกลัวกับการไล่ล่าของรัฐบาลอับบาสิยะฮฺ ท้ังๆที่ในตารา อ้างว่าเด็กคนนี้มีอิทธิฤทธิ์ผิดมนุษย์มนา ขนาดอยู่ในครรภ์มารดาและช่วงคลอดออกมาลืมตาดู โลกก็ผิดวิสัยมนุษย์ธรรมดาแล้ว ครั้นพอคลอดออกมา ก็มีมะลาอิกะฮฺคอยปกป้องจากเพทภยั ท้งั ปวง แต่เหตุไฉนกลบั ตอ้ งซกุ ซอ่ นหลบภยั เข้าไปในถ้าสิรด้าบนานกวา่ 1000 ปมี าแล้ว ปัจจบุ นั ลทั ธิ นี้มีประเทศท่ีเข้มแข็งและมีกองกาลังทางทหารท่ีมีประสิทธิภาพคอยปกปอ้ ง ซึ่งมีศักยภาพพอทจ่ี ะ รักษาความปลอดภัยแก่อมิ ามมะฮดฺ ไี ด้ จึงน่าจะปรากฎตวั ได้แล้ว แต่จนแล้วจนรอดกไ็ มเ่ หน็ โผลม่ าสักที ท่านผู้อ่านเคยได้ยินนวนิยายแนวอวตารในศาสนาไหนบ้างท่ีมีผู้คนรอคอยการกลับมา ของผนู้ านานนบั พนั ปีเหมอื นคาสอนทป่ี รากฎในลัทธิน้ี แนวคดิ เรอื่ งอิมามะฮฺ(การเป็นผู้นา) การอวตารลงมาของอิมามมะฮฺดี จุดยืนต่ออัลกุรอาน หะดีษ บรรดเศาะฮาบะฮฺและภรรยาท่านนบี ความเชื่อใน ความบริสุทธิ์ของบรรดาอิมาม ได้ กลายเป็ นปั จจัยสาคัญท่ีเกิดคาสอนอันบิดเบือนต่างๆ ซ่ึงได้รับการหลอมรวมจากศาสนายิว คริสเตยี น โซโรแอสเตอร์ พุทธ ฮนิ ดู พราหมณ์ หรอื แมก้ ระท่ังศาสนายุคอยิ ิปตโ์ บราณหรือยุคกรีก โรมันในอดีตกาล คาสอนเหล่านี้ถูกคลุกเคล้าผสมผสานกับคาสอนอิสลามจนกลายเป็ นเนื้อ เดียวกันอย่างแยกไม่ออก ทั้งๆ ที่อิสลามไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับคาสอนอันบิดเบือนเหล่านี้เลย
9 แม้กระทั่งอิมามทั้ง 12 คนก็ไม่เคยมีหลักอะกีดะฮฺและชะรีอะฮฺท่ีผิดเพ้ียนจากคาสอนของอิสลาม แมแ้ ต่นอ้ ย หลังการเสียชีวติ ของหะซัน อัสกะรีย์ อิมามคนท่ี 11 กลุ่มน้เี กดิ ภาวะตีบตนั ทางการเมือง จงึ หาทางออกด้วยการสร้างละครอวตารอิมามมะฮฺดีย์ข้ึนมา โดยอุปโลกน์เด็กชายมุฮัมมัด บิน หะซันอัสกะรีย์เป็นอิมามมะฮฺดีย์ ตามบทถูกกาหนดไว้ว่าเด็กคนนี้ไม่ตาย เพียงแต่หายตัวในถ้า สิรด้าบ และจะกลบั มาปกครองโลกอีกครั้ง พวกเขาอ้างว่าท่านนบีฯได้สั่งเสียรายชื่ออิมามทั้ง 12 คนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว แต่ บรรดาเศาะฮาบะฮฺได้ปกปิดคาส่ังเสยี น้ี ด้วยเหตุนี้พวกเขาจึงหุก่มว่าบรรดาเศาะฮาบะฮฺเป็นกาฟิร ยกเว้นจานวนไม่เกิน 13 คนเท่านั้น พวกเขาจึงเอาระบบที่ว่าด้วยการสืบสันตติวงศ์ของชาว เปอร์เซียมาใช้เป็นกฎมณเฑยี รบาลในการแต่งตั้งบรรดาอิมาม และเช่ือว่ากฎนีเ้ ป็นสว่ นหน่งึ ของคา สอนในศาสนา พวกเขายังเช่ือว่าบรรดาอิมามมีวาจาศักดิ์สิทธิ์ ไร้มลทิน บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ปราศจากการทาบาปทั้งมวล คาพูดของบรรดาอิมามเทียบเท่าฐานะของอัลกุรอานและหะดีษ คา วินิจฉัยของบรรดาอิมามจึงเป็ นท่ีส้ินสุดและเป็ นต้นกาเนิดของกฎหมายต่างๆ ตามหลักศาสน บัญญัติ อิมามโคไมน่ีได้เคยกล่าวว่า “ความจาเป็นสูงสุดในมัซฮับของเราท่ีทุกคนต้องเช่ือถือคือ บรรดาอมิ ามของเรามีฐานะท่สี งู สง่ ทีไ่ มม่ ใี ครสามารถบรรลไุ ด้ แม้กระทง่ั บรรดามะลาอกิ ะฮฺผใู้ กล้ชิด และนบีท่ีถูกประทานมาก็ตาม” ด้วยเหตุน้ีของพวกเขาจึงทาตนเป็นศัตรูกับเศาะฮาบะฮฺโดยรวม ยกเว้นบางคนที่นบั ไดเ้ พียงหยบิ มอื เดียวเท่าน้ัน หากถามยิวว่า ใครคือผู้ประเสริฐสุดในศาสนาของพวกท่าน ยิวคงตอบว่าสหายของนบี มูซา หากถามคริสเตียนว่า ใครคือผู้ประเสริฐสุดในศาสนาของพวกท่าน คริสเตียนคงตอบอย่าง ไมล่ งั เลว่าสหายของนบอี ีซา แตห่ ากถามรอฟิเฎาะฮฺว่า ใครคือผู้ทีช่ ว่ั ช้าสามานยท์ ่สี ดุ ในประชาชาติ ของนบีมุฮัมมัด พวกเขาต้องตอบอย่างทันควันว่า สหายของนบีมุฮัมมัดและภรรยาของท่าน แน่นอน ไม่เพียงบรรดาเศาะฮาบะฮฺเทา่ น้ัน แต่พวกเขายังไม่ยอมรบั อุลามะอฺของชาวซุนนะฮทฺ กุ คน พวกเขาปฏเิ สธตาราหะดีษทีช่ าวซุนนะฮยฺ ึดถือ ดังนน้ั ตาราหะดีษและแหลง่ อ้างอิงทางศาสนาต่างๆ ไม่ว่า บุคอรี มุสลิม ติรมีซีย์ นะวาวีย์ อะบูหะนีฟะฮฺ มาลิก ชาฟิอีย์ อิบนุฮัมบัล อิบนุกะษีร มุฮัมมัด อลั ฟาตฮิ ฺ เศาะลาฮดุ ดีน อยั ยูบี และคนอ่ืนๆ จงึ ไม่มคี ุณคา่ ใดๆ และไม่อย่ใู นสารบบของอารยธรรม อสิ ลามตามทศั นะของพวกเขาแมแ้ ตน่ ้อย
10 ประการเดียวที่เป็นแหล่งอ้างอิงอันศักดิส์ ิทธิข์ องพวกเขาก็คือ คาพูดของบรรดาอิมาม ท้ัง ที่มาจากคาพูดของอิมามเองหรือมีการกล่าวอ้างว่าเป็นคาพูดของอิมาม และด้วยอาศัยแหล่ง เดียวน้ี คาสอนของพวกเขาจึงอุดมด้วยอุตริกรรมทางศาสนามากมาย ท้ังในประเด็นอะกีดะฮฺ อิบาดะฮฺ มอุ ามะลาต และอัคลาก เรื่องราวต่างๆที่อุปโลกน์ขึ้นมาไม่ว่าเร่ืองตะกียะฮฺ การฟ้ ืนคืนชีพบนโลก จุดยืนต่อ เศาะฮาบะฮฺ และภรรยาท่านนบี ความเช่ือท่วี ่าดว้ ยอัลกรุ อานถูกบิดเบือน อะกีดะฮฺที่อคติกบั อัลลอ ฮฺ อุตริกรรมที่กุโบร์ สถานบูชาในพิธีกรรมต่างๆ รวมท้ังบิดอะฮฺวันที่ 10 มุฮัรรอม และอื่นๆอีก ม า ก ม า ย ร ้ อ ย พั น ป ร ะ ก า ร ล ้ ว น แ ล ้ ว ม า จ า ก ค า พู ด ข อ ง บ ร ร ด า อิ ม า ม ที่ อ ยู่ เ ห นื อ ก า ร พิ สู จ น ์ แ ล ะ พจิ ารณาตามหลักวิชาการทว่ั ไป น่ีคือเส้ียวหน่ึงของความเชื่อของลัทธิชีอะฮฺอิมาม 12 ซึ่งยังมีสารพัดความเชื่อท่ีแตกหน่อ แยกกอ ออกไปเป็นลัทธิต่างๆ โดยเฉพาะยุคท่ีเรียกว่า ยุคแห่งการตีบตันทางการเมืองของกลุ่ม รอฟิเฎาะฮฺซึ่งเกดิ ขึ้นกลางศตวรรษที่ 3 ฮจิ เราะฮฺภายหลังการเสยี ชวี ิตของ หะซัน อัลอสั กะรีย์ นับแต่นั้นมา ตารบั ตาราต่างๆ ตาม แนวคิดนี้ จึงถูกเขียนมามากมาย เพื่อผดุงแนวคิดของตนและเผยแพร่ไปยังดินแดนแถบ เปอร์เซียโดยเฉพาะและประเทศในโลกอิสลามโดยรวม ถึงกระนั้นก็ตาม พวกเขายังไม่สามารถ สร้างรัฐเป็นของตนเอง จนกระทั่งปลายศตวรรษท่ี 3 ฮ. และต้นศตวรรษที่ 4 ฮ. ประวัติศาสตร์ อิสลามได้ถลาเข้าไปสู่จดุ ที่อันตรายสดุ ๆ ทั้งนี้เน่ืองจากลทั ธินี้ได้กอ่ ร่างสถาปนารฐั เป็นของตนเอง ในดินแดนต่างๆที่อยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรอิสลาม และได้วิวัฒนาการเป็นหอกข้าง แคร่ทค่ี อยท่ิมแทงความเจรญิ เติบโตของอาณาจกั รอิสลามตง้ั แต่น้นั เป็นตน้ มา ประชาชาติอสิ ลามถูกผลักไสไล่สง่ ส่กู ้นเหวทเ่ี ตม็ ไปด้วยภยนั ตรายโดยฝีมอื ของกลุม่ ลัทธทิ ี่ แอบอา้ งวา่ รกั และเชดิ ชวู งศว์ านนบีท่สี ุด อัลลอฮไฺ ด้กลา่ วความวา่ “ َ”فَاقْصُ ِص الْقَصَ َص لَعَ ّلَهُ مْ يَتَ فَ ّكَ ُرون “ทา่ นทงั้ หลาย จงเล่าเรอื่ งต่างๆ ทีเ่ กิดขนึ้ ในอดตี เพื่อพวกเขาจะไดไ้ ตร่ตรอง” (อัลอะรอฟ : 176) ดังนั้นวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆท่ีเกิดข้ึนในอดีตน้ัน เพื่อ ตอ้ งการให้เราคดิ ทบทวนเป็นอุทาหรณแ์ ละบทเรียน หาไมแ่ ลว้ มันก็ไมต่ ่างกบั นวนยิ ายปราปราที่ไม่ สามารถนาสาระประโยชนใ์ ดๆ เลย
11 การเล่าเร่ือราวของรอฟิเฎาะฮฺในอดีต ก็มีวัตถุประสงค์หลักเพียงประการเดียวคือใช้ เหตกุ ารณใ์ นอดีตเป็นเครือ่ งมอื ทาความเข้าใจปัจจบุ ัน และคาดการณ์ล่วงหน้าว่าเรือ่ งราวจะจบลง กันอย่างไร เพราะบทละครเดียวกันท่ีประพันธ์โดยคนๆ เดียวกัน ถึงแม้จะมีการแสดงซ้าครั้งแล้ว ครง้ั เลา่ กจ็ ะมีเค้าโครงเร่ืองและมีตอนอวสานที่เหมอื นกัน เราได้ทราบมาแล้วว่า หลังจากที่หะซัน อัลอัสกะรีย์เสียชีวิตไป ชีอะฮฺเกิดภาวะ “ตีบตันทาง การเมือง” พวกเขาได้เร่ิมแยกเป็นก๊กเป็นเหล่าตามความบิดเบือนของแต่ละกลุ่ม ซึ่งกลุ่มที่ใหญ่ ที่สุดคือลัทธิชีอะฮฺอิมาม 12 แต่ก็ยังมีหลายกลุ่มท่ีเกิดมาช่วงน้ี และกลุ่มที่สร้างอันตรายแก่ ประชาชาติมุสลิมมากที่สุด คงไม่มีใครเกินกลุ่มลัทธิอิสมาอีลียะฮฺ ซ่ึงเป็ นลัทธิชีอะฺฮฺสุดโต่งที่ อุละมาอฺซุนนะฮฺส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นกลุ่มที่พ้นสภาพจากอิสลามโดยส้ินเชิง พวกเขาถูกเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า กลุ่มบาฏินียะฮฺท่ีเชื่อว่าหลักชะรีอะฮฺมีทั้งเนื้อหาที่สามารถเข้าใจอย่างตรงไปตรงมาตาม ตัวบท แต่ในอีกแง่หน่ึงเป็นเพียงสัญลักษณ์ที่จาเป็นต้องถอดรหัสโดยผู้รู้ที่พวกเขายอมรับเท่าน้ัน เช่นเดียวกันกับอัลกุรอานและหะดีษที่มีเน้ือหาท่ีซ่อนเร้นอยู่ ดังน้ันพวกเขาไม่ละหมาด ไม่ออก ซะกาต ไม่ศิยาม ไม่ถือศีลอดและไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนบัญญัติอ่ืนๆ เหมือนชาวซุนนะฮฺท่ัวไป แต่พวกเขามีวิธีถอดรหสั คาสอนเหลา่ นตี้ ามอารมณ์ใฝ่ต่าของพวกเขาเอง ลัทธิน้ี เร่ิมต้นมาจากยิวจากเมืองกูฟะฮฺคนหน่ึงช่ือ มัยมูน อัลก็อดดาหฺ ท่ีเสแสร้งรับ อิสลามแต่เกลียดชังอิสลามอยู่เต็มอก เขาได้เข้าไปตีสนิทกับมุฮัมมัด บินอิสมาอีล บินญะอฺฟั ร อัศศอดิก ซึ่งท่านอิสมาอีล บินญะฟั รท่านนี้ มีศักดิเ์ ป็นพ่ีชายของมูซา อัลกาซิม (อิมามคนที่ 7) ในฐานะเป็นลกู ชายคนโต ท่าน จึงมสี ทิ ธิเ์ ป็นอิมามแทนพ่อ แตอ่ สิ มาอีลเสียชวี ติ ตงั้ แตอ่ มิ ามญะฟั ร ยังมชี วี ติ อยู่ ตาแหนง่ อิมามจงึ ตกเป็นของมซู า อัลกาซมิ ลัทธินี้จึงกุเรื่องว่า ความจริงแล้วอิสมาอีลไม่ตาย เขาจะกลับมาฟ้ ืนคืนชีพใหม่ตามความ เช่ืออันบิดเบือน และเขาคืออิมามมะฮฺดีผู้เป็นท่ีรอคอย ลัทธินี้จึงถูกขนานนามว่า อิสมาอีลียะฮฺ หรืออลั บาฏนิ ยี ะฮตฺ ามที่ได้กลา่ วมา มัยมนู อลั กอ็ ดดาหฺไดอ้ อกอบุ ายวางแผนระยะยาวเพ่ือทาลายอิสลามจากภายใน เขาได้ตั้ง ช่ือลูกชายคนโตของเขาช่ือว่า มุฮัมมัด และได้ส่ังเสียว่าต่อไปนี้ให้ต้ังช่ือลูกหลานของเขาให้ เหมือนกับชอ่ื ลกู หลานของมฮุ ัมมัด บนิ อสิ มาอลี ท่ีมาจากอาลลุ บัยต์ เมอื่ เวลาผา่ นไป ชาวยิวกล่มุ นี้ ได้แอบอ้างว่าต้นตระกูลของตนเองมาจากอาลุลบัยต์ ซึ่งตาแหน่งอิมามหลังจากนี้ต้องมาจากต้น ตระกูลของตนเอง ไม่ใชม่ าจากตระกลู ของมูซาอัลกาซมิ บนิ ญะฟั รอศั ศอดิก
12 หลังจากนั้น ทุกอย่างก็เป็ นไปตามแผนอันสกปรกน้ี บรรดาลูกหลานของมัยมูน อัลก็อดดาหฺ ได้สถาปนาลัทธิใหม่ท่ีแอบอ้างอิสลาม ทั้งๆท่ีอิสลามไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกับลัทธิ เพี้ยนน้ีเลย พวกเขาเช่ือว่า อัลลอฮฺสามารถสิงเข้าไปในตัวตนของอิมาม พวกเขาจึงเช่ือว่าอิมาม คือ พระเจ้า พวกเขายังเชื่อเร่ืองเวียนว่ายตายเกิด การฟ้ ืนขึ้นใหม่ของอิมามท่ีเสียชีวิตแล้ว ภารกิจหลักของพวกเขาช่วงน้คี ือการลอบฆ่าบรรดาอุละมาอฺซนุ นะฮฺ ซ้าร้ายย่ิงกว่านี้ เมื่อพวกเขาสามารถจับมือกับกลุ่มลทุ ธิคลั่งชาติชาวเปอร์เซียที่เคียดแค้น อิสลามเป็นทุนเดิม ทาให้แผนสกปรกนี้ดาเนินไปอย่างสะดวกโยธิน ความเจ้าเล่ห์เพทุบาย ทรยศ หักหลังและพฤติกรรมทรามของชาวยิว ได้ผสมผสานกับไฟอาฆาตแค้นและแรงริษยาของ โซโรแอสเตอร์ จนกลายเป็นเน้ือทองอันเดียวกัน มันคือความช่ัวร้ายยกกาลังที่สร้างรอยแผล ฉกรรจแ์ กร่ า่ งกายของประชาชาติมุสลมิ นบั ตง้ั แตน่ ัน้ มา คร้ันเวลาผ่านไป เชื้อร้ายเหล่าน้ีได้ตกผลกึ ไปถงึ ชายคนหน่ึงนามวา่ หัมดาน บิน อัชอัษ ซ่ึง มีฉายาว่า ก็อรมัฏ ( قرمطแปลว่าผู้มีร่างกายส้ันเตี้ยตามรูปร่างของตนเอง) และกลายเป็ นผู้ กอ่ ต้ังลัทธชิ อี ะฮฺเกาะรอมิเฏาะฮฺ ลัทธิร้ายนี้เป็นอีกลัทธิหน่ึงที่แยกออกจากลัทธิอิสมาอีลียะฮฺ พวกเขามีความเช่ือว่า ทรัพย์ สมบัติและสตรีเป็นของสาธารณะ ทุกคนมีสิทธิ์ครอบครองโดยเท่าเทียมกัน สังคมในสมัยน้ันจึง อดุ มด้วยการปลน้ สะดม เข่นฆา่ กระทาชาเราสตรีและพฤติกรรมทรามทง้ั หลาย สรุปแล้ว ช่วงกลางศตวรรษที่ 3 ฮิจเราะฮฺน้ี ได้เกิดลัทธิบิดเบือน 3 ลัทธิใหญ่ๆ คือ ชีอะฮฺ อิมามยิ ะฮฺ อิสมาอีลียะฮฺ และเกาะรอมิเฏาะฮฺ แต่ละกลุม่ ลทั ธิกอ็ า้ งวา่ กลมุ่ ตนคือกลุ่มทีถ่ กู ต้องและ เป็นตัวแทนของอาลุลบยั ต์ที่แทจ้ ริง แต่ทนี่ ่าสังเกตคอื ทั้ง 3 ลทั ธนิ ี้ไม่เคยมีประวตั เิ กิดความขัดแย้ง รุนแรงถึงขั้นทาสงครามระหว่างกัน แต่ฝ่ายท่ีโดนรุมทาลายจากลัทธิเหล่านี้คือมุสลิมซุนนะฮฺ ท่ีน่า แปลกประหลาดมากกว่าน้ีคือ ลัทธิเหล่านี้ไม่เคยสร้างความลาบากใจแก่ชาวยิว คริสเตียน นักรบ ตาตาร์ นักรบมองโกเลียที่เคยรุกรานอาณาจักรอิสลามแม้แต่น้อย อาจกล่าวได้ว่าพวกเขาไม่เคย ทาสงครามอย่างจริงจังกับชนชาติเหล่าน้ีเลย และชนชาติเหล่าน้ีก็ไม่เคยทาสงครามอย่างจริงจัง กับกลุ่มลัทธินี้เช่นกัน กลุ่มเดียวท่ีกลายเป็นเหยื่อของความโหดร้ายของลัทธิทั้ง 3 และชนชาติ เหล่านั้นคอื ประชาชาตมิ ุสลมิ ซนุ นะฮฺ อัลลอฮุลมสุ ตะอาน ถึงกระน้ันก็ตาม ในช่วงเวลาดังกล่าว กลุ่มลัทธิทั้ง 3 นี้ยังไม่สามารถสถาปนารัฐอิสระได้ พวกเขาเป็ นเพียงเม็ดทรายในรองเท้าท่ีคอยสร้างปั ญหากับการรุดหน้าของอาณาจักรอิสลามมา
13 โดยตลอด แต่เม่ือถึงปลายศตวรรษที่ 3 ฮิจเราะฮฺและต้นศตวรรษที่ 4 ฮิจเราะฮฺ ทุกอย่างได้ เปลย่ี นไป กลายเป็นจุดเร่ิมต้นของตานานแห่งความเศร้าโศกของประชาชาติอิสลามนบั แต่นนั้ มา ในกลมุ่ 3 ลทั ธนิ ้ี ลทั ธแิ รกทสี่ ามารถก้าวมีอานาจทางการเมอื งและสถาปนาเป็นอาณาจักร อิสระคือ ลัทธิเกาะรอมิเฏาะฮฺ พวกเขาสถาปนาอาณาจักรเกาะรอมิเฏาะฮฺครั้งแรกทีเ่ ยเมน ภายใต้ การนาของจอมโหด นายรุสตมั บนิ หะซนั และสามารถขยายอิทธิพลไปถึงมอร็อกโค แต่ก็ล่มสลาย ไปในระยะเวลาอันส้ันๆ จนกระทั่งพวกเขาสามารถสถาปนารัฐอิสระอีกครั้งในบริเวณภาค ตะวันออกของคาบสมุทรอาหรับแถบบริเวณประเทศบาห์เรนและดินแดนใกล้ เคียงในปั จจุบัน ภายใตก้ ารนาของหัมดาน ก็อรมฏั ในปี 320 ฮ.ศ. การกาเนิดรัฐเกาะรอมิเฏาะฮฺแถบบริเวณคาบสมุทรอาหรับ ได้สร้างความเดือดร้อนอัน ใหญ่หลวงแก่ประชาชาติมุสลมิ ด้วยความเช่ือทผ่ี ดิ เพ้ยี นและการปลกู ฝั งแนวคดิ สุดโตง่ พวกเขาได้ เข่นฆ่า ปล้นสะดม ฉุดกระชากสตรีไปท่ัวทุกหย่อมหญ้า ท่ีโหดร้ายที่สุดคือโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น ในปี 317 ฮ.ศ. เม่ือพวกเขาบุกไปจโู่ จมมัสยิดหะรอมและเข่นฆ่าผ้คู นท่ีกาลังเฏาะวาฟ พร้อมทั้งยึด หินดา(อัลหะญะรุลอัสวดั ) พาไปท่ีเมืองหลวงของเขาแถบภาคตะวนั ออกของคาบสมุทรอาหรบั หิน ดาอยูภ่ ายใต้ครอบครองของกลุ่มลทั ธนิ ้นี านถึง 22 ปี จนกระท่ังถกู ส่งคืนไปยังกะอฺบะฮฺอกี ครั้งในปี ฮ.ศ. 339 ชีอะฮฺอิสมาอีลียะฮฺได้ไปต้งั รกรากทีม่ อร็อกโค โดยการเผยแผ่คาสอนของ อะบูอับดุลลอฮฺ อัชชีอียพ์ วกเขาไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากรสุ ตัม บนิ หุเซน็ ผสู้ ถาปนาอาณาจกั รเกาะรอมิเฏาะฮฺท่ีเยเมน ท้งั อิสมาอีลียะฮฺและเกาะรอมิเฏาะฮฺ ต่างถือว่า อิสมาอีล บินญะฟั รอัศศอดิก เป็นอิมาม หาใช่มูซา อัลกาซิม อิมามคนที่ 7 ตามความเชือ่ ของชีอะฮอฺ มิ าม 12 ลูกหลานของมัยมูน อัลก็อดดาหฺ (ยิวจากเมืองกูฟะฮฺ) ชื่อว่า อุบัยดิลลาฮฺ บินหุเซ็น บิน อะหฺมัด บินอับดุลลอฮฺ บินมัยมูนอัลก็อดดาหฺ ได้สถาปนารัฐอิสมาอีลียะฮฺท่ีมอร็อกโคพร้อมอ้าง ตนเองเป็ นอิมามมะฮฺดี เขายังแอบอ้างว่า ตนเองเป็ นลูกหลานที่สืบเชื้อสายมาจากอิสมาอีล บินญะฟั ร อัศศอดิก เพ่ือใหก้ ารเผยแผ่ลทั ธินี้ได้รับการยอมรับจากประชาชนทวั่ ไป เขาจึงเรียกอาณาจกั รตนเอง ว่า ฟาฏิมียะฮฺ ทั้งๆที่เขาสืบเชื้อสายยิว แต่ก็ได้รับการตอบรับจากผู้คนทั่วไป โดยเฉพาะในกลุ่ม มุสลิมท่ีไม่ค่อยได้รับการศึกษาทางศาสนา ลัทธิน้ีได้ขยายอิทธิพลไปยังแอฟริกาเหนือ จนกระท่ัง สามารถยึดครองอิยิปต์ในปีฮ.ศ. 359 ภายใต้การนาของอัลมุอิซ ลิดีนิลลาฮฺ อัลอุบัยดี และ กลายเป็นตน้ กาเนิดของอาณาจกั รอุบยั ดิยนู ซึง่ มีบทบาทสาคัญในการบูรณะและพฒั นาเมืองไคโร และสร้างมัสยิดอัลอัซฮรั
14 ในช่วงดังกล่าว พวกเขาได้เผยแพร่หลักคาสอนอันบิดเบือน การด่าทอเศาะฮาบะฮฺ อุตริ กรรม จนกระทง่ั ส่ิงอบายมุขและพฤตกิ รรมไรจ้ ริยธรรมทั้งหลายได้แพร่กระจายไปท่ัวทุกหย่อมหญ้า นอกจากน้ี พวกเขายังเข่นฆ่าอุละมาอฺซุนนะฮฺ มีผู้นาบางคนของพวกเขาแอบอ้างตนเองเป็นพระ เจ้า เพื่อสนับสนุนการเผยแผ่ของลัทธินี้ พวกเขาได้สร้างมัสยิดมากมาย ลัทธินี้สามารถ ปกครองอยิ ปิ ต์ แผข่ ยายไปถึงเมืองชามและดนิ แดนส่วนหนึ่งในหิญาซนาน 200 ปี จนกระท่ังจอม ทัพเศาะลาฮุดดีน อัลอัยยูบีย์สามารถปราบปรามลัทธินี้ได้สาเร็จเมื่อปี ฮ.ศ. 567 อิยิปต์จึงปลอด จากเชือ้ รา้ ยของลทั ธชิ ีอะฮฺอิสมาอลี ยิ ะฮฺนบั แตน่ น้ั มา ส่วนลัทธิท่ี 3 คือชีอะฮฺอิมาม 12 พวกเขาได้สร้างส่ิงอุตริกรรมทางศาสนาท่ีไม่ย่ิงหย่อนไป กว่าชีอะฮฺทั้ง 2 ลัทธิที่ได้กล่าวมา เพียงแต่พวกเขาศรัทธาต่ออัลลอฮฺ เราะซูล และการฟ้ ืนคืนชีพ แต่ก็ได้ต่อเติมเสริมแต่งคาสอนอิสลามไว้อย่างมากมายจนไม่หลงเหลือเคัาเดิมของศาสนา ส่วน หน่ึงของบรรดาแกนนาของพวกเขาได้สร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับชนชั้นปกครองของ เปอร์เซยี และอริ ัก ดว้ ยวิธีนี้ พวกเขาจงึ สามารถครองอานาจแถบเปอรเ์ ซยี ระหว่าง ฮ.ศ. 261- ฮ.ศ. 389 (128ปี) มีอานาจในแผ่นดินอริ กั ระหว่าง ฮ.ศ. 317 – ฮ.ศ 369 (52 ป)ี และครองอานาจแถบ เมืองหะลบั (เมอื งชาม) ระหว่างปี ฮ.ศ. 333 – ฮ.ศ. 392 (59 ป)ี ชีอะฮฺกลุ่มน้ีถือเป็ นกลุ่มท่ีอยู่เบื้องหลังสาคัญท่ีทาให้อาณาจักรอับบาสียะฮฺล่มสลายในปี ฮ.ศ. 334 และสามารถยึดกรุงแบกแดดนานนับ 100 ปี จนกระทั่งในปี ฮ.ศ. 447 ชาวซะลาญิ เกาะฮฺสายซุนนะฮฺสามารถยึดคืนอิรักจากการปกครองของชีอะฮฺ และเมืองอิรักถูกปกครองโดย ชาวซนุ นะฮฺอกี ครงั้ ในช่วงชีอะฮฺเรืองอานาจ พวกเขาได้แสดงความเกลียดชังต่ออุละมาอฺซุนนะฮฺอย่างเข้า กระดูกดา มีการเขียนข้อความด่าทอบรรดาเศาะฮาบะฮฺตามผนังมัสยิด โดยเฉพาะการสาปแช่ง ทา่ นอะบบู กั รแ์ ละอมุ รั ใ์ นคตุ บะฮฺ อาจกลา่ วไดว้ ่า ฮจิ เราะฮศฺ กั ราชที่ 4 ถอื ได้วา่ เป็นศตวรรษแห่งการเรอื งอานาจของชอี ะฮโฺ ดยแท้จริง ชีอะฮฺอิมาม 12 เถลิงอานาจแถบอิหร่านและอิรัก ส่วนหนึ่งก็ยึดครองประเทศทางตอน เหนือของอิหร่านและอัฟกานิสถาน ส่วนหนึ่งมีอานาจแถบเมืองหะลับ (ซีเรีย) ส่วนชีอะฮฺ เกาะรอมิเฏาะฮฺ ก็สถาปนารัฐชีอะฮฺแถบภาคเหนือของคาบสมุทรอาหรบั ดินแดนหิญาซ ดามัสกัส และเยเมน ในขณะท่ีอาณาจักรอุบัยดิยูนหรือฟาฏิมียะฮฺ ก็ปกครองประเทศอิสลามแถบแอฟริกา รวมทงั้ บางสว่ นในฟิลสั ฏนี ซเี รยี และเลบานอน
15 ในปลายศตวรรษที่ 4 ฮิจเราะฮฺ อาณาจักรชีอะฮฺเกาะรอมิเฏาะฮฺก็ถึงคราวอวสาน และ กลางศตวรรษท่ี 5 ฮิจเราะฮฺ (ปี 447) อาณาจักรบะนีบูวัยฮฺที่ปกครองอิรักก็ส้ินอานาจลง ในขณะ ท่ีชีอะฮฺอิสมาอีลียะฮฺก็เส่ือมอานาจในช่วงกลางศตวรรษที่ 6 (567ฮ.ศ.) โลกอิสลามได้กลับเข้าสู่ อ้อมอกของชาวซุนนะฮฺอีกคร้ัง ถึงแม้ชีอะฮฺอิมาม 12 ยังแผ่อิทธิพลในอิหร่านและอิรัก แต่ก็อ่อน กาลงั มากและไม่สามารถสถาปนาเป็นรัฐอิสระได้ เร่ืองราวทาท่าจะไปด้วยดี จนกระท่ังในปี ฮ.ศ. 907 (ต้นฮิจเราะฮฺศักราชท่ี 10) มีชายชาว เปอร์เซียนามว่า อิสมาอีล อัศเศาะฟะวีย์ ได้ประกาศสถาปนารัฐอัศเศาะฟะวียะฮฺในอิหร่าน ท่ามกลางหยาดเลือดและซากศพของพ่ีน้องชาวซุนนะฮฺ เขาได้สร้างรัฐอันธพาลน้ีด้วยอานาจ เผด็จการ รัฐนี้ได้กลายเป็ นหอกข้างแคร่ท่ีสร้างความเดือดร้อนแก่อาณาจักรอุษมานียะฮฺและ ประเทศอิสลามใกล้เคียงอย่างมาก พวกเขาได้ทาสัญญาลับกับกองทัพโปรตุเกสเพ่ือโจมตี อาณาจักรอุษมานียะฮฺ จนกระท่ังสามารถยึดครองสว่ นหน่ึงของอิรักและได้เผยแพรอ่ ะกดี ะฮฺชอี ะฮฺ เข้าไปยังดินแดนแถบน้ี ความขัดแย้งและสงครามระหว่างเศาะฟะวียะฮฺและอาณาจักรอุษมานียะฮฺได้ปะทุข้ึนอย่าง ต่อเนอื่ งนานกว่า 2 ศตวรรษ จนกระทัง่ อาณาจกั รเศาะฟะวียะฮสฺ ้ินอานาจลงเมอื่ ปี ฮ.ศ. 1148 หลังจากนั้น ถึงคราวอาณาจักรอุษมานียะฮฺประสบกับความอ่อนแอ ดินแดนแถบอิหร่านก็ มีการผลัดเปลี่ยนผู้นาที่สืบเช้ือสายมาจากเปอร์เซีย แต่ผู้นาทุกคนต่างก็จงรักภักดีต่อประเทศ มหาอานาจจากยโุ รปขณะนน้ั โดยเฉพาะอังกฤษ ฝรงั่ เศสและรสั เซีย ในปีฮ.ศ. 1193 อิหร่านถูกปกครองโดยกษัตริย์ชีอะฮฺ เชื้อสายเปอร์เซียนามว่า มุฮัมมัด ฟาญาร์ ถึงแม้พระองค์เป็ นชีอะฮฺอิมาม 12 แต่ก็เป็นบุคคลที่ไม่ยึดม่ันกับคาสอนชีอะฮฺมากนัก ราชวงศ์นี้มีอานาจสืบทอดกันมาจนถึงปี ฮ.ศ. 1343 ก็ถูก ริฎอ ปาห์เลวียึดอานาจด้วยการ สนับสนุนจากรัฐบาลอังกฤษ เขาได้สถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์พร้อมขนานนามตนเองว่า ชาห์ แห่งอิหร่าน ต่อมาพระองค์เกิดความขัดแย้งกับรัฐบาลอังกฤษ เป็นเหตุให้ นายมุฮัมมัด บินริฎอ ปาห์เลวี ซึ่งเป็นพระโอรสได้ยึดอานาจและสถาปนาตนเองเป็นชาห์แห่งอิหร่านแทนเม่ือ ปี ฮ.ศ. 1359 (ค.ศ. 1941) ชาห์ปาเลวี คนท่ี 2 ได้ครองราชย์และเป็ นกษัตริย์แห่งอิหร่านเร่ือยมาจนกระท่ังปี ฮ.ศ. 1399 (ค.ศ.1979) อิหม่ามโคไมน่ีได้นาคลื่นมหาชนปฏิวัติระบอบน้ีได้สาเร็จ ภายใต้การปฏิวัติที่ (แอบ)ใช้ช่ือว่า การปฏิวัติอิสลามอิหร่าน พร้อมสถาปนาประเทศเป็น สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ท่ามกลางแสดงความยินดีจากมุสลิมทั่วทุกมุมโลก โดยเฉพาะผู้มีวิญญาณของนักเคล่ือนไหว
16 อสิ ลามทใ่ี ฝ่ฝั นการหวนกลับของระบบคิลาฟะฮฺและรัฐอิสลามทีย่ ดึ เจตนารมณ์อิสลามเป็นหลักใน การปกครองและบรหิ ารจัดการประเทศ น่คี อื ภาพย่อเรอ่ื งราวของชอี ะฮรฺ อฟิเฎาะฮฺจากจุดเร่มิ ต้นจนกระทัง่ ปัจจุบัน เป็ นท่ีประจักษ์ชัดว่า ลัทธิน้ีไม่มีภารกิจหลักอ่ืนใดนอกจากเป็นพลังปฏิปั กษ์ท่ีส่ันคลอน อาณาจักรอิสลามเท่าน้ัน ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ พวกเขาไม่เคยสร้างปั ญหาใดๆ กับ ศัตรูอิสลาม ไม่ว่ากองทัพครูเสด รัสเซีย อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส หรือแม้กระท่ังกองทัพตาตาร์ และมองโกเลยี ส่ิงทีเ่ ราพบเห็นมาโดยตลอดคือ ลทั ธนิ ี้มีความสัมพันธอ์ ันแนบแนน่ และสร้างความ รว่ มมืออย่างใกล้ชิดกบั อรริ าชศตั รขู องประเทศอสิ ลามมาโดยตลอด ผู้เขียนกล้าฟั นธงเช่นนี้ ไม่ได้หมายความว่า เราจะเอาโทษรุ่นลูกรุ่นหลาน เนื่องจากความ ผดิ พลาดของบรรพบุรุษ เราไม่ได้เหมารวมว่า ในเมื่อบรรพบุรษุ ทาผิดแลว้ บรรดาลูกหลานก็ทาผิด เช่นกัน แต่ส่ิงที่อยากให้ท่านผู้อ่านคิดตามก็คือ การวิเคราะห์ปั ญหาต่างๆ เราจาเป็นต้องมองที่ รากเหง้าของปัญหานน้ั ๆ และรากเหงา้ ของแต่ละปัญหาคือหลกั อะกีดะฮฺ แนวคิดและหลักสูตร หาก ประเด็นเหล่าน้ีมีความเหมือนกัน ต่อให้ฉายซ้าเป็นร้อยๆ ภาคและใช้ระยะเวลานานนับศตวรรษ สุดท้ายก็มีฉากอวสานและบทสรุปท่ีใกล้เคียงกัน เช่นเดียวกันกับรอฟิเฎาะฮฺยุคนี้กับยุคก่อน ซึ่ง ต่างก็มีหลักอะกีดะฮฺ แนวคิดและหลักสูตรที่มาจากแหล่งเดียวกัน ตราบใดท่ีลัทธินี้ยังมีความเชื่อ ว่าอิมามจะตอ้ งมาจากวงศ์ตระกูลเฉพาะ อิมามเป็นบคุ คลพิเศษท่ีไม่กระทาบาป(มะอฺศมู ) ตราบใด ท่ียังมคี วามเชื่อว่าเศาะฮาบะฮเฺ ป็นผ้ทู รยศหักหลังและเป็นกลุม่ ชนที่ชวั่ ร้ายทสี่ ดุ ตราบใดทย่ี งั ด่าทอ เศาะฮาบะฮฺและสาปแช่งภรรยานบีซ่ึงเป็นมารดาของบรรดาผู้ศรัทธา ตราบใดที่ยังมีความเช่ือ ว่าอัลกุรอานในปัจจุบันและซุนนะฮฺยงั ไม่สมบูรณ์ ตราบใดที่ยังมีความเชื่อม่ันในหลักตะกียะฮฺ และ เชื่อว่าการโกหกปล้ินปล้อนเป็นเก้าในสิบส่วนของศาสนา ตราบนั้นเราก็ไม่สามารถหวังดีและคิด เชิงบวกกับลัทธินี้ ประโยคเดียวที่เป็นข้อสรุปในเรื่องน้ีก็คือ บรรพบุรุษเป็นยังไง บรรดาลูกหลานก็ เป็นยงั ง้นั สานวนไทยๆ มักพดู สั้นๆ วา่ ลกู ไมห้ ล่นไม่ไกลตน้ นั่นเองครับ
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: