Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เหตุการณ์งดละหมาดที่มัสยิดต่างๆ ในประวัติศาสตร์

เหตุการณ์งดละหมาดที่มัสยิดต่างๆ ในประวัติศาสตร์

Published by Ismail Rao, 2021-08-07 14:30:27

Description: เหตุการณ์งดละหมาดที่มัสยิดต่างๆ ในประวัติศาสตร์
○ บทความโดย บารออ์ นิซาร ไรยาน
อาจารย์ด้านหะดีษ สาขาอุศูลุดดีน มหาวิทยาลัยอิสลาม กาซ่า
แปลโดย ดร.ฆอซาลี เบ็ญหมัด

Search

Read the Text Version

0

1 \"มีโรคระบาดคร้ังยงิ่ ใหญ่เกดิ ข้ึนในบา้ นเมืองนี้ ผคู้ นทผ่ี ่านไป พวกเขาเห็นแตต่ ลาดท่วี า่ ง เปลา่ ถนนท่ีวา่ งเปล่า และประตทู ีป่ ดิ และมสั ยดิ ส่วนใหญ่ก็วา่ งเปลา่ \" ดว้ ยคำพูดเหลา่ นี้ อิหมา่ มอบิ นุอลั เจาซยี ์ (เสียชวี ิต ค.ศ.1200 ) นักประวัติศาสตร์ อธิบายให้ เหน็ ถึงการแพรข่ องโรคระบาดท่เี กิดขน้ึ ในปี ฮ.ศ. 449/ค.ศ.1057 และทำใหโ้ ลกในเวลานัน้ และชีวิต ของผู้คนเต็มไปดว้ ยความหวาดกลวั เหมือนกับภาพของโลกอันเนือ่ งการระบาดของโควดิ 19 ใน วันนี้ การแพร่ระบาดครั้งใหมน่ ้ีส่งผลกระทบตอ่ รายละเอียดของโลกของเรามากที่สดุ โลกหยุด การทำงาน ชะลอการศกึ ษา เลอื่ นการเดนิ ทาง ลม้ เลิกแผนการทีว่ างไว้ และทำใหพ้ วกเขาทอ่ี ยู่บ้าน เดียวกนั ตอ้ งกระจัดกระจายในขณะที่กกั ตัวอยใู่ นบ้าน อยา่ งไรกต็ าม ชาวมุสลิมไมเ่ ห็นด้วยและไม่สับสนเกย่ี วกับส่งิ นี้ เหมอื นกับความสบั สน เกย่ี วกับปญั หารปู แบบการละหมาดของพวกเขา ท้งั ละหมาดวนั ศกุ ร์และละหมาดญามาอะฮ์ ทพ่ี วก เขารวมตวั กนั ท่ีมสั ยิดวนั ละ 5 ครง้ั ในขณะทร่ี ัฐบาลของประเทศอิสลามส่วนใหญเ่ หน็ ด้วย - แมว้ ่าจะมีความแตกต่างทางการ เมือง - แต่ก็เหน็ พอ้ งกนั ในการปดิ สถานทีช่ ุมนุมทัง้ หมดรวมถงึ มสั ยิดและศาสนสถาน โดยความ เหน็ ชอบของสภาฟิกฮแ์ ละสภาฟตั วาจำนวนมาก ทา่ มกลางการคัดคา้ นของนกั ฟกิ ฮ์และนกั เผยแผ่ ศาสนาจำนวนหนงึ่ อย่างไรกต็ าม ทุกคนเหน็ ด้วยกับการถอื วา่ การปิดมสั ยดิ เป็นเร่อื งกระทบกระเทือนหวั ใจ ของชาวมุสลมิ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ภาพของกะอบฺ ะห์และลานเตาวาฟทป่ี ราศจากผู้คนมาทำพิธีเตา วาฟ พิธีละหมาด สุหยดุ หรือรุกั๊วะ ทงั้ นี้ หนังสือนติ ศิ าสตร์อิสลามและประวตั ิศาสตรอ์ ิสลาม ได้ถ่ายทอดข้อเท็จจรงิ และ เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ มากมาย ทยี่ ืนยันการงดละหมาด ทง้ั ละหมาดวันศุกร์และละหมาดญามาอะฮด์ ว้ ย เหตุผลหลายประการ ซ่ึงหนึง่ ในนน้ั คือการแพร่ระบาดของโรค รวมถึงการงดละหมาดในมสั ยดิ หะ รอมมกั กะฮ์และมาดนี ะฮ์ ตลอดจนมัสยิดอักซอ จดุ ประสงคข์ องบทความนีค้ อื การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงทีโ่ ดดเดน่ ทีส่ ุดและตรวจสอบสาเหตุ ทส่ี ำคัญที่สดุ โดยไม่เน้นรายละเอยี ดของการถกเถยี งในประเด็นหลักนติ ศิ าสตร์อิสลาม

2 ○การงดไปมัสยิดในส่วนของปจั เจกบคุ คลในระดบั ปัจเจกบุคคลชาวมุสลมิ หนงั สอื กฎหมายอสิ ลามมากมายกลา่ วถงึ รายละเอียด กรณีอนโุ ลมงดไปมสั ยิดและการขาดการเข้ารว่ ม ละหมาดวันศุกร์และละหมาดญามาอะฮ์ หากกลวั ว่าจะเปน็ อันตรายต่อตวั เองหรอื คนอ่นื ๆ ไมว่ ่า ดว้ ยเหตผุ ลเก่ยี วกับโรคร้าย ความปลอดภยั ภยั ธรรมชาติ หรือผลกระทบทางจติ ใจ หนงั สือฟกิ ฮ์ในมซั ฮับต่างๆ ไดก้ ล่าวถึงเรอื่ งน้ี ในบรรดาบุคคลแรกสุดท่ีอธบิ ายเรื่องน้ี คอื อิหม่ามอัล ชาฟอี ยี ์ (เสียชีวติ ฮ.ศ.204/ค.ศ.819 ) ได้ขยายรายละเอยี ดเกยี่ วกับเหตผุ ลต่างๆ ทอี่ นโุ ลมใหง้ ดไป ละหมาดวันศกุ รไ์ ด้ โดยหลกั แลว้ เปน็ เหตุผลด้านสุขภาพอนามัย สิ่งท่ีประหลาดทีส่ ุดทอ่ี ิหม่ามพดู ถงึ คือ การงดไปละหมาดวนั ศุกร์เพราะกลัวอำนาจทางการเมืองอิหม่ามอลั ชาฟอี ยี ์กล่าวใน หนงั สือ \"อลั อุมม์\" วา่ \".‫\"إنكان خائفا إذا خرج إلى الجمعة أن يحبسه السلطان بغير حقكان له التخلف عن الجمعة‬ \"ถา้ เขากลัวว่าถา้ ออกไปรัฐจะกักขงั เขาโดยไม่ชอบธรรม เขามสี ิทธงิ ดไปละหมาดวนั ศกุ ร์\" ทนี่ ่ารกั กว่านัน้ หนึ่งในเหตุผลงดไปละหมาดวนั ศุกร์ กรณีลูกหนี้ทไ่ี ม่สามารถหาเงนิ มาชำระหนีไ้ ด้ และกลวั ว่าเจ้าหนจ้ี ะคกุ คามและกกั ขงั โดยอลั ชาฟีอยี ์ที่กลา่ ววา่ ใน \"อัลอุมม์\" ว่า ‫وإنكان تغيّبه عن غريم لعُسرة َوِسَعه التخلّف عن الجمعة‬ \"ลูกหน้ที ี่ไม่สามารถหาเงนิ มาชำระหน้ีได้ มสี ทิ ธงิ ดไปละหมาดวันศุกร์\" ในทางกลบั กัน นักกฎหมายอิสลามอนุญาตใหเ้ จ้าหนีง้ ดเว้นละหมาดญามาอะฮ์ได้ ถา้ เขา กลวั การหายตวั ไปของลกู หน้ีและเสยี สิทธิของเขา เน่ืองจากอหิ ม่ามบัดรดุ ดนี อัลอัยนีย์ ( เสยี ชีวิต ฮ. ศ. 855/ค.ศ.1451 ) ในหนังสือ \"อมุ ดะตุลกอรี ฟีชรั ห์ ศอเหียะห์ อลั บุคอรีย\"์ วเิ คราะหบ์ ทบัญญัติ จากหะดษี บทหนึง่ ว่า ‫جواز التخلف عن الجماعة خوف فوات الغريم‬ \"อนญุ าตให้เจา้ หนี้งดเว้นละหมาดญามาอะฮ์ได้ ถ้าเขากลวั การหายตวั ไปของลูกหน้ี\" ปราชญ์จำนวนไมน่ ้อยอนุญาตให้งดการเขา้ ร่วมละหมาดที่มัสยิด เพราะกลวั ความวนุ่ วายทาง การเมอื งหรอื อ่นื ๆ ดังทอี่ ิหม่ามซะฮะบีย์ (เสยี ชีวิต ฮ.ศ.748/ค.ศ.1347) รายงานใน \"ซิยัรอะลาม นบุ ะลาอ\"์ - จากมตุ ริบ บินอบั ดุลลอฮ์ อชั ชกุ ยั รี (ฮ.ศ.95/ค.ศ.713 ) วา่ \"เม่ือผคู้ นเข่นฆา่ กนั กจ็ งอยู่ กับบ้าน ไม่ตอ้ งไปละหมาดวนั ศุกรห์ รือละหมาดญามาอะฮ์ร่วมกบั ผคู้ นจนกว่าสถานการณ์จะ คล่คี ลาย\"

3 บางทีแนวปฏบิ ัตขิ องอิหม่ามผยู้ ิ่งใหญ่คนนใ้ี นการงดละหมาดวันศุกรแ์ ละละหมาดญามาอะฮ์ กรณกี ลวั ว่าจะไดร้ ับอนั ตรายรา้ ยแรง เป็นพ้ืนฐานในการงดละหมาดวนั ศุกรแ์ ละละหมาดญามาอะฮ์ ไว้สำหรับทกุ กรณที ส่ี ามารถนำมาซึง่ ความเสียหายร้ายแรง มีรายงานวา่ ทา่ นอิหมา่ มมาลกิ ปฏิบัติ แนวน้ี โดยในบั้นปลายชวี ิต ทา่ นละหมาดทีบ่ า้ นและไม่ได้ไปละหมาดทีม่ สั ยดิ นาบาวี เปน็ เวลาถึง 18 ปี ดังที่อลั กรุ ตูบี ( ฮ.ศ. 672 ) ที่กลา่ วไว้ในหนังสือ \"อตั ตัซกเิ ราะฮ์\" ในทำนองเดียวกัน นักวิชาการบางคนกระทำในการประทว้ งต่อต้านการบังคับใชอ้ ำนาจ ของราชวงศอ์ บั บาสิด ในรัชสมยั ของคอลฟี ะฮอ์ ัลมะมูน ( ฮ.ศ.218/ค.ศ.833 ) ให้คนเช่อื ว่า \"อลั กุรอานเป็นมคั ลกู '' ดงั ทอี่ ิบนุอยั บัก อดั ดะวาดะรยี ์ (เสยี ชีวิตหลงั ฮ.ศ. 736/ค.ศ.1335 )กล่าวใน หนงั สือ ‫ كنز الدرر وجامع الغرر‬ว่า ในปี ฮ.ศ.218/ค.ศ. 833 เกดิ วกิ ฤติใหญ่ และเกดิ ทัศนะวา่ \"อลั กรุ อานเป็นมคั ลูก-สิง่ ที่อัลลอฮส์ ร้างข้ึน'' ผเู้ หน็ ตา่ งถูกประหารชีวิต ทำให้อลุ ามาอ์และผนู้ ำศาสนา ต่างพากันกกั ตวั อยแู่ ต่ในบา้ น ไมอ่ อกไปละหมาดญามาอะฮใ์ นมสั ยิด และมผี ู้ถกู ฆ่าจำนวนมาก\" อย่างไรกต็ าม การทบ่ี ุคคลหนงึ่ หรือคนจำนวนเล็กนอ้ ยละทง้ิ การละหมาดวันศกุ รแ์ ละ ละหมาดญามาอะฮ์ แตกต่างจากการปดิ มัสยิดท่ปี ระชาชนทุกคนต้องละทิ้งการละหมาดวนั ศุกร์ และละหมาดญามาอะฮ์ ดว้ ยเหตนุ ี้ แม้ว่านักฟิกฮย์ ุคกอ่ นๆ ไมไ่ ด้วินิจถึงเรอื่ งนี้ แต่มันกเ็ คยเกิดข้ึน มาแลว้ หลายครั้งในประวัติศาสตร์อิสลาม ● โศกนาฏกรรมแอมมาอสุ โศกนาฏกรรมคร้ังใหญเ่ กดิ ขน้ึ ในชว่ ง “ ภยั พบิ ตั ิแห่งเอมมาอูส” (หมบู่ า้ นในปาเลสไตน์ที่ ตงั้ อยู่ประมาณ 28 กม. ทางตะวนั ออกเฉยี งใต้ของจาฟฟาและถูกทำลายโดยชาวยิวในปี ค.ศ 1967) และระบาดไปทวั่ แควน้ ชาม ในปี ฮ.ศ.18/ค.ศ.639 ทำให้ซอฮาบะฮ์และตาบิอนี จำนวนไม่น้อยต้อง เสียชีวิต จนกระทง่ั คอลีฟะฮอ์ ุมรั บินคอ๊ ฏฏอบ (เสียชีวิต ฮ.ศ.23/ค.ศ.643 ) สาบานว่าจะไม่ลิม้ รส ไขมนั นมหรอื เนื้อสัตว์ จนกวา่ ผคู้ นจะมีชวี ิตรอด ดังที่อิบนุอะษรี (เสยี ชวี ติ ฮ.ศ.630 /ค.ศ.1232 ) นกั ประวตั ิศาสตร์ รายงานในหนงั สอื ของเขา \"อลั กามลิ ฟิตตารีค\" แตเ่ ร่อื งราวเกีย่ วกบั รายละเอยี ด ในชีวิตประจำวัน รวมถึงการละหมาดญามาอะฮแ์ ละละหมาดวันศกุ ร์ เป็นสิ่งทหี่ ายากมาก แต่ ผู้เขียนพบเรอ่ื งราวที่น่าสนใจเกีย่ วกับจดุ จบของโศกนาฏกรรมแอมมาอูสตามทีป่ รากฏอยูใ่ น หนงั สอื ยคุ โบราณ

4 อหิ ม่ามอะหมดั บนิ หัมบัล (เสียชวี ติ ฮ.ศ.241 / ค.ศ.855 ) ในหนงั สือ \"อัลมุสนัด\" รายงาน หะดีษจากชัรห์ บนิ เฮาชบั (เสยี ชวี ิต ฮ.ศ. 112 / ค.ศ.730 ) ซง่ึ เลา่ จากพ่อเลี้ยงของเขาว่า \"เขาได้ เห็นกาฬโรคระบาดในแอมมาอสู ซ่ึงมี อบูอบุ ัยดะฮ์ บินจัรรอห์ เป็นผู้ปกครอง เสยี ชีวติ เพราะโรค ระบาดน้ี หลงั จากคนผู้คนไดม้ อบอำนาจการนำแกอ่ ัมร์ บินอาศ(เสียชีวติ ฮ.ศ.43 /663 ) เขาได้ยืน ขน้ึ แล้วกล่าวว่า \"โอ้ทา่ นท้งั หลาย ความเจบ็ ปวดน้เี ม่ือมันเกดิ ขน้ึ ก็จะลุกลามเหมอื นไฟ ดังนัน้ พวก ทา่ นจงแยกยา้ ยกันออกไปอาศยั อยูต่ ามภูเขา\" บางสำนวนกล่าวว่า \"พวกทา่ นจงแยกย้ายหนีจากมัน ออกไปอาศยั อยูต่ ามภูเขาและลุ่มนำ้ โอเอสิส\" อบูวาษิละฮ์ อลั ฮซุ ะลีย์ กล่าวข้ึนว่า \"คนโกหก ตอนที่ ฉันเป็นสาวกผ้ศู รทั ธาตอ่ ท่านศาสนทูต ท่านยงั เลวกว่าลานข้ี องฉัน\" (เขาตำหนิทีอ่ ัมร์เข้ารบั อสิ ลาม ลา่ ช้า ) อัมรจ์ ึงกล่าวว่า \"ฉันจะไมต่ อบโตท้ า่ น ขอสาบานต่ออลั ลอฮ์ เราจะไม่อย่ทู ี่น่\"ี แลว้ ท่านก็ ออกไป ผู้คนจงึ พากันแยกย้ายกันไป จนกระทงั่ อัลลอฮ์ได้ใหโ้ รคระบาดดังกล่าวหายไปในที่สดุ ผเู้ ล่า กล่าวต่อวา่ เม่อื ความทราบไปถงึ ทา่ นอุมัรเกี่ยวกับนโยบายของอมั ร์ ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ ท่านอุมรั ไม่ไดป้ ฏิเสธแตอ่ ยา่ งใด \" ความจรงิ กค็ อื เรอื่ งเล่าน้ี มีรายงานขดั แย้งกันวา่ ผคู้ นยอมรบั ความคดิ เห็นดังกลา่ วของอมั ร์ บินอาศ หรอื ไม่ แต่การสนิ้ สดุ ของภยั พิบัตินน้ั เพราะการกระทำเชน่ น้นั เป็นเรือ่ งทส่ี มเหตุสมผล มากกวา่ และคำพดู ทว่ี ่า \"แยกยา้ ยกันไปอยตู่ ามภเู ขาสูง ตามเสน้ ทางในหลืบเขา หรอื ลุ่มน้ำโอเอสิส \"ปรากฏอยอู่ ย่างดาษดน่ื ด้วยสายรายงานทแ่ี ตกตา่ งกนั ท้งั ในตำรา \"ตะห์ซีบ อัลอาษาร\"์ ของ อัตตอ บารยี ์ และในตำรา \"อัศศอเหยี ะห์\" ของอิบนุคซุ ยั มะฮ์ (เสยี ชวี ติ ฮ.ศ.311/ค.ศ.923) และอิบนุหิ บบาน (เสียชีวติ ฮ.ศ.354/ค.ศ. 965) ดังน้ันตามความร้ขู องเรา อัมร์ บินอาศ ถอื เป็นคนแรกที่เรียกร้องให้มกี ารแยกกลมุ่ เพ่ือ เผชญิ หนา้ กบั โรคระบาด ไปอาศัยอยตู่ ามยอดเขา และลุ่มนำ้ โอเอสสิ เพื่อปอ้ งกันโรค ดงั น้นั จึงไม่ ต้องสงสยั เลยว่าจะมกี ารละหมาดวนั ศุกร์ เพราะไมม่ หี ลกั ให้ปฏิบตั นิ อกจากในชุมชน หมบู่ ้าน หรือ ในเมือง ในแง่ของรายงานท่ขี ดั แยง้ กนั ว่าผ้คู นทใ่ี ช้หรอื ปฏเิ สธความเห็นของอมั ร์ บินอาศ ผู้นำของ พวกเขา เราไม่สามารถม่ันใจไดว้ า่ สาวกของท่านนบี และตาบอิ นี ผู้ท่อี ยู่กบั พวกเขา ได้ละทิง้ ละหมาดญามาอะฮแ์ ละละหมาดวนั ศกุ ร์ อนั เนื่องจากการเกิดโรคระบาด แตเ่ รามหี ลักฐานการ เรยี กรอ้ งใหง้ ดต้งั แต่ยคุ ของพวกเขา

5 เหตผุ ลในการประทว้ งความเหน็ ของอมั รจากอบูวาษิละฮ์ ซึ่งเปน็ ซอฮาบะฮ์ทา่ นหน่ึง ไม่มใี น รายงานอ่ืนๆนอกจากสายรายงานน้ี ในขณะทีส่ ายรายงานอนื่ ๆระบุว่าผคู้ ัดค้านคอื ชรุ อหบ์ ีล บินหะ ซะนะฮ์ ซ่งึ เปน็ ผู้หนงึ่ ที่เสยี ชีวติ จากโรคระบาดในแอมมาอสุ ความเห็นตา่ งเนอื่ งมาจาก ความเขา้ ใจ ว่า - และพระเจ้าทรงทราบดที ่สี ดุ - ข้อหา้ มตามหะดษี นั้นคือ การหลบหนจี ากโรคระบาดทกุ กรณี ในขณะท่ีอัมรเ์ ข้าใจว่า ขอ้ หา้ มตามหะดษี นัน้ คอื การหลบหนจี ากโรคระบาดไปยงั อกี เมอื งหน่งึ เพราะเกรงว่าภยั พบิ ัติจะตดิ ต่อไปยังเมืองนน้ั และมิได้หา้ มมิให้หนจี ากทนี่ ัน่ ไปยงั ทีท่ ่ีไมม่ ใี ครอาศยั เชน่ ยอดเขา แหลง่ นำ้ โอไอสสิ หรอื หลืบเขา ● โรคระบาดในมกั กะฮ์ ตำราประวัติศาสตรอ์ สิ ลามกล่าวถึงการงดศาสนกิจทม่ี ัสยดิ ต่างๆ หลายๆ ครั้งเนอ่ื งจากโรค ระบาด รวมถงึ มัสยดิ หะรอมมักกะหเ์ อง ก็ไม่ไดร้ อดพ้นจากเหตกุ ารณน์ ้ี ดังทฮ่ี าฟซิ อิบนุหะญรั (ฮ.ศ. 852/ค.ศ.1448 ) กล่าวไว้ในหนงั สอื ‘‫ إنباء الغُْمر بأبناء العمر‬โดยกล่าวถึงเหตุการณใ์ นปี ฮ.ศ.827 / ค.ศ.1423 ว่า \"และต้นปนี ้ี การแพรร่ ะบาดครง้ั ใหญ่เกิดขน้ึ ในนครมกั กะห์ มผี เู้ สียชวี ิต 40 คนทุกวัน และ จำนวนผู้เสียชวี ติ ในเดือนรอบอี ุลเอาวัลเดือนเดยี ว มีมากถงึ 1700 คน เล่ากนั ว่า อหิ ม่ามประจำมะ กอมอิบรอฮีม ซึ่งถือมัซฮบั ชาฟิอยี ์ มีผ้รู ่วมละหมาดเพยี ง 2 คน และอหิ ม่ามมัซฮับอื่นๆ ทีเ่ หลือ ไม่ มกี ารละหมาดเพราะไมม่ ีผู้มาละหมาด ผตู้ ายเพียงเดอื นเดยี วท่มี ากถงึ 1700 คน น่าจะเป็นเหตผุ ลทำใหก้ ารละหมาดในมสั ยิดหะ รอมเกือบงดโดยสิ้นเชิง และไมก่ ศ่ี ตวรรษก่อนหนา้ น้นั อิบนอุ ะซารยี ์ อัลมะรอคชิ ีย์ (เสียชีวติ ฮ.ศ.695/ ค.ศ.1295 ) กลา่ วในหนงั สือ‫' البيان المُغرب في أخبار الأندلس والمغرب‬แถลงการณ์โมรอ็ กโกในข่าวของดาลูเซยี และ โมร็อกโก' บอกเราว่า มโี รคระบาดครั้งใหญใ่ นตนู เี ซียในปี ฮ.ศ. 395/ค.ศ.1004 ทำให้เกดิ สินคา้ ราคาแพง ขาดอาหารยังชีพ .. และคนมากมายเสียชีวติ มีท้งั คนรวยและยากจน ดังนน้ั คุณจะไม่เห็น พฤติกรรมใดๆ ยกเว้น การรักษาหรอื เยยี่ มคนปว่ ยหรอื จดั การศพ และบรรดามสั ยดิ ในเมอื งกัยรอ วาน ลว้ นไร้ผ้คู น \"

6 ● โรคระบาดในแอนดาลเู ซยี ในแอนดาลูเซยี ก็มเี หตกุ ารณค์ ล้ายกนั เกดิ ขนึ้ อหิ ม่ามซะฮะบีย์พูดถงึ ในหนังสือ \"ตารคี อิสลาม 'ประวัติศาสตรข์ องศาสนาอสิ ลาม\" บนั ทกึ เหตุการณใ์ นปี ฮ.ศ.448/ ค.ศ.1056 เขากล่าวว่า \"ในปนี ้ีเกิดความแห้งแลง้ ครัง้ ยงิ่ ใหญ่รวมถึงโรคระบาดในเมือง Seville มคี นตายจำนวน มาก มสั ยดิ ถูกปิดตายไม่มผี ู้ละหมาด\" และอิหมา่ มซะฮะบยี ์ กล่าวถงึ เหตกุ ารณ์นี้ ในหนังสอื \"ซยิ ัร อะลามนุบะลาอ์\" บนั ทึก เหตุการณ์ในปี ฮ.ศ.448/ค.ศ.1056 ว่า \"ความแหง้ แลง้ ครง้ั ยงิ่ ใหญ่ในแอนดาลูเซีย คอร์โดบาไม่เคยพบยุคแห่งความแห้งแลง้ และ โรคระบาดเหมอื นในปีนี้ จนกระทั่งมัสยิดถกู ปิดตาย ไม่มผี ้ลู ะหมาด และปีน้ีถูกเรียกว่า \"ปีแห่ง ความหวิ โหย\" ในปถี ัดไป ( ฮ.ศ. 449/ค.ศ.1057 ) อบิ นุอลั เจาซยี ์ ไดใ้ หร้ ายละเอียดทีน่ ่ากลัวเกีย่ วกับโรค ระบาดครงั้ ใหญท่ ่แี พร่กระจายและครา่ ชวี ิตคนอยา่ งรวดเร็ว โรคระบาดนีแ้ พรก่ ระจายไปในดนิ แดน ทป่ี ัจจุบนั เรียกว่า \"เอเชยี กลาง\"คร่าชีวติ ผู้คนประมาณสองลา้ นคน ตอ่ มาได้แพร่มายังด้านตะวันตก จนใกลถ้ งึ ชายแดนอิรัก โดยอบิ นุอลั เจาซีย์ กล่าวว่า \"ในเดือนจุมาดัลอาคิเราะฮ์ ( ฮ.ศ. 449/ค.ศ. 1057 ) จดหมายจากจากพอ่ คา้ เอเชียกลางระบุว่า มกี ารแพรร่ ะบาดของโรคครงั้ ใหญใ่ นดินแดน เหลา่ นี้ ในภูมิภาคนว้ี นั หนึ่งมีคนตายหมืน่ แปดพันศพ และจำนวนคนที่ตายจนกระทัง่ เวลาเขียน หนงั สือน้ี มีจำนวน 1,650,000 ราย \"!! ● เลอื่ นงานรน่ื เรงิ ออกไปกอ่ น กาฬโรคระบาดคร้งั ใหญ่ในอยี ิปต์ ช่วงปี ฮ.ศ.749/ค.ศ.1348 ซง่ึ เป็นท่ีรจู้ ักในยุโรปในนาม \"Black Death-ความตายสดี ำ\" อลั มักรซี ยี ์ (เสียชวี ิต ฮ.ศ.845/ค.ศ.1441) กลา่ วไว้ในหนังสอื ของเขา \"อัสสุลูก ลิมะริฟะติล ดวุ ัลมลุ ูก- ‫ \"السلوك لمعرفة دول الملوك‬ถงึ ผลทางสงั คมของกาฬโรควา่ \"งานเลยี้ งและงานมงคลสมรส ถกู ยกเลิก ไม่มีจัดงานมงคลสมรสในชว่ งโรคระบาดน้ี ไม่มเี สียงร้องเพลง หลายๆท่ไี มม่ ีเสียงอะซาน มสั ยดิ ท่สี ำคัญๆ มแี ค่เพียงเสียงอะซาน ไม่มีเสยี งอิกอมะฮ์\"

7 อบิ นตุ ีฆรี บรั ดีย์ นักประวัติศาสตร์ (เสยี ชวี ติ ฮ.ศ. 872/ ค.ศ.1467 ) กลา่ วในหนงั สือของ เขา \"นจุ ูม ซาฮีเราะฮ์\" เหมือนดังท่ีอลั มกั รีซยี ์ไดก้ ลา่ วไว้ และเสรมิ ว่า \"มัสยดิ และศาสนสถานส่วน ใหญ่ถูกปิด\" ในทางกลบั กนั หนังสอื ประวตั ศิ าสตรบ์ ันทึกการรับมอื ของผ้คู นตอ่ โรคระบาดโดยการ รวมตวั กนั ในมัสยดิ และการปฏบิ ตั ิพธิ ีกรรมทางศาสนา ดังท่กี ล่าวไวใ้ นหนังสือ\" ‫شفاء القلب المحزون في‬ ‫\" بيان ما يتعلق بالطاعون‬ต้นฉบับเขียนด้วยมือ ของชัมสุดดีน มฮู ัมหมัด บินอับดลุ เราะหม์ าน นัก กฎหมายอิสลามและนกั ประวัตศิ าสตร์ (เสียชวี ติ ฮ.ศ.780/ค.ศ.1378 ) ท่กี ล่าวถงึ กาฬโรคท่รี ะบาด คร้ังใหญ่ ในปี ฮ.ศ.764/ ค.ศ.1362 ว่า\"ผคู้ นตา่ งม่งุ ม่ันทำความดี ด้วยการละหมาดยามค่ำคนื ถือศีล อดตอนกลางวนั การบริจาค และการกลับใจ ดงั น้นั เราจงึ ทิง้ บ้านและอยปู่ ระจำทม่ี สั ยิด ทงั้ ผูช้ าย เด็กและผ้หู ญิง\" ฮาฟซิ อิบนหุ ะจรั มีข้อสังเกตทนี่ ่าสนใจ เกย่ี วกับการแพรร่ ะบาดของกาฬโรคหลงั จากมีการ ชมุ นมุ โดยเลา่ ในหนังสอื ‫ إنباء الغمر‬ว่า โรคระบาดที่เกิดขนึ้ ในปี ฮ.ศ.833/ค.ศ.1429 และหนึง่ ในผู้ มอี ำนาจช่ือ ชฮี าบดุ ดีน อัลชะรีฟ ได้รวบรวมผู้สืบเชื้อสายมาจากนบีมุฮมั มัด 40 คน โดยทกุ คนชือ่ วา่ มฮุ ัมมัด และไดม้ อบทรัพยส์ นิ ให้พวกเขา แล้วใหท้ ้งั หมดรวมตวั กันที่มสั ยดิ อซั ฮรั และอ่านอัลกุ รอานหลังจากละหมาดวนั ศกุ ร์ พอใกล้เวลาละหมาดอศั รีกส็ ่งเสียงดุอาอ์กันอื้ออึง และผูค้ นก็มา รว่ มกบั พวกเขาดว้ ย จากน้ัน ท้งั 40 คน ก็ขึ้นไปบนหลงั คามัสยิดแล้วอาซานอัศรีพร้อมๆ กัน แลว้ แยกยา้ ยกนั กลับ ทง้ั น้เี นื่องจากมีคนต่างชาติคนหนึ่งบอกว่า การกระทำดังกล่าวจะทำให้กาฬโรค หายไป แลว้ อิบนุหะจัรก็ได้ใหค้ วามเหน็ ในตอนท้ายวา่ \"เมื่อทำเช่นนั้น กาฬโรคก็ยิ่งระบาดเพม่ิ ขึ้น\" อบิ นหุ ะจรั มคี วามเห็นท่นี า่ สนใจเก่ยี วกบั การเพม่ิ ขนึ้ ของกาฬโรคหลงั จากผูแ้ สวงบุญ กลับมาจากหิจาซ โดยอบิ นหุ ะจรั ไดก้ ลา่ วถึงกาฬโรคท่ีระบาดในอยี ิปต์ ช่วงปี ฮ.ศ.848/ค.ศ. 1444 ท่ีมีคนตายราวๆ 100-200 คน ต่อมากเ็ พม่ิ มากขึ้น โดยเฉพาะหลงั การกลบั มาของผู้แสวงบญุ ลกู ๆ และทาสของพวกเขาเสยี ชีวติ เปน็ จำนวนมาก และมกี ารกล่าวกนั ว่า ทกุ วนั มีคนตายเกนิ 1,000 คน !! บางที การตอ้ นรับผู้แสวงบุญ รวมถงึ การพบปะเยี่ยมเยียนผู้แสวงบุญและการสัมผสั กบั พวกเขาท่ี มีผลอย่างสำคัญในการระบาดของกาฬโรค ขอ้ สังเกตทน่ี ่าสนใจอีกประหนง่ึ ที่อบิ นุหะจรั กลา่ วไว้ในหนงั สอื ‫ إنباء الغمر‬วา่ นกั กฎหมาย อิสลามคนหน่งึ เห็นวา่ การกกั ตัวอยใู่ นบา้ น แมว้ ่าจะแกล้งปว่ ย กเ็ ปน็ วธิ ีการทำให้พน้ จากกาฬโรค รูปแบบหนึง่ ในขณะท่อี บิ นุหะจัร เล่าประวัติของอิบนุ อบจี ะรอดะฮ์ ( เสียชีวติ ฮ.ศ.819/ ค.ศ.1416

8 )ผู้พพิ ากษาคนหนงึ่ ท่านเลา่ ประวตั พิ ิศดารว่า \"เมอื่ กาฬโรคระบาดอย่างรุนแรงในปีน้ี ผู้พพิ ากษา ทา่ นนต้ี ื่นกลัวและกังวลมาก จึงได้หาทางปอ้ งกนั โดยการรบั ประทานยา การอ่านดอุ าอ์และการ ปัดเปา่ ตลอดจนการแกล้งปว่ ยเพ่ือหลกี เลี่ยงการไปเยี่ยมคนตาย หรือการละหมาดศพ เน่ืองจาก กลัวความตายอยา่ งยง่ิ อลั ลอฮจ์ งึ ให้เขาพน้ จากความตายเน่ืองจากกาฬโรค\" ● ภยั ธรรมชาตคิ กุ คาม หลายครง้ั ท่ภี ัยธรรมชาติทำให้การละหมาดญามาอะฮ์ทีม่ ัสยดิ ต้องงดไป รวมถึงมัสยดิ หะรอม อลั อัซรอกีย์ ( เสยี ชวี ติ ฮ.ศ.250/ค.ศ.864 ) กลา่ วไวใ้ น \"อคั บาร มักกะฮ์\" ว่า \"นำ้ ท่วมอาจ ขยับแท่นมะกอมอิบรอฮมี ออกจากตำแหนง่ เดิม และอาจเคลอ่ื นย้ายมันไปยังหนา้ ของกะบะห์\" ● ความขดั แยง้ ประเภทตา่ งๆ การละหมาดญามาอะฮ์และละหมาดวนั ศกุ ร์ท่ีมสั ยดิ ตอ้ งงดไปหลายครงั้ ในประวัติศาสตร์ อิสลาม เนือ่ งจากความขัดแยง้ ระหวา่ งศาสนา ระหว่างกลุ่มและระหวา่ งมัซฮับ บางทีเหตผุ ลนี้เปน็ เหตผุ ลท่นี า่ เกลียดที่สดุ ทน่ี ำไปสู่การหยุดชะงักของศาสนาโดยอา้ งทำเพื่อศาสนา ดังกรณีทีอ่ ิบนุ กะษรี กล่าวถงึ ความวนุ่ วายในกรุงแบกแดด ในหนงั สือ \"บิดายะฮว์ ัลนฮิ ายะฮ\"์ ว่า ในปี ฮ.ศ.403/ ค.ศ.1012 ทม่ี กี ารกระทบกระท่งั ระหวา่ งมุสลิมและครสิ ต์ในแบกแดดจนตอ้ งงดละหมาดวันศกุ ร์ หลายวัน และระหว่างมุสลิมกบั ยิวในแบกแดด ในปี ฮ.ศ.573/ค.ศ.1177 ตลอดจนความขัดแย้ง ระหวา่ งผถู้ ือมัซฮับฮัมบะลียก์ บั อะชาอิเราะฮ์ ในกรงุ แบกแดด ทำใหฝ้ ่ายอะชาอิเราะห์ไม่สามารถ ละหมาดญามาอะฮแ์ ละละหมาดวันศุกรไ์ ด้ อบิ นุเญาซียก์ ลา่ วในหนงั สือ \"อลั มนุ ตะซิม\" กรณคี วามขัดแย้งระหว่างสนุ หนกี่ ับชอี ะฮ์ ใน เขตคอนตอเราะฮจะดดี ะฮ์ กรงุ แบกแดด ในปี ฮ.ศ.349/ค.ศ.960 จนต้องงดละหมาดวนั ศุกร์ใน มัสยดิ ตา่ งๆ ในเขตนัน้ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ลกั พาหนิ ดำ 22 ปี ● สงครามทำลายลา้ ง การสงครามก็เคยขัดขวางการละหมาดและการประกอบศาสนกจิ ในมัสยดิ ต่างๆ รวมถงึ ศาสนสถานศกั ด์สิ ทิ ธ์ิของอิสลามก็ไม่รอดพ้น

9 บนั ทกึ ประวัติศาสตรเ์ กา่ แกส่ ุดในกรณนี ้ี ได้แกก่ ารปราบปรามการลกุ ฮอื ของชาวมาดนี ะฮ์ ในปี ฮ.ศ.63/ค.ศ.682 โดยนำ้ มือของยาซดี บนิ มุอาวียะฮ์ (เสยี ชีวติ ฮ.ศ.64/ค.ศ.683 ) กอดี อยิ าฎ ( เสยี ชวี ิต ฮ.ศ. 544 / ค.ศ.1149 ) กลา่ วถงึ สิ่งทก่ี องทพั ยะซดี ต่อชาวมาดีนะฮ์ ในหนังสือ ‫إكمال‬ ‫ المُْعِلم بفوائد مسلم‬ว่า “ พวกเขา(ทหารของยะซีด) เอาชนะชาวมะดนี ะฮไ์ ด้ และละเมดิ ตอ่ พวกเขา เปน็ เวลา 3 วนั ซอฮาบะฮ์หลายทา่ น ตลอดจนลูกหลานชาวมฮุ าญิรนี และอันศอรถูกฆ่าจำนวนไม่ นอ้ ย การละหมาดในมัสยิดนบแี ละการอะซานถกู งดในช่วงดังกล่าว การทำลายล้างที่โด่งดังท่ีสดุ ท่เี กดิ ขนึ้ ในมัสยดิ หะรอมในนครมักกะฮ์ เป็นกรณีทอี่ าบูตอฮริ อลั จันนาบีย์ จากกลมุ่ กอรอมเิ ตาะฮ์ ( เสียชีวิตปี ฮ.ศ. 332 / ค.ศ.943 ) กองทัพของเขาไดบ้ ุกโจมตี คณะผแู้ สวงบุญในวนั ตัรวียะฮ์ ปี ฮ.ศ.317/ค.ศ.929 ทำให้พิธฮี ัจญ์ในปนี ้ันถูกยกเลิกไป อาบตู อฮิร อัลจนั นาบียไ์ ดฆ้ ่าคนในลานมสั ยดิ หะรอมหลายพนั คน อีกท้งั ไดเ้ จาะเอาหินดำกลบั เมืองฮะจรั ใน ประเทศของตน (ตั้งอยใู่ นเขตอลั อะห์ซา ทางภาคตะวนั ออกของซาอุดอิ าระเบียปจั จบุ นั ) อหิ ม่าม ซะฮะบยี ก์ ล่าวไวใ้ นหนงั สือ \"ตารคี อิสลาม-ประวตั ศิ าสตร์อิสลาม\": ว่า \"ในปีน้ันไม่มีใครวุกูฟแม้แต่ คนเดียว\" ซ่ึงการขัดขวางการแสวงบุญของชาวมุสลิมซึ่งสำคัญกบั พวกเขามากกว่าการละหมาดญา มาอะฮ์มากนัก [หมายเหตุผแู้ ปล***กลุ่มกอรอมิเตาะห์ เป็นกลุ่มชีอะฮ์หัวรุนแรงกลุ่มหนง่ึ พวกเขาปล้น และลักพาหนิ ดำไปราวๆ 22 ปี เพื่อนำไปติดตง้ั ในวิหารที่พวกเขาสร้างขึ้นมาในเมอื งอะซาอ์ ดังใน ภาพประกอบบทความ เป็นกบิ ลัตสำหรับพวกเขา ในช่วงน้ี พธิ ีฮัจญ์ดำเนินไปโดยไมม่ หี ินดำ ราชวงศอ์ บั บาซียะฮอ์ อ่ นแอจนไมส่ ามารถปกปอ้ งไว้ได้ และต้องจา่ ยคา่ ไถ่ปลี ะ 120,000 ดีนาร์ จน ในทส่ี ดุ ก็ได้อาศัยผู้ไกล่เกลย่ี และด้วยการจา่ ยเงนิ จำนวนมหาศาล กล่มุ กอรอมเิ ตาะฮจ์ งึ ยอมคนื หิน ดำใหร้ าชวงศ์อับบาซยี ะฮ์นำมาคนื ณ อาคารกะบะฮด์ งั เดมิ กลุม่ กอรอมิเตาะฮ์มอี ำนาจอยรู่ าวๆ 200 ปี จนในทสี่ ุดกอ็ ่อนแอลง และลม่ สลายลงในช่วงกลางฮิจเราะฮศ์ ตวรรษที่ 5 ดว้ ยการถกู ปราบปรามโดยเผา่ อวุ ยั นีย์ เติร์กเซลจกู๊ และเผ่าอาหรับตา่ งๆ ที่อยู่ภายใตป้ กครองของราชวงศ์อับ บาซียะฮ์ ] อาชญากรรมของกลุ่มกอรอมิเตาะหด์ ังกล่าว เกดิ ขน้ึ หลงั เหตกุ ารณค์ ล้ายกันก่อนหนา้ น้นั อับดลุ อลั มาลกิ อัลอาซอมี อัลมกั กี (เสียชวี ิต ฮ.ศ.1111/ค.ศ.1699 ) กลา่ วถงึ ในหนังสือ ‫سمط النجوم‬ ‫ العوالي‬ว่า - ในปี ฮ.ศ. 250 / ค.ศ.864 กบฏอาลาวีย์ นำโดย อสิ มาอีล บินยูซุฟ อัลอคุ ยั ดิร อสั สัฟ

10 ฟาก ( เสียชีวิต ฮ.ศ.252/ค.ศ.866 ) ได้บกุ เขา้ มักกะฮ์ ผวู้ า่ การมักกะฮ์ของราชวงศอ์ ับบาซิดใน แบกแดดไดห้ ลบหนี และอิสมาอลิ ดงั กลา่ วเขา้ ปล้นบ้านของเขา และปลน้ ชิงทรัพย์สนิ ของผูค้ น จากนั้นกไ็ ด้เขา้ ไปยังกะบะฮ์ และยึดเอาผา้ คลมุ กะบะฮ์รวมถึงทรพั ยส์ นื ข้างใน คลงั เงนิ เขาเข้าปลน้ และเผานครมักกะฮบ์ างสว่ น ก่อนจะจากไปภายหลงั จากท่ีไดอ้ ยู่นานถงึ 50 วนั หลังจากนั้นอสิ มาอิล อลั ซฟั ฟาก ก็ไปยงั นครมาดีนะฮ์ ผวู้ ่าการเมืองของราชวงศ์อับบาสดิ ได้ หลบหนีไป อสิ มาอีล ซัฟฟาก จงึ ได้ฆา่ คนและทำลายบ้านเรอื นจำนวนมาก มัสยดิ นบไี ม่มกี าร ละหมาดญามาอะฮร์ าวครึ่งเดอื น หลงั จากน้นั จึงกลับมาปิดลอ้ มนครมักกะฮ์ทำให้มคี นตายเพราะ ขาดอาหารและนำ้ และขณะนนั้ ตรงกับวันอารอฟะฮพ์ อดี กองกำลงั ของอสิ มาอลี ซัฟฟาก ไดฆ้ ่า หจุ ญาจราวๆ 1,100 คน ทำใหห้ ุจญาจตา่ งพากันหลบหนี และไมม่ ีใครในสถานวุกฟู ยกเวน้ อสิ มาอีล ซัฟฟาก และกองกำลังของเขา เมอื งมาดีนะฮน์ ้นั นอกจากจะถูกทำรา้ ยโดยอสิ มาอิล อัล - ซัฟฟากแล้ว มัสยิดแหง่ นีก้ ็ถูกงด ใชง้ านอีกครัง้ ดว้ ยน้ำมอื ของคนในตระกลู อาลาวีย์ มูฮัมหมัดและอาลี บตุ รหุเซน บตุ รของยะฟรั อัศ ศอดิก ทบ่ี ุกนครมาดนี ะฮ์ ในปี ฮ.ศ.271 / ค.ศ.884 อบิ นุกะษรี ไดก้ ล่าวในหนังสอื \"อัลบดิ ายะฮว์ ัลนฮิ ายะฮ\"์ ว่า \"ทง้ั สองได้เขน่ ฆ่าประชาชน และยดึ ทรพั ย์สนิ จำนวนมาก การละหมาดญามาอะฮ์และละหมาดวนั ศกุ ร์ 4 สปั ดาหไ์ ด้หยดุ ลง ไม่มี ผู้ใดมาละหมาดแมแ้ ต่คนเดยี ว\" เกอื บหนง่ึ ศตวรรษทีผ่ ่านมา การละหมาดในมัสยดิ ของทา่ นศาสดาถกู รบกวนในตอนท้าย ของสงครามโลกครงั้ ทหี่ นงึ่ ผูแ้ ตง่ หนงั สอื \"มอุ ัลลิมู มัสยดิ นาบาวี ฟตี ัรจุมะฮ์ชัยค์ อัลฟา ฮาชมิ \" ( เสียชวี ิต ฮ.ศ.1349 / ค.ศ.1930 ) ซง่ึ ขณะน้ันชัยค์อลั ฟา ฮาชิม เปน็ อหิ มา่ มมัสยดิ นาบาวี ระบุว่า ชว่ งทีก่ องกำลงั ชารีฟหุเซ็น ( เสยี ชีวิต ฮ.ศ. 1931 ) ปิดล้อมอย่างเข้มขน้ ต่อนครมาดนี ะฮ์ ฟัครุดดนี บาชา ผวู้ ่าการออตโตมนั ในนครมาดนี ะฮ์ ( เสียชวี ติ ค.ศ.1948 ) ใช้มสั ยดิ ของทา่ นศาสดาเปน็ ค่าย ทหารและคลังแสง หออะซานของมัสยดิ ของทา่ นศาสดาถูกนำมาใช้เป็นหอคอยสังเกตการณ์ ในช่วงนน้ั มัสยดิ ของท่านศาสดากง็ ดละหมาดโดยสิน้ เชงิ

11 โศกนาฏกรรมในอลั กดุ ส์ แบกแดด ดามสั กสั และกรานาดา ● ผรู้ กุ รานทเี่ หยี้ มโหด เมืองต่างๆของโลกอิสลาม นอกจากมกั กะฮ์และมาดนี ะฮ์ ต่างก็มีการงดละหมาดวันศุกร์ และละหมาดญามาอะฮห์ ลายๆคร้งั บางทมี สั ยดิ อลั อักซออาจเปน็ มัสยิดทมี่ กี ารละเมดิ และขดั ขวาง การปฏิบัตศาสนกจิ ท่มี ัสยิดมากทส่ี ดุ ขณะตกอยภู่ ายใตอ้ ำนาจกองทพั ครูเสดมีการงดละหมาด ประมาณ 90 ปี นบั ตงั้ แต่ ฮ.ศ.492/ ค.ศ. 1098 พร้อมๆ กบั การเขน่ ฆ่าอยา่ งกว้างขวาง ในหนังสอื \"อัลกามลิ \" อิบนอุ ะษรี ได้กลา่ วถึงการสงั หารหมคู่ รัง้ น้ีว่า \"ฝรั่งได้เขน่ ฆ่า ประชาชนทมี่ สั ยิดอลั อกั ซอ มากกว่า 70,000 คน รวมถงึ บรรดาอิหม่าม นักวชิ าการ นกั ปฏบิ ตั ิ ศาสนกจิ ทล่ี ะท้ิงบา้ นเมืองเพ่ือมาอาศัยอยใู่ กล้มสั ยิดอนั ทรงเกยี รต\"ิ เชน่ เดยี วกับสงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ กบั มัสยดิ ตา่ งๆ ในแอนดาลุสเซยี หลงั จากครสิ เตียนสเปนบุกเมือง ใหญๆ่ ในตอนตน้ ฮิจเราะฮ์ศตวรรษท่ี 7 อบั ดุลลอฮ์ อินาน นกั ประวตั ิศาสตรแ์ อนดาลุสเซีย กล่าว

12 ไวใ้ น หนงั สือ ‘‫ دولة الإسلام في الأندلس‬โดยการอ้างถึงขอ้ ความในหนังสอื ‫أخبار العصر في انقضاء‬ ‫ دولة بني نصر‬ของผ้เู ขยี นที่ไม่ระบนุ าม บนั ทึกข้อมูลทีไ่ ด้เห็นในยุคน้ันว่า ชาวสเปนบิดพลว้ิ ข้อตกลง ส่งมอบกรานาดาที่ว่า จะให้ความเคารพต่อเสรีภาพทางศาสนาของชาวมุสลมิ แต่พวกเขากลบั ปิด มสั ยดิ หา้ มมสุ ลมิ ปฏบิ ัติศาสนกิจ และละเมดิ ต่อความเชือ่ ความศรัทธาของพวกเขา ข้อมูลทางประวัตศิ าสตรท์ สี่ ำคญั ท่สี ุดในกรณีน้ี เป็นเหตกุ ารณ์ 2 เหตุการณ์ คือการรกุ ราน ของมองโกลต่อกรงุ แบกแดด ท่ีนำโดยฮูลากู ขา่ น ในปี ฮ.ศ.656/ ค.ศ.1258 หลงั จากนน้ั กเ็ ป็น เหตุการณพ์ วกตาตาร์บกุ ดามสั กสั ในปี ฮ.ศ. 803 / ค.ศ.1400 ภายใต้การนำของตยั มรู เลง ผู้นำ อซุ เบก (เสยี ชีวติ ฮ.ศ. 807 / ค.ศ.1404 ) ความโหดร้ายทก่ี ระทำโดยชาวมองโกลเม่อื เขา้ สกู่ รงุ แบกแดดนั้นเกินกวา่ จะบรรยาย แตเ่ ร่อื งราวที่เกีย่ วกบั บทความนี้คือสิ่งท่อี ิบนุกะษรี กล่าวถงึ ใน หนงั สือ \"อลั บดิ ายะฮ์ วลั นิฮายะฮ\"์ วา่ \"บรรดาคอเต็บ และอิหมา่ ม รวมถงึ ครสู อนอัลกรุ อานลว้ นถกู ฆ่า มัสยิดตา่ งๆ ในกรุงแบกแดดถกู ปดิ และงดละหมาดญามาอะฮ์และละหมาดวนั ศกุ ร์ เป็นเวลา หลายเดือน\" อหิ มา่ มอลั ซุบกยี ์ (เสียชวี ิต ฮ.ศ.771/ค.ศ.1369 ) ซง่ึ เป็นหนงึ่ ในผู้ที่อยใู่ นเหตุการณ์ดังกล่าว กลา่ วในหนังสือ \"ตอบะกอต อชั ชาฟิอยี ะฮ\"์ วา่ \"ฮูลากเู ข้ายึดแบกแดด คอลฟี ะฮถ์ กู ฆ่ารวมถึงมุสลิม ทัว่ ไป ได้ยนิ เสยี งระฆังจากมัสยิด บรรดามัสยดิ มีทั้งท่ีถกู ทำลายท้ิงและถูกปดิ จากนั้นบา้ นเมอื ง เหล่าน้ันและผ้คู นกม็ ลายหายไป ราวกบั ว่าพวกเขาเป็นความฝัน !!\" อิบนุคอลดนู (เสียชวี ติ ฮ.ศ. 808/ค.ศ.1405 ) ได้กล่าวในหนงั สือ \"ตารคี -ประวตั ิศาสตร์\" ว่า เม่อื ผนู้ ำตาตาร์ มาหม์ ดุ กอซาน ( เสียชีวิต ฮ.ศ. 703/ค.ศ. 1303 ) และกองทพั เข้าสกู่ รุงดามสั กสั และปลน้ สดมปบ์ ้านเมือง พวกเขาบกุ มัสยิดบนอี ุมัยยะฮ์ และทำบาปทุกอย่างในมสั ยดิ โดยไมม่ ีเวน้ ผู้พพิ ากษาและนักวิชาการศาสนาถูกดูถูกเหยยี ดหยาม ละหมาดญามาอะฮแ์ ละละหมาดวันศุกร์ก็ หยุดชะงัก! \" และนี่คอื ความจรงิ ท่เี กิดขึ้น ทง้ั ๆที่กอซานนี้ เป็นชนชาวตาตารร์ ่นุ ทเี่ ปลย่ี นมานบั ถอื ศาสนา อิสลามแลว้ !! สำหรบั การบุกรกุ ของดามัสกสั ของตยั มูร เลง ก็โหดร้ายไม่แพก้ นั แมเ้ ขาจะอา้ งว่านบั ถือ ศาสนาอสิ ลามก็ตาม เขาเรยี กคา่ ไถ่จากประชาชน เพอื่ รับรองความปลอดภัยจากการเขน่ ฆา่ และ การปลน้ แต่เขากล็ ะเมดิ ข้อตกลง และทำการปลน้ และเผาทำลาย เหตกุ ารณ์เหล่านัน้ ทำให้ผคู้ น

13 ละเลยการสนใจต่อศาสนาและทางโลก บรรดามสั ยดิ ทัง้ หมดงดอะซานและงดละหมาด ดังทอ่ี ลั มัก รีซีย์ ไดก้ ล่าวไวใ้ นหนังสอื ‫السلوك لمعرفة دول الملوك‬ งดละหมาดทมี่ สั ยดิ ดว้ ยเหตผุ ลความวนุ่ วายทางการเมอื ง ● ความวนุ่ วายทางการเมอื ง นอกจากสงครามแลว้ ความวนุ่ วายทางการเมืองและบ้านเมอื งสมุ่ เสย่ี งตอ่ ภยั อนั ตราย กท็ ำใหก้ าร ละหมาดวนั ศกุ รแ์ ละละหมาดญามาอะฮห์ ยดุ ชะงกั ลงเชน่ เดยี วกนั อบิ นชุ าฮีน อัลมลั ตยี ์ ( ฮ.ศ.920 / ค.ศ. ) กลา่ วในหนงั สอื ‘‫ نيل الأمل في ذيل الدول‬ว่า ในวนั ศกุ รห์ นง่ึ ของปี ฮ.ศ.802/ เกดิ ความวนุ่ วายในหมเู่ ชอื้ พระวงศแ์ หง่ ราชวงศม์ ามาลกี กรงุ ไคโรสะทา้ นสะเทอื น บรรดามสั ยดิ ตา่ งถกู ปดิ บางมสั ยดิ คตุ บะฮส์ นั้ บางมสั ยดิ ละหมาดสนั้ บางมัสยดิ ไมม่ กี ารละหมาด ผคู้ นตกอยใู่ นความหวาดผวา บรรดารา้ นรวงต่างปดิ เงยี บ ส่วนในดนิ แดนอิสลามแถบแอฟรกิ าเหนอื อาบอู ลั อบั บาส อลั นาซริ ิ ( ฮ.ศ.1315) นกั ประวตั ศิ าสตร์ ไดก้ ลา่ วในหนงั สือ ‘‫ الاستقصا لأخبار دول المغرب الأقصى‬ของเขาว่า เมอื่ สลุ ตา่ นอบั ดลุ มาลกิ บนิ ไซ

14 ดาน ถกู ปลงพระชนม์ นอ้ งชายกถ็ กู สถาปนาขน้ึ แทน ไดเ้ กดิ ความวนุ่ วายขนึ้ ทวั่ เมอื งพาส การ ละหมาดวนั ศกุ ร์ ละมาดตารอเวียะห์ ทม่ี ัสยดิ กอรอวยี นี ก็หยดุ ชะงกั ไปเปน็ ระยะเวลาหนง่ึ ไมม่ กี าร ละหมาดในคืนลยั ละตลุ กอดร์เวน้ แตผ่ ชู้ ายคนเดยี ว อนั เนอื่ งจากความสยองขวญั และการสรู้ บ อิบนอุ ะซารี อลั มะรอกชิ ยี ์ กลา่ วในหนงั สอื ‫ البيان المغرب‬ว่า เมอ่ื เผ่าบะนอู าบดี ( ราชวงศ์ฟาตมิ ยี )์ เดนิ ทางไปยงั อยี ิปต์ บรรดากษตั รยิ แ์ หง่ ซอนฮาจยงั คงเอ่ยนามของพวกในขณะคตุ บะตล์ ะหมาดวนั ศกุ ร์ ทำใหช้ าวเมอื งกัยรอวานไมพ่ อใจ พวกเขาจงึ ละทง้ิ การละหมาด จนกระทง่ั ไมม่ ีใครไปละหมาด วนั ศกุ รแ์ มแ้ ตค่ นเดยี ว การละหมาดวนั ศกุ รจ์ งึ หยดุ ไปนาน ทงั้ นกี้ ารดอุ าอใ์ นคตุ บะฮว์ นั ศกุ รใ์ หแ้ กราชวงศม์ ามาลกี ดำเนนิ ไปจนกระทง่ั ปี ฮ.ศ.440 เปน็ ทศั นคตทิ แ่ี ปลกประหลาดสำหรบั ชาวกยั รอวาน ผซู้ งึ่ เปน็ ปฏิปกั ษอ์ ยา่ งยิง่ ตอ่ ราชวงศฟ์ าตมิ ีย์ พวกเขาสามารถละทง้ิ การละหมาดวนั ศกุ รเ์ พราะตอ้ งการปกปอ้ งรกั ษาศาสนาของพวกเขา ไม่ ยอมรับฟงั คำสรรเสรญิ ตอ่ ผนู้ ำทพ่ี วกเขาเหน็ ว่าเปน็ ทรราช ● บทสรปุ การทบทวนประวัตศิ าสตร์โดยย่อ เก่ียวกบั เหตกุ ารณ์การงดละหมาดวนั ศุกรแ์ ละละหมาด ญามาอะฮ์ในมัสยิดของชาวมสุ ลิม ทำให้เหน็ ว่า สง่ิ ท่เี กดิ ขน้ึ กบั เราในวันนี้ ตั้งแต่การหยุดละหมาดวนั ศกุ รแ์ ละละหมาดญา มาอะฮ์ เพราะกลัวว่าจะมีส่วนรว่ มในการแพรร่ ะบาดของ \"โคโรนา\" ไมใ่ ชเ่ หตุการณ์พิเศษทีไ่ มเ่ คย

15 เกิดข้ึนในประวัตศิ าสตร์ หากทว่ามีเหตุการณ์ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกนั นี้เกิดขึน้ มากมาย บ้างรา้ ยแรง กว่า บ้างเบาบางกวา่ สถานการณ์โคโรน่าวันนแ้ี ม้จะนานแคไ่ หนสกั วันกต็ อ้ งยุติลง มสั ยดิ ตา่ งๆ จะกลบั มาเต็มไป ด้วยผ้คู นท่ีรกั และหวงแหนมัสยิดกันอีกคำรบหนึ่ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook