0
1 การอ่านอัลกรุ อา่ นกิรออาตทัง้ เจ็ด และกริ ออาตทนี่ ิยมกัน อัลกรุ อานถกู ประทานลงมา 7 แบบ ในสมัยท่านนบี ﷺภาษาอาหรับของแต่ละเผ่ามีสาเนียงที่แตกต่างกันออกไป บ้างใช้คาไม่ เหมือนกัน บ้างก็ใช้สระไม่เหมือนกัน เช่น คาว่า “ َأيتُ ْونยะตูน” บางเผ่าอ่านว่า “ َأيتُ ْونยาตูน” หรือ คาว่า “ يؤمنونยุอ์มินูนะ” บางเผ่าอ่านว่า “ يومنونยูมินูนะ” หรือคาว่า “ علي ِهمอะลัยฮิม” บางเผ่าก็ อ่านว่า “ علي ِه ُموอะลัยฮิมู” บางเผ่าอ่านว่า “ علي ُهمอะลัยฮุม” หรือคาว่า “ موسىมูซา” บางเผ่าอ่าน วา่ “มูแซ” บ้างอา่ นวา่ “มูเซ” บ้าง จะใหท้ ุกเผา่ ปรบั แก้สาเนียงภาษาของตนท่ีใช้กนั มาหลายช่ัวอายุ คนเพ่อื ใหอ้ ่านเหมอื นกัน ทั้งหมดเกินความสามารถของพวกเขา เหมือนกับท่ีจะให้คนประเทศไทยเปล่ียนไปใช้สาเนียงของคนประเทศลาวคงเป็ นเร่ืองยาก อัลกรุ อานจึงไดถ้ กู ประทานลงมา 7 แบบด้วยกัน ดังท่มี รี ายงานว่า إِ أن اََّّللأ َأيُْمُرأك أ ْن: فأأَأتهُ ِجِْْبي ُل أعلأْيِه ال َّسَأل ُم فأأقا أل، أ َّن الَنِّ َّب ﷺ أكا أن ِعْن أد أ أضاةِ بأِن ِغأفا ٍر: أع ْن أُأِيب بْ ِن أك ْع ٍب َُُثّ أَأتهُ الَثّانِيأةأ. أ ْسأ ُل اََّّللأ ُمعأافأاتأهُ أوأمغِْفأرتأهُ أوإِ َّن أَُّمِت أَل تُ ِطي ُق ذألِ أك: تأ ْقأرأ أَُّمتُ أك الُْقْرآ أن أعلأى أحْر ٍف ; فأ أقا أل أ ْسأ ُل اََّّللأ ُمعأافأاتأهُ أوأمغِْفأرتأهُ أوإِ َّن أَُّمِت أَل: إِ أن اََّّللأ َأيُْمُرأك أ ْن تأ ْقأرأ أَُّمتُ أك الُْقْرآ أن أعلأى أحْرفأِْْي ; فأ أقا أل: فأ أقا أل أ ْسأ ُل: إِ أن اََّّللأ َأيُْمُرأك أ ْن تأ ْقأرأ أَُّمتُ أك الُْقْرآ أن أعلأى ثأَألثأِة أ ْحُر ٍف ; فأ أقا أل: َُُثّ أجاءأهُ الَثّالِثأةأ فأ أقا أل. تُ ِطي ُق ذألِ أك إِ أن اََّّللأ َأيُْمُرأك أ ْن تأ ْقأرأ أَُّمتُ أك الُْقْرآ أن: َُُثّ أجاءأهُ الَّرابِعأةأ فأ أقا أل. اََّّللأ ُمعأافأاتأهُ أوأمغِْفأرتأهُ أوإِ َّن أَُّمِت أَل تُ ِطي ُق ذألِ أك . أعلأى أسْب أعِة أ ْحُر ٍف فأأَّيأا أحْر ٍف قأأرُؤوا أعلأْيِه فأأق ْد أ أصابُوا ท่านอุบัยย์ บินกะอฺบ์ ได้กล่าวว่า “ท่านนบี ﷺคร้ังหนึ่งขณะอยู่ท่ีบ่อน้าของตระกูลฆิฟาร ได้ เล่าว่า ญิบรีล อะลัยฮิสสลาม ได้มาหาท่าน แล้วกล่าวว่า “อัลลอฮ์ใช้ให้ท่านอ่านอัลกุรอานให้ อุมมะฮฺ์ของท่านฟั ง ใน 1 อักขระ(แบบ)” แล้วท่านนบี ﷺก็กล่าวว่า “ฉันขออัลลอฮฺ์ให้ทรงอภัยและ ยกโทษ และแทจ้ ริงอุมมะฮข์ฺ องฉันจะไมส่ ามารถทาอย่างนั้นได้” แล้วญบิ รีลกม็ าเป็นครงั้ ที่สอง และ กล่าวว่า “อัลลอฮฺ์ใช้ให้ท่านอ่านอัลกุรอานให้อุมมะฮฺ์ของท่านฟั ง ใน 2 อักขระ(แบบ)” แล้วท่าน นบี ﷺกก็ ลา่ ววา่ “ฉันขออลั ลอฮใฺ์ ห้ทรงอภยั และยกโทษ และแทจ้ รงิ อุมมะฮ์ขฺ องฉันจะไม่สามารถทา อย่างนน้ั ได้”แลว้ ญิบรลี มาคร้ังทสี่ าม และกล่าวว่า “อัลลอฮใฺ ชใ้ ห้ท่านอ่านอลั กุรอานให้อมุ มะฮฺ์ของ ท่านฟั ง ใน 3 อักขระ” แล้วท่านนบี ﷺกล่าวว่า “ฉันขออัลลอฮ์ให้ทรงอภัยและยกโทษ อุมมะฮฺ์ของ ฉันจะไม่สามารถทาอย่างน้ันได้” แล้วญิบรีลก็มาเป็ นครั้งที่สี่ และกล่าวว่า “อัลลอฮฺ์ใช้ให้ท่าน อ่านอัลกรุ อานใหอ้ มุ มะฮฺของทา่ นฟั ง ใน 7 อกั ขระ ไม่วา่ อักขระใดที่พวกเขาอา่ น ก็ถูกตอ้ ง”” บนั ทกึ โดยมุสลมิ (822)
2 ท่านนบี ﷺได้รับอัลกุรอานมาท้ัง 7 แบบ เม่ือท่านสอนให้กับอาหรับเผ่าใด ท่านก็สอนใน แบบที่อาหรับเผ่าน้ันใช้กัน เพื่อให้เกิดความง่ายดายแก่พวกเขา หลังจากนั้นบรรดาเศาะหาบะฮฺ์ก็ นาเอาการอ่านแบบท่ีท่านนบี ﷺสอนให้พวกเขาฟั งไปสอนต่อ จากรุ่นสู่รุ่น สืบต่อกันมาจนถึงยุค ปั จจุบันตลอดทุกยุคสมัยมีผู้คนจานวนมากที่ต้องการรับใช้ศาสนา เดินทางไปร่าเรียนอัลกุรอาน และกลับมาสอนผู้คนเป็นจานวนมาก และมีผู้ท่ีได้รับการนับถือว่าเป็นอิหม่ามใหญ่เกิดข้ึนหลาย ท่าน ท่านอิหม่ามชาฏิบีย์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 590) ได้ทาการรวบรวมรายชื่ออิหม่ามท่ีมี สายรายงานระดับมุตะวาติร(ท่วมท้น) 7 ท่านไว้ในหนังสือ حرز الأماني ووجه التهانيหิรซุลอะมานียฺ์ วะวัญฮลุ ตะฮานียข์ฺ องท่าน ต่อมาเรยี กวา่ การอา่ น(กริ ออะฮ์)ทัง้ เจด็ มดี งั นี้ 1- การอ่านของท่านนาฟิอฺ์ อัลมะดะนีย์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 169) เป็นตาบิอฺ์ ตาบิอีน ท่านรับ การอา่ นจากตาบิอีน 70 คน และมีลกู ศิษย์ที่สาคญั สองท่านคอื กอลูนและวัรช์ 2- การอ่านของท่านอิบนุกะษีร อัลมักกีย์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 120) เป็นตาบิอีน มีลูกศิษย์ท่ี สาคัญสองท่านคือ อัลบซั ซีย์ และกนุ บลุ 3- การอ่านของท่านอบูอัมร์ อัลบัศรียฺ์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 154) มีลูกศิษย์ท่ีสาคัญสองท่าน คือ อดั ดรู ีย์ และอซั ซซู ีย์ 4- การอ่านของท่านอิบนุอามิร อัดดิมัชกีย์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 118) มีลูกศิษย์ท่ีสาคัญสอง ทา่ นคือ ฮชิ าม และอิบนซุ กั วาน 5- การอ่านของท่านอาศิม อัลกูฟีย์(เสียชีวิต ฮ.ศ. 120) เป็นตาบิอีน มีลูกศิษย์ที่สาคัญ สองท่านคอื ชุอฺ์บะฮ์ฺ และฮัฟศ์ 6- การอ่านของท่านหัมซะฮ์ฺ อลั กูฟีย์ (เสยี ชีวิต ฮ.ศ. 156) มีลกู ศิษย์ท่ีสาคญั สองท่านคือ เคาะลัฟ และคอ็ ลลาด 7- การอ่านของท่านอัลกิซาอีย์ อัลกูฟีย์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 189) มีลูกศิษย์ที่สาคัญสองทา่ น คือ อบลุ หารษิ และฮฟั ศ์ อดั ดูรียฺ์
3 และต่อมาอิหม่ามมุหัมมัด อัลญะซะรียฺ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 833) ได้เขียนหนังสือ ช่ือ النشر في القراءات العشرอันนะชรั ฟิล กริ ออาติล อะชัร และหนงั สือ طيبة النشرฏ็อยยบิ ะตุน นะชัร ได้เพ่ิมอิหม่ามที่มีรายงานระดับมุตะวาติรอีก 3 ท่าน กลายเป็น 10 ท่าน ต่อมาจึง เรียกว่า การอ่าน (กริ ออะฮ์)ฺ ท้งั สบิ และสามทา่ นทถี่ กู เพ่มิ เข้ามามีดังน้ี 1- การอ่านของท่านอบูญะอ์ฟั ร อัลมะดะนีย์ (เสียชีวิต ฮ.ศ. 130) มีลูกศิษย์ท่ีสาคัญสอง ท่านคอื อซี า บนิ วัรดาน และอิบนุญัมมาซ 2- การอ่านของท่านยะอ์กฺ ู๊บ อัลมิศรยี ์ มีลูกศษิ ยท์ สี่ าคัญสองท่านคอื รวุ ยั ซ์ และเราห์ 3- การอ่านของท่านเคาะลัฟ บินฮิชาม อัลบัซซาร อัลบัฆดาดียฺ มีลูกศิษย์ท่ีสาคัญสอง ท่านคอื อสิ หาก บินอบิ รอฮมี และอดิ รสี บนิ อบั ดลุ กะรีม ดังท่ีได้กล่าวถึงไปแล้วว่าเหตุผลหน่ึงท่ีอัลกุรอานถูกประทานลงมา 7 อักขระ เพ่ือให้เกิด ความสะดวก แตย่ งั มเี หตุผลอืน่ ๆ อกี ด้วย น่นั คือ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทกี่ ว้างขนึ้ ดงั นนั้ เม่ือเราไดศ้ ึกษาจากการอา่ นหลาย ๆ แบบกจ็ ะเขา้ ใจอัลกุรอานไดถ้ ูกต้องและลึกซงึ้ ย่งิ ข้นึ การอ่านอัลกุรอานถือเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของอุมมะฮฺ์นี้ ที่สามารถถ่ายทอดได้ทั้งถ้อยคา การอ่านในแบบต่าง ๆ และวิธีการอ่านท่ีถูกต้องมาต้ังแต่สมัยท่านนบีมาจนถึงยุคปั จจุบันน้ีได้ วธิ ีการการอ่านที่บรรดาเศาะหาบะฮฺไดร้ ับมาจากท่านนบี ต่อมาในภายหลังเรียกว่า ตจั ญว์ ีดน่ันเอง หลักการอ่านในแบบของอาศิมทร่ี ายงาน (ริวายะฮฺ) มาจากฮัฟศ์ หรือท่ีเรียกว่า ฮัฟศ์ อัน อาศิม ท่ี เป็นการอ่านท่ีแพร่หลายท่ีสุดในปั จจุบัน รวมทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียอาคเนย์ซึ่งทั้ง 10 กีรออาต 20 รีวายาต ก็ยังมี ตุรุก ( )الطُُرقอีกมากมายถึง 982 แนวทาง ซ่ึงในกีรออะห์ของ อาศิม รีวายะห์ ฮัฟศ์ ท่ีบ้านเรานิยมอ่านกันอยู่และคนทั่วโลกส่วนใหญ่นิยมอ่านกัน ก็มีแนวทาง ( )الطريقการอ่านมากถึง 56-58 แนวทาง แต่ที่บ้านเราใช้กันจริงไปเป็ นแค่แนวทางเดียวจาก แนวทางท้ังหลาย คือแนวทางการอ่านตามอหี มา่ มอัชชาฏิบีย์ ()الشاطبية อัลกุรอานไม่ได้เหมือนกับหนังสือเลม่ อ่นื ๆ ท่ีไปซ้ือมาจากร้านหนังสือ แล้วก็มาฝึกอา่ น เองท่ีบ้านได้ ผู้เรียนทุกคนต้องมีครู ต้องรับความรู้มาจากปากของครู ต้องฟั งครูอ่าน ให้ ครคู อยชแ้ี นะ และคอยปรบั แก้เวลาท่อี ่านผิด
4
5 ความแพรห่ ลายของบางกริ ออาตในบางสถานทีใ่ นแตล่ ะสมยั 1. สมัยก่อนการปรากฏตัวของอิบนุ มุญาฮดิ (เกดิ : ฮ.ศ. 245) ก่อนการปรากฏของอิหม่าม อิบนุ มุญาฮิด (ปราชญ์ผู้มีชื่อเสียง ผู้ทรงสถาปนาเจ็ดกิรอ อาต) และหนังสือของเขา “อัสสับอะฮ์” ในปี 300 ฮ.ศ. ประเทศอิสลามในเวลาน้ันได้ใช้เจ็ดกี ราอาตอนั มชี ื่อเสียง แตม่ ีเพยี งบางส่วนเท่านนั้ ทม่ี อี ิทธพิ ลเหนือกว่าในเวลาน้นั มักกี บิน อบีฏอลิบ กล่าวว่า: “มนุษย์ทุกคนในปลายศตวรรษที่ 2 ฮ.ศ., เมืองบัศเราะฮ์ ได้ ใช้หลักการอ่านกริ ออาตของ อบูอัมร์และยะอ์กบู เมืองกูฟะฮ์ ใช้หลักการอ่านกิรออาตของหัมซะฮ์ และอาศิม เมืองชาม(ซีเรีย) ใช้หลักการอ่านกิรออาตของอิบนุ อามิร เมืองมักกะฮ์ใช้หลักการอ่าน กิรออาตของอิบนุกะษีร เมืองมะดีนะฮ์ใช้หลักการอ่านกิรออาตของนาฟิอ์ สถานการณ์ยังคง ดาเนนิ ต่อไปจนถึงปลายศตวรรษที่ 3 อบิ นุ มุญาฮิด ไดป้ ้อนชือ่ อัลกีซาอีย์แทนยะอ์กบู 2. สมัยอิบนุ มญุ าฮิด (300-324ฮ.ศ.) เมืองกูฟะฮ์ กิรออาตอาศิม จากสายรายงานของหัฟศ์น้ันแพร่หลายในหมู่ชาวกูฟะฮ์ น้อย กว่าสายรายงานของชุอบะฮ์ท่ีมีชื่อเสยี งและแพร่หลายมากกว่า สว่ นระหวา่ งกิรออาตอาศมิ และหัม ซะฮ์ กริ ออาตหมั ซะฮม์ ีช่อื เสียงมากกว่าในเมอื งกฟู ะฮ์ อิบนุ มุญาฮิด กล่าวว่า : “กิรออาตอาศิมเป็นที่นิยมในบางพื้นที่ของชาวกูฟะฮ์ แต่ไม่ใช่ ส่วนใหญ่ในหมู่พวกเขา สืบเน่ืองจากว่า ความแม่นยาในบรรดาผู้ท่ีอ่านจากกิรออาตอาศิม คือ อบูบักร์ บินอัยยาช (ชุอ์บะฮ์) เพราะท่าน (ชุอ์บะฮ์) ได้ศึกษาจากอาศิม ด้วยครั้งละห้าอายัต - ห้าอายตั และชาวกูฟะฮไ์ ม่อ่านกีรออาตอาศมิ จากใคร ยกเวน้ จากอบบู กั ร์ บินอยั ยาช (ชุอบ์ ะฮ์) ดังน้ัน อบูบักร์ บินอัยยาช (ชุอ์บะฮ์) จึงไม่สามารถหักห้ามจากชาวกูฟะฮ์ที่เข้าหาตน เพ่ือ ต้องการอ่านกิรออาตจากท่าน ด้วยสาเหตุนี้ จึงทาให้กิรออาตอาศิมมีความนิยมลดน้อยลงใน เมอื งกูฟะฮ์ และทา่ นชอุ บ์ ะฮไ์ ดย้ กยอ่ งและให้เกยี รตทิ ุกคนท่อี า่ นอย่างถูกตอ้ งกบั ท่าน และการอ่าน กริ ออาตหัมซะฮ์ บินหะบีบ อซั ซัยยาต จึงมีอทิ ธิพลตอ่ ชาวกฟู ะฮ์ในสมยั นั้น” 3. ศตวรรษที่ 5 ของฮิจเราะฮ์ กิรออาตยะอ์กูบได้แพร่หลายในหมู่ชาวบัศเราะฮ์ ด้วยเหตุน้ีสามารถอนุมานได้จากคาพูด ของอัลอิหม่าม อบูอัมร์ อัดดานีย์ (371-444 ฮ.ศ.); “ชาวบัศเราะห์ได้รับการชี้นาโดยเลือกท่ีจะ อ่านกิรออาตยะอ์กูบ หลงั จากอบูอัมร์ ดังนน้ั พวกเขาหรือส่วนใหญจ่ งึ ปฏิบตั ิตามหลกั การอ่านกิรอ อาตของยะอ์กูบ และฉันเคยได้ยิน ฏอฮิร อิบนุ ฆอลบูน (เสียชีวิต 399H) กล่าวว่า \"ยะอ์กูบ อหิ มา่ มในเมอื งบัศเราะห์ (ชาวบัศเราะห์)ไม่ได้อ่านกริ ออาตใดๆ ยกเว้นกริ ออาตยะอ์กูบ \"
6 4. เมอื งชาม(ซเี รยี ) สาหรับชาวชามแล้ว พวกเขายังคงอ่านกิรออาตอิบนุ อามิร จนส้ินสุดศตวรรษท่ี 5ฮ.ศ. แลว้ จนกระท่งั หนงึ่ ในอิหมา่ มกิรออาต ชอื่ อิบนุ ฏอวสู ได้ปรากฏข้นึ ทา่ มกลางพวกเขา ทา่ นมีความ ตั้งใจท่ีจะอ่านกริ ออาตจากสายรายงานของดูรี จากอบูอัมร์ และได้อ่านให้กับชาวชาม จากน้ันการ แพรห่ ลายเร่มิ กระจาย จนกระท่งั ความนิยมของกิรออาตอิบนุอามีรไดห้ ายไป ตามที่อิบนุ อลั ญะซะรยี ไ์ ด้กล่าว ; “และชาวชามโดยรวมแลว้ ยังคงยดึ มน่ั ในการอา่ นกริ ออาตอิบนอุ ามรี ไม่ว่าจะเป็นการอา่ นติลาวะฮ์ ในละหมาดและการตะลกั กยี ์ (คอื การอา่ นกบั ครูโดยตรง) จนถึงเกือบปี 500ฮ.ศ. และบคุ คลแรกที่ อ่านกิรออาตอบูอัมร์ เมอื งชาม ก็คือ อิบนุ ฏอวสู ” 5. ทวีปแอฟริกา อิหม่ามวัรช์ (110-197ฮ.ศ.) เป็นปราชญ์แห่งการอ่านอัลกุรอ่านในอียิปต์ ท่านเดินทางไป ยังมะดนี ะฮ์และได้ตะลกั กีย์ (คือการอ่านกับครโู ดยตรง) กับนาฟิอ์ คติ ามจบสค่ี ร้ัง เมอ่ื ทา่ นกลับมา ยังอียิปต์ ท่านได้เร่ิมเผยแพร่สายรายงานหลักการอ่านกิรออาตของนาฟิอ์ ให้กับผู้คนที่น่ัน และ จากผลงานของท่านยังมีการแพร่กระจายกิรออาตของนาฟิอ์ ไปยังตะวันตกของประเทศอาหรับ และประเทศอิสลามส่วนใหญใ่ นแอฟริกา สาเหตุอ่ืนๆ ที่ทาให้การแพร่กระจายกิรออาตของนาฟิอ์ไปทางทิศตะวันตกก็เพราะกิรออา ตของนาฟิอ์ เป็นกิรออาตสาหรบั อิหม่ามมซั ฮับของพวกเขาใน ฟิกฮ์ นั่นคอื อหิ มา่ มมาลิก บินอนัส เราะหิมะฮุลลอฮ์ (มัซฮับมาลิกี) เช่นเดียวกับที่ผู้คนในทวีปตะวันตกของอิสลาม (มัฆริบียยะฮ์) ได้รับฟิกห์ของชาวมะดีนะฮ์ พวกเขากไ็ ดร้ บั การอา่ นกิรออาตเชน่ กัน แต่ไม่ใช่สาหรับชาว \"อัลมัฆริบ อัลอัดนา\" (พื้นท่ีในแอฟริกาเหนือท่ีครอบคลุมตะวันตก ของลเิ บยี ตูนเิ ซยี และแอลจีเรียตะวันออก) และพนื้ ทอี่ น่ื ๆ ในแอฟริกา ซงึ่ ได้ปฏบิ ัติ ณ เวลาน้ันคือ กิรออาตนาฟิอ์ จากสายรายงานของกอลนู เนื่องจากสายรายงานน้ันง่ายกว่า ไม่มีมัด (เสียงยาว) และไม่มีอิมาละฮ์ (การอ่านออกเสียงสระเอแทนสระอาหรือสระอี) และตักลีล (การอ่านออก เสียงอะลิฟระหวา่ งสระฟั ตหะฮก์ ับอมิ าละฮ์) ทพ่ี บในสายรายงานของวัรช์ กริ ออาตของนาฟิอ์ จากสายรายงานวรั ช์ มีอทิ ธพิ ลต่อชาวอยี ิปตอ์ ย่ปู ระมาณ 200-300 ปี
7 6. ศตวรรษท่ี 6-12 ฮิจเราะฮ์ กิรออาตของอบู อัมร์ จากสายรายงานอัดดูรี เร่ิมแพร่กระจายไปทว่ั โลกอิสลามในเวลานั้น ไมเ่ พยี งเฉพาะในเมอื งชามเท่านั้น แต่ยังเร่มิ ปฏิบัติใช้โดยชาวอิรัก ฮิญาซ(ตงั้ อยทู่ างตะวนั ออกของ ทะเลแดง) เยเมน อียิปต์ ซูดาน แอฟริกาตะวันออก สถานการณ์น้ีได้รับการยืนยันโดยอิหม่าม อบิ นุ อัลญะซะรยี ์ (751-833ฮ.ศ.): “แท้จริงการคาดการณ์เป็นจริง ดั่งที่ชุอ์บะฮ์ (เสียชีวิต ฮ.ศ.193)กล่าวไว้ กิรออาตท่ีทุกคน ปฏบิ ัติในวันนี้ (ณ เวลาน้นั ) ในเมืองชาม ฮิญาซ เยเมนและอยี ปิ ต์ คอื กริ ออาตของอบู อัมร์ ไม่พบ ใครที่อา่ นอลั กุรอานยกเว้นกิรออาตของอบู อัมร์ นบั วา่ เป็นหนง่ึ ในกะรอมะฮ์ของชุอบ์ ะฮ์\" ทัง้ น้ี เพราะอบิ นุ มุญาฮิดไดร้ ายงานในหนังสอื อัสสบั อะฮ์ วา่ วะห์บ บินญะรรี ์ ได้รบั รายงาน จากชุอ์บะฮ์ว่า: \"จงยึดมั่นกับกิรออาตของอบู อัมร์ เพราะแท้จรงิ มันจะเป็นทีย่ ึดม่ันของมนุษยชาติ ทัง้ หมด\" ในทานองเดยี วกนั กบั คาพูดของเชค อะลี อฎั เฎาะบาอ์ (ปราชญ์แห่งการอ่านอัลกรุ อ่านใน อียิปต์) : \"แล้วได้เป็นท่ีนิยมของพวกเขา (ชาวอียิปต์) หลังจากสายรายงานวัรช์ จากนาฟิอ์ คือ กิ รออาตของอบู อัมร์ และยงั คงได้รบั การปฏบิ ัติ ทงั้ ในการอา่ นและเขยี นในมศุ หัฟของพวกเขา จนถึง กลางศตวรรษท่ี 12ฮ.ศ. แล้วแทนท่ี (กริ ออาตของอบู อมั ร)์ ด้วยกริ ออาตอาศมิ บนิ อบี อนั นะญูด อลั กูฟีย์ \" 7. การแพร่หลายของสายรายงานหัฟศ์ จากอาศิม เชค ตะมีม อัซซุอ์บีย์ กล่าวว่า \"แท้จริงแล้ว ในช่วงเวลาที่กิรออาตอบู อัมร์ได้แพร่หลายไป ในประเทศต่างๆ เช่น อิรัก ฮิญาซ เยเมน ซีเรีย อียิปต์ ซูดาน และแอฟริกาตะวันออก มันเป็ น ประวัติศาสตร์ของหัฟศ์ ที่เร่ิมเผยแผ่โดยชาวตุรกี . เม่ือจักรวรรดิออตโตมันเร่ิมขยายอานาจโลก อิสลามส่วนใหญ่ พวกเขาได้ส่งบรรดาอิหม่าม ผู้พิพากษา และนักอ่านอัลกุรอ่านไปยังทวีป ตะวนั ออก ดงั นนั้ ความนยิ มของกริ ออาตหฟั ศ์ อนั อาศมิ ได้ใชก้ ันอยา่ งแพร่หลาย เชน่ เดียวกับการ แพร่กระจายโดยผ่านมุศหัฟอัลกุรอ่าน ซ่ึงเขียนโดยจักรวรรดิออตโตมันด้วยสายรายงานหัฟศ์ จากอาศมิ ดังน้ันสายรายงานหัฟศ์ จากอาศิม ได้เข้ามามีบทบาทแทนที่กิรออาตอบู อัมร์ อัลบัศรีย์ เนื่องจากสาเหตูน้ีเอง ได้นาไปสู่การกีดขวางการแพร่กระจายของสายรายงานอัดดูรีย์ จึงไม่มั่นคง อยอู่ กี ต่อไป ยกเวน้ ในเยเมน ซดู าน และในจะงอยแอฟริกา (โซมาเลีย ซูดาน และเอธโิ อเปีย) \" จักรวรรดิออตโตมันยังยึดม่ันในมัซฮับฟิกห์ของอิหม่ามอบูหะนีฟะฮ์ (มัซฮับหะนะฟีย์) ดังน้ัน โดย การปฏิบัติตามฟิกฮ์หะนะฟีย์ พวกเขาจึงยึดเหน่ียวในการอ่านอัลกุรอ่านของอิหม่ามอบูหะนีฟะฮ์ เชน่ กัน นั่นคือ กริ ออาตอาศมิ อลั กูฟีย์
8 ในขณะท่ีทางตะวันตกของประเทศอิสลาม ซ่ึงอานาจของออตโตมันอยู่ห่างไกลจากพวก เขา สายรายงานของหัฟศ์ จึงไม่สามารถเข้าถึงพวกเขาได้ โดยเฉพาะจากการยึดม่ันของฟิกห์มา ลกิ ีย์ ซึง่ เป็นอะฮ์ลลู มะดีนะฮ์ท่ีพวกเขาปฏบิ ัตใิ ช้กิรออาตนาฟิอ์ อัลมะดะน.ี 8. กรี ออาตทีป่ ฏิบตั กิ ันในปั จจบุ นั ท่านอิบนุ อาชรู ในตัฟซรี \"อัตตะหร์ ีร วะ อัตตันวรี \" ได้กล่าวว่า \"กิรออาตทถี่ กู นามาปฏิบัติใช้ในโลกอิสลามในวนั น้ี คอื ; 1) กิรออาตนาฟิอ์ จากสายรายงานของกอลูน ในพ้ืนที่ของประเทศตูนิเซียบางพื้นท่ีใน อียิปตแ์ ละลเิ บีย 2) และจากสายรายงานของวัรช์ ถูกใช้ในบางพื้นที่ของตูนิเซีย บางส่วนของอียิปต์ และ ประเทศแอลจีเรยี และโมร็อกโค ซูดานและอนื่ ๆ 3) และกริ ออาตอาศมิ จากสายรายงานของหัฟศ์ ถกู ใชไ้ ปทัว่ ทวีปตะวันออกพื้นทีส่ ว่ นใหญ่ ในอียปิ ต์ อนิ เดยี ปากีสถาน ตรุ กแี ละอัฟกานิสถาน 4) และกริ ออาตอบูอัมร์ อัลบศั รยี ์ ถกู อ่านในซูดาน” สาหรับท่ีหฎั เราะเมาต์ เยเมน ท่านอัซซัยยดิ อลั วี บนิ ซาลิม ไดก้ ล่าวไว้วา่ ในหัฎเราะเมาต์ ท่ีปฏิบัติใช้กันในปัจจุบัน มีอยู่ 3 สายรายงาน ได้แก่ สายรายงานอัดดูรีย์ จากอบู อัมร์ สายรายงานของกอลนู จากทา่ นนาฟิอ์ และสายรายงานของหฟั ศ์ จากอาศิม 9. เอเชยี อาคเนย์ ในแถบเอเชียอาคเนย์ ประชากรท้ังหมดนามาปฏิบัติใช้กัน คือ กิรออาต อาศิม จากสาย รายงานหัฟศ์ ตามแนวทางของอัชชาฏิบียะฮ์ ถึงกระน้ันก็ตาม แนวทางอัฏฏ็อยยิบะฮ์ (ที่มีการอ่าน ก็อสร์ มุนฟะศิล ด้วย 2 หะเราะกะฮ์ สาหรับมัด ญาอิซ มุนฟั ศศิล) ก็ได้แพร่หลายและทาให้มี ชื่อเสียงโดยนกั อ่านและอหิ ม่าม วัลลอฮอุ ะอล์ ัม. ดไู ฟล์เสยี งที่อ่านด้วยกิรออาตตา่ งๆได้ที่.. https://audio.islamweb.net/audio/index.php?page=rewaya&page=rewaya กิรออะฮฺนาฟิอฺ ด้วยรวิ ายะฮฺวัรชฺ ورش عن نافع ฟั งไฟล์เสยี งทนี ี https://audio.islamweb.net/audio/index.php?page=souraview... ทีม่ า ตจั วีดอยา่ งง่าย
9
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: