Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความประเสริฐของเดือนเราะญับในดุลยพินิจ

ความประเสริฐของเดือนเราะญับในดุลยพินิจ

Published by Ismail Rao, 2021-02-13 07:15:17

Description: เราะญับในดุลยพินิจ โดย ไฟศ็อล บิน อาลี อัลบุอฺดานีย์
ส่วนหนึ่งของฤดูกาลแห่งการอุตริกรรมที่โดดเด่น คือการเจาะจงทำอิบาดะฮฺและความดีต่างๆในเดือนเราะญับของบ่าวบางคนในหลายๆประเทศ ดังนั้น จะกล่าวถึงกิจกรรมหรืออามัลบางอย่างที่ชาวมุสลิมบางชุมชนชอบปฏิบัติตลอดช่วงเดือนเราะญับนี้ พร้อมกับนำไปเทียบเคียงกับหลักฐานทางศาสนาและทัศนะของอุละมาอ์อิสลามเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว เพื่อเป็นการตักเตือนแก่ประชาชาติ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าด้วยคำตักเตือนเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าว อัลลอฮฺจะทรงประทานทางนำให้แก่เขา และทำให้เขาได้เปิดหูเปิดตาจากชีวิตแห่งการอุตริกรรมที่มืดมิดและคลำอยู่ในโลกแห่งความโง่เขลา

Search

Read the Text Version

1

2 ไฟศอ็ ล บิน อาลี อลั บอุ ฺดานยี ์ อัลลอฮฺทรงกำหนดให้บำงวัน บำงคืนและบำงเดือนประเสรฐิ กวำ่ อกี บำงส่วน ด้วยเหตุผลที่ล้ำลึกย่งิ เพื่อให้ปวงบำ่ วของพระองค์ไดเ้ ร่มิ ต้นกระทำควำมดีอีกครั้ง และได้ปฏบิ ัติควำมดที ม่ี ำกมำยในช่วงเวลำแห่ง ควำมประเสริฐดังกล่ำว แต่บรรดำมำรร้ำยทั้งในครำบของญินและมนุษย์ก็ทำงำนอย่ำงแขง็ ขันเพื่อสกัดก้ัน และขัดขวำงบำ่ วของพระองคไ์ ม่ใหด้ ำเนินตำมเสน้ ทำงท่ีเทีย่ งตรง พวกเขำจะพยำยำมทุกวิถที ำงเพ่ือเบี่ยงเบนควำมสนใจของให้มนุษย์ออกห่ำงจำกกำรกระทำดีต่ำงๆ ด้วยกำรปลูกฝั งและแต่งแต้มแนวคิดให้กับชนกลุ่มหนึ่งให้มีควำมรู้สึกว่ำฤดูกำลแห่งกำรทำควำมดีและ ควำมโปรดปรำนนั้นคือฤดูกำลและโอกำสของควำมบันเทิงและพักผ่อน และเป็นสนำมสำหรับกำรแสวงหำ ควำมสนุกสนำนและอำรมณต์ ัณหำ ขณะเดียวกันก็ยั่วยุและส่งเสริมชนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีใจกุศลและชอบกระทำควำมดีแต่ไม่ค่อยประสำ และรู้เรอื่ งเกี่ยวกับบัญญัติศำสนำ หรือบรรดำผู้ที่มผี ลประโยชน์ และบรรดำแกนนำทำงศำสนำหรือทำงโลก ทห่ี วำดกลวั วำ่ ผลประโยชน์และสถำนะทำงสังคมของตนจะสน่ั คลอนจำกกำรมำเยอื นของฤดกู ำลแหง่ ควำม ดีต่ำงๆ ดังนั้น พวกเขำจึงได้อุตรฤิ ดูกำลแห่งควำมดีขนึ้ มำเพื่อรักษำผลประโยชน์และสถำนะทำงสงั คมของ ตนไว้โดยปรำศจำกหลกั ฐำนอยำ่ งส้นิ เชิง หสั สำน บิน อะฏยิ ะฮฺกลำ่ วว่ำ “กลุม่ ชนใดกระทำอตุ รกิ รรมในศำสนำของพวกเขำแม้เพียงอตุ รกิ รรม เดียว อัลลอฮฺก็จะยกสุนนะฮฺบำงส่วนออกจำกพวกเขำเช่นเดียวกัน และพระองค์จะไม่ส่งคืนสุนนะฮฺน้ัน ให้แกพ่ วกเขำอกี ตรำบจนถงึ วนั กยิ ำมะฮฺ” (หิลยะตลุ เอำลยิ ำอ์ เลม่ 6 หน้ำ 73) ย่งิ กวำ่ น้นั อยั ยูบ อัลสิคตยิ ำนีย์ ยงั กล่ำวว่ำ “ผ้กู ระทำอตุ รกิ รรมย่ิงเพ่ิมควำมพยำยำมมำกเทำ่ ใด เขำ ก็จะย่ิงห่ำงไกลจำกอลั ลอฮมฺ ำกเท่ำน้นั ” (หิลยะตลุ เอำลยิ ำอ์ เลม่ 3 หนำ้ 9) และอำจเป็นไปไดว้ ่ำ ส่วนหนงึ่ ของฤดูกำลแห่งกำรอุตริกรรมท่โี ดดเดน่ คือกำรเจำะจงทำอบิ ำดะฮฺและ ควำมดีต่ำงๆในเดือนเรำะญับของบ่ำวบำงคนในหลำยๆประเทศ ดังน้ัน จะกล่ำวถึงกิจกรรมหรืออำมัล บำงอยำ่ งทชี่ ำวมุสลิมบำงชมุ ชนชอบปฏบิ ัตติ ลอดช่วงเดือนเรำะญับนี้ พร้อมกบั นำไปเทยี บเคยี งกับหลกั ฐำน ทำงศำสนำและทัศนะของอลุ ะมำอ์อิสลำมเกีย่ วกบั ส่งิ ดังกลำ่ ว เพอื่ เป็นกำรตักเตอื นแกป่ ระชำชำติ โดยหวัง เป็นอย่ำงย่ิงว่ำดว้ ยคำตักเตือนเกย่ี วกบั ส่ิงดงั กล่ำว อลั ลอฮฺจะทรงประทำนทำงนำให้แก่เขำ และทำให้เขำได้ เปิดหเู ปิดตำจำกชีวติ แหง่ กำรอุตริกรรมทีม่ ดื มิดและคลำอย่ใู นโลกแห่งควำมโง่เขลำ เดอื นเรำะญบั มคี วำมประเสริฐมำกกว่ำเดอื นอืน่ ๆจริงหรือ? อิบนุหะญัร กล่ำวว่ำ “ไม่มีหลักฐำนที่ถูกต้องและสำมำรถนำมำเป็ นข้ออ้ำงเลย เก่ียวกับควำม ประเสริฐของเดือนเรำะญบั ไม่ว่ำจะเป็นควำมประเสริฐของกำรถือศีลอดในเดือนนี้ หรือควำมประเสรฐิ ของ

3 กำรถอื ศีลอดในวนั ใดวนั หนง่ึ เป็นกำรเฉพำะในเดือนน้ี หรือควำมประเสริฐของกำรเจำะจงละหมำดกลำงคนื (กิยำมลุ ลัยล)์ ในบำงคืน แทจ้ ริงอิหม่ำมอบู อสิ มำอีล อัลหะเรำะวีย์ อลั หำฟิซไดก้ ล่ำวยืนยันเชน่ นี้ก่อนหน้ำ ข้ำพเจ้ำเสยี อีก ซง่ึ เรำได้รำยงำนถำ่ ยทอดมำจำกทำ่ นดว้ ยสำยรำยงำนที่ถูกตอ้ ง และเรำได้รำยงำนถ่ำยทอด คำยืนยันดังกล่ำวจำกอุละมำอ์ท่ำนอื่นๆเช่นเดียวกัน” (ตับยีน อัลอุญับ ฟีมำ วะเรำะดะ ฟี ฟั ฎลิ เรำะญับ หน้ำ 6 และดู อสั สนุ นั วลั มุบตะดะอำต ของ อัลกชุ ัยรยี ์ หน้ำ 22-24) ท่ำนยังกล่ำวอีกว่ำ “ส่วนหะดีษต่ำงๆท่ีมีรำยงำนอย่ำงชัดเจนเก่ียวกับควำมประเสริฐของเ ดือน เรำะญับ หรือควำมประเสริฐของกำรถือศีลอดในเดือนน้ี หรือควำมประเสริฐของกำรถือศีลอดในวันใดวัน หนึง่ เป็นกำรเฉพำะในเดอื นนี้ จะมอี ยสู่ องประเภท (ถ้ำไมใ่ ช่) หะดีษเฎำะอฟี (กจ็ ะเป็น) หะดีษเมำฎอู ฺ และเรำ จะขอนำเสนอบรรดำหะดีษทเ่ี ฎำะอฟี น้ัน พร้อมกับบ่งช้ีถึงหะดีษที่เมำฎูอฺพอเข้ำใจ” (ตับยีน อัลอุญับ ฟีมำ วะเรำะดะ ฟี ฟั ฎลิ เรำะญบั หนำ้ 8) ละหมำดเรำะฆออบิ 1. รปู แบบกำรละหมำด รูปแบบของละหมำดนีม้ ีระบุในหะดษี เมำฎูอฺทร่ี ำยงำนจำกอะนัส ที่ไดเ้ ลำ่ จำกทำ่ นนบี พอสรปุ ได้วำ่ “ถ้ำใครถือศีลอดในวันพฤหัสแรกของเดือนเรำะญับแล้วละหมำดจำนวน 12 ร็อกอัตในช่วงระหว่ำงมัฆริบ และอีชำอ์ของคืนน้ัน (คนื วันศกุ ร)์ และใหส้ ลำมทกุ ๆ 2 รอ็ กอัตในทกุ ร็อกอัตใหอ้ ำ่ น -ซเู รำะฮฺอัลฟำติหะฮฺ 1 เที่ยวจบ - ซเู รำะฮฺอัลกอ็ ดรฺ (อนิ นำอันซัลนำฮฟุ ีลยั ละตลิ กอ็ ดร)ฺ 3 เที่ยวจบ - ซเู รำะฮอฺ ลั อคิ ลำศ (กลุ ฮวุ ลั ลอฮุอะหดั ) 12 เทยี่ วจบพอละหมำดเสรจ็ แลว้ ให้ปฏิบตั ดิ งั นี้ - กล่ำวเศำะละวำตนบี 70 ครั้ง - ลงสญุ ูดแลว้ กลำ่ วคำว่ำ “สบุ บูหน กุดดูสน ร็อบบลุ มะลำอิกะติวรั รูหฺ” 70 ครั้ง - พอเงยหน้ำข้ึนจำกสุญุดให้อ่ำน “ร็อบบิฆฟิร วัรหัม มะตะญำวัซ อัมมำ ตะอฺลัม อินนะกะ อันตัลอะ ซซี ุลอะอฺซ็อม” 70 คร้งั - เสร็จแล้วให้ลงสูญุดอีกคร้ังและกล่ำวดุออำอ์เช่นเดียวกัน “สุบบูหน กุดดูสน ร็อบบุลมะลำอิกะติวัรรูหฺ” 70 ครัง้ เสรจ็ แลว้ ใหข้ อส่ิงที่ตำ่ งๆตำมต้องกำรแลว้ จะไดต้ ำมประสงค”์ ท่ำนนบียังกล่ำวอีกว่ำ “ฉันขอสำบำนด้วยพระนำมของผู้ท่ีตัวฉันอยู่ในกำมือของเขำ ไม่มีบ่ำวชำย หรือหญิงคนใดที่ได้ทำละหมำดนี้ นอกจำกอัลลอฮฺต้องให้อภัยในบำปทั้งหลำยแก่เขำ ถึงแม้ว่ำบำปนั้นจะ มำกมำยเท่ำฟองน้ำในทะเล และมีจำนวนเท่ำเม็ดทรำย และหนักเท่ำภูเขำและใบไม้ ก็ตำม และในวันกิยำ

4 มะฮฺเขำจะได้รับอนุญำตให้ช่วยเหลือ (ชะฟำอะฮฺ) แก่ครอบครัวและเครือญำติของเขำที่ต้องตกนรกอย่ำง แน่นอนแลว้ จำนวน 700 คน” (ดู อิหยฺ ำออ์ ุลมู ดิ ดนี เลม่ 1 หน้ำ 202 และตับยนี อลั อญุ บั หน้ำ 22-24) 2. ทัศนะของอลุ ะมำอ์ อิหม่ำมอันนะวะวีย์กล่ำวว่ำ “มันเป็นอุตริกรรมที่น่ำรงั เกียจและรบั ไม่ไดอ้ ย่ำงย่ิง ซ่ึงประกอบด้วยส่ิงที่ ไมด่ ีตำ่ งๆมำกมำย ดงั นั้นจึงจำเป็นตอ้ งละท้ิงและผินหลงั ใหก้ ับมัน พร้อมทงั้ ห้ำมปรำมผ้ทู ี่ปฏบิ ตั ิกับมัน” (ฟะตำวำอิหมำ่ มอนั นะวะวีย์ หน้ำ 57) อิบนุอันนะหำสกล่ำวว่ำ “มันคือส่ิงอุติรกรรม หะดีษที่มีรำยงำนเก่ียวกับมันล้วนเป็นหะดีษที่เมำฎูอฺ โดยมตเิ อกฉนั ท์ของอุละมำอ์หะดษี ” (ตนั บีฮุลฆอฟิลีน หนำ้ 496) อิบนุตัยมิยะฮฺกล่ำวว่ำ “ส่วนละหมำดเรำะฆออิบ ไม่มีต้นตอ (และที่มำ) ของมันเลย มันเป็นส่ิงอุตริ ดังนั้นท่ำนจงอยำ่ ช่นื ชอบและสง่ เสริมมัน ไม่ว่ำจะ (เป็นกำรละหมำด) ด้วยญะมำอะฮฺ หรือคนเดียว แท้จรงิ ได้มรี ำยงำนท่ีถูกตอ้ งจำกเศำะหีหมฺ ุสลมิ ระบุวำ่ ทำ่ นนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลมั “ห้ำมเจำะจงละหมำด (กิยำม) ในคนื วันศกุ รแ์ ละถอื ศลี อดในกลำงวนั ของมนั และหะดีษทร่ี ะบเุ ก่ียวกับส่งิ ดังกล่ำว (กำรสง่ เสริมให้ เจำะจงละหมำดกยิ ำมในคืนวนั ศกุ รแ์ ละถือศีลอดในตอนกลำงวนั ) เป็นกำรโกหกและถกู อปุ โลกน์ข้ึนมำโดย มตเิ อกฉันท์ของอลุ ะมำอ์ ไม่เคยมชี นสะลฟั และบรรดำอิหม่ำมแมแ้ ต่คนเดยี วท่กี ล่ำวถงึ ส่ิงนเี้ ลยแม้แตน่ อ้ ย” (มจั ญ์มอู ์อลั ฟะตำวำ เลม่ 23 หน้ำ 123) และยังมีอุละมำอ์อีกหลำยท่ำนท่ียืนยันถึงกำรถูกอุปโลกน์ข้ึนมำของหะดีษน้ี อำทิ อิบนุลเญำซีย์ใน หนังสือ อัลเมำฎูอำต, อัลหำฟิซ อบู อัลค็อตฏอบ, อบู ชำมะฮฺ (ดู อัลบำอิษ อะลำ อินกำร อัลบิดะอฺ วัลหะ วำดิษ หน้ำ 61, 67) เช่นเดียวกับกำรยืนยันถึงควำมเป็นอุตริกรรมของรูปแบบอิบำดะฮฺดังกล่ำวโดย อิบนุลหำจญ์ (ดู อัล มัดค็อล เล่ม 1 หน้ำ 211) และอิบนุเรำะญับ และท่ำนยังได้อ้ำงจำกอบูอิสมำอีล อัลอันศอรีย์, อบูบะกัร อัลสัมอำนีย์ และอบู อัลฟั ฎล์ บิน นำศิร อีกด้วย (ละฏออิฟ อัลมะอำริฟ หน้ำ 228) และอุละมำอ์ท่ำนอ่ืนๆ (ดู บทนำหนงั สือ มุสำญะละฮฺอัลอิซ บนิ อบั ดลุ สะลำม วะอบิ นุอัลเศำะลำหฺ หน้ำ 7-8) เรำะฆออิบมีทีม่ ำอยำ่ งไร? อัลฏ็อรฏูสีย์ได้ช้ีแจงถงึ จุดเร่มิ ต้นของกำรอุปโลกนล์ ะหมำดประเภทน้ีว่ำ “อบูมุหัมมัด อัลมักดะสีย์ได้ เล่ำให้ข้ำพเจ้ำฟั งว่ำ “พวกเรำท่ีอำศัยอยู่ท่ีบัยตุลมักดิส ไม่เคยรู้จักละหมำดเรำะฆออิบท่ีมีกำรละหมำดใน เดือนเรำะญับและชะอบฺ ำนมำก่อนเลย และเร่ิมแรกทม่ี ีกำรอุตริละหมำดน้ีขึ้นมำท่เี ขตของเรำเกิดขน้ึ ในปี ฮ. ศ. 448 โดยมีชำยชำวนำบุลสู คนหนง่ึ เดนิ ทำงมำอำศัยอยู่กับพวกเรำท่บี ัยตุลมักดสิ แหง่ น้ี เขำเป็นท่ีรู้จักใน นำมของอิบนุอบอี ลั หมั รออ์ เขำเป็นคนท่ีอำ่ นอัลกุรอำนเพรำะ เขำไดล้ กุ ขึ้นละหมำดท่มี สั ยดิ อลั อกั ศอในคืน กลำงเดือนชะอฺบำน (คืนนิศฟุ ชะอฺบำน)...” จนกระทั่งท่ำนกล่ำวว่ำ “ส่วนละหมำด (เรำะฆออิบในเดือน)

5 เรำะญับน้ัน ไม่เคยเกิดขึ้นท่ีเขตของเรำบัยตุลมักดิส นอกจำกหลังจำกปี ฮ.ศ. 480 ไปแล้ว และเรำไม่เคย พบเห็นละหมำดน้ีมำก่อนและไม่เคยได้ยินมำก่อนด้วย” (อัลบำอิษ อะลำ อินกำร อัลหะวำดิษ วัลบิดะอฺ หนำ้ 103) ละหมำดเรำะฆออบิ เพือ่ เอำใจชำวบ้ำน อิหม่ำมอบูชำมะฮกฺ ล่ำวว่ำ “มีอิหม่ำมไม่รู้กี่คนได้กล่ำว (แก้ตัว) ต่อ (หน้ำ) ข้ำพเจ้ำว่ำ “พวกเขำไมไ่ ด้ ละหมำดเรำะฆออิบ นอกจำกเพ่ือรักษำจิตใจของชำวบ้ำน และเพื่อให้พวกเขำยดึ มั่นกับมัสยิด กลัวว่ำพวก เขำจะหนีเตลิดและถอนตวั ออกหำ่ ง!” กำรกระทำของพวกเขำเช่นนี้ เป็นกำรเข้ำละหมำดด้วยเจตนำทีไ่ ม่ถูกต้อง และเป็นกำรพยำยำมยนื ต่อ หนำ้ อลั ลอฮฺ (ด้วยควำมไม่บรสิ ทุ ธใิ์ จ) และถำ้ ไม่มีส่งิ อื่นในอุตริกรรมน้ี นอกจำกกำรกระทำเช่นนีเ้ พียงอย่ำง เดียวก็เพียงพอแลว้ และทุกๆคนที่สบำยใจ (ไม่รู้สึกเดือดร้อน) กับละหมำดนี้ หรือเห็นดีเห็นงำมกับมัน ถือ ว่ำเขำเป็นต้นเหตุของกำรทำอุตริกรรมนี้ด้วย เป็นผู้ที่หลอกลวงชำวบ้ำนต่อส่ิงที่พวกเขำกำลังเชื่อถืออยู่ เกี่ยวกับกำรละหมำดดังกล่ำว (เพรำะไม่ยอมชี้แจงข้อเท็จจริงให้พวกเขำทรำบ) และถือว่ำ กำรน่ิงเฉยและ เห็นดีเห็นงำมของเขำต่อละหมำดดังกล่ำวเป็ นกำรโกหกต่อบัญญัติอิสลำมอีกด้วย ถ้ำหำกว่ำชำวบ้ำน เหลำ่ น้ันไดร้ ับกำรช้ีแจง และสอนสัง่ (ให้รู้จักถึงข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกบั ละหมำดดังกลำ่ ว อยำ่ งคอ่ ยเป็นค่อยไป) จำกปหี นึ่งไปสอู่ กี ปหี น่งึ แนน่ อนอย่ำงย่งิ วำ่ ชำวบำ้ นเหล่ำนน้ั ตอ้ งละท้ิงและยกเลกิ กำรกระทำนั้น แต่ (ถ้ำทำ เช่นนั้น) ตำแหน่งควำมเป็นผู้นำของบรรดำผู้ท่ีชอบกระทำอุตริกรรมและชอบฟ้ ืนฟู มันก็จะล่มสลำย วัลลอ ฮุลมุวฟั ฟิก เม่ือก่อน บรรดำแกนนำชำวคัมภีร์ไม่ยอมเข้ำรับอิสลำม เพรำะกลัวว่ำตำแหน่งทำงสังคมของเขำจะ ล่มสลำย อลั ลอฮฺไดต้ รสั เก่ียวกับจุดยนื ของพวกเขำวำ่ ‫َف َوْيلٌ ِِّل َّل ِذي ٌَن َي ْك ُت ُبو َنٌ ا ْل ِك َتا ٌَب ِب َأ ْي ِديِه ْمٌ ُث ٌَّم َي ُقوُلو ٌَن َهـ َذٌا ِم ٌْن ِعن ٌِد ال ٌِل ِل َي ْش َت ُروٌْا ِب ٌِه َث َمنٌا َق ِلي ٌل‬ ‫َف َوْيلٌ َّل ُه ٌم ِِّم َّما َك َت َب ٌْت َأ ْي ِديِه ْمٌ َو َوْي ٌل َّل ُه ٌْم ِِّم َّما َي ْك ِس ُبو ٌَن‬ “ดงั น้นั ควำมวิบตั จิ งมีแดผ่ ้เู ขยี นคัมภีร์ดว้ ยมอื ของพวกเขำแลว้ กลำ่ ววำ่ นีค่ อื ส่ิงท่ีมำจำกอัลลอฮฺ ท้งั นเ้ี พอื่ ท่พี วกเขำจะได้รบั ส่งิ แลกเปลี่ยนบำงอย่ำง(ตำแหนง่ และยศศกั ดทิ์ ำงสังคม)ที่มรี ำคำเพียงเลก็ น้อย ดงั น้นั ส่งิ ทีพ่ วกเขำเขียนด้วยมอื ของพวกเขำจะนำควำมวบิ ตั มิ ำสพู่ วกเขำ และส่ิงทพี่ วกเขำได้รบั นัน้ กน็ ำพำ พวกเขำไปสู่ควำมหำยนะ” ( อัลบะเกำะเรำะฮฺ 79 และดู อัลบำอิษ อะลำ อินกำร อัลบิดะอฺ วัลหะวำดิษ หนำ้ (105)

6 เหตุกำรณอ์ สิ รออแ์ ละมอิ ฺรอจญ์ มุอฺญิซำตหรือส่ิงอัศจรรย์อันย่ิงใหญท่ ่ีได้เกิดขน้ึ กับท่ำนนบี ‫ﷺ‬คือเหตุกำรณ์อิสรออ์ท่ีท่ำนนบี ได้ถูก พำเดินทำงไกลในค่ ำคืนหน่ึงจำกมัสยิดอัลหะรอมสู่มัสยิดอัลอักศอแล้วพำท่ำนเดินทำงมิอฺรอจญ์ข้ึนสู่ชั้น ฟ้ำทง้ั เจด็ และช้นั ทสี่ ูงกวำ่ น้ัน จำกเหตกุ ำรณอ์ นั ย่ิงใหญ่น้ีทำให้มีกำรจดั งำนเฉลิมฉลองเพื่อรำลึกถึงเหตกุ ำรณ์ดังกล่ำวในคืนที่ 27 ของเดือนเรำะญับอย่ำงแพร่หลำยไปเกือบทั่วโลก แต่แท้ที่จริงแล้วไม่มีรำยงำนท่ีถูกต้องเลยท่ีระบุว่ำ คืนที่ เกดิ เหตุกำรณ์อสิ รออ์และมอิ ฺรอจญ์นน้ั คอื คนื ท่ี 27 ของเดือนเรำะญบั อิบนุหะญัรได้อ้ำงคำพูดของอิบนุดิหฺยะฮฺว่ำ “นักเล่ำเรื่องบำงคนได้เล่ำว่ำเหตุกำรณ์อิสรออ์น้ันเกิดข้ึนใน เดือนเรำะญบั ” แล้วทำ่ นกก็ ลำ่ ว (คัดค้ำน) ว่ำ “คำพูดดังกลำ่ วนน้ั เป็นส่งิ ที่โกหก (ไม่เป็นควำมจริง)” (ตบั ยนี อลั อญุ ับ หนำ้ 6) อิบนุเรำะญับกล่ำวว่ำ “มีกำรรำยงำน (เกี่ยวกับคืนที่เกิดเหตุกำรณ์อิสรออ์) ด้วยสำยรำยงำนที่ไม่ ถูกต้อง จำกอัลกอสิม บิน มุหัมมัด ว่ำ “กำรเดินทำงกลำงคืน (อิสรออ์) ของท่ำนนบี นั้นเกิดข้ึนในวันที่ 27 ของเดอื นเรำะญับ และอิบรอฮมี อลั หัรบยี ์ และอุละมำอท์ ่ำนอนื่ ๆไดป้ ฏเิ สธและไมย่ อมรับ” (ละฏออิฟ อัลมะอำรฟิ หนำ้ 233) อิบนุตัยมิยะฮฺกล่ำวว่ำ “ไม่มีหลักฐำนที่ระบุอย่ำงแน่ชัด เกี่ยวกับเดือน และวัน (ท่ีเกิดเหตุกำรณ์ อิสรออ์) รำยงำนต่ำงๆที่ถูกเล่ำเกี่ยวกับส่ิงดังกล่ำวล้วนเป็ นรำยงำนท่ีขำดตอนและขัดแย้งกัน (อย่ำง ส้นิ เชิง) ไมม่ ีรำยงำนใดเลยที่สำมำรถนำมำยืนยันและชข้ี ำดได้” (ซำดลุ มะอำด เล่ม 1 หน้ำ 275) อิบนุหะญัรได้กล่ำวถึงทัศนะต่ำงๆที่ขัดแย้งกนั เกี่ยวกับวนั ทเี่ กิดเหตุกำรณ์อิสรออ์ และช้ีแจงว่ำ “บำง คนกล่ำวว่ำมันเกดิ ข้นึ ในเดือนเรำะญับ บำงคนกล่ำวว่ำเกิดข้นึ ในเดอื นเรำะบีอุลษำนีย์ และบำงคนกลำ่ วว่ำ เกิดขึ้นในเดือนรอมฎอน หรือเชำวำล (ฟั ตหุลบำรีย์ เล่ม 7 หน้ำ 242-243) และข้อเท็จจริงของเรื่องนี้เป็น อย่ำงทอี่ ิบนตุ ัยมยิ ะฮฺได้กลำ่ วไว้ และถึงแม้ว่ำจะมีรำยงำนท่ีถูกต้องและมีน้ำหนักที่ระบุถึงวันท่ีเกิดเหตุกำรณ์อิสรออ์และมิอฺรอจญ์ ก็ ไม่อนญุ ำตให้ผใู้ ดยึดวนั นน้ั (เพ่อื ปฏิบตั ศิ ำสนกิจหรือทำกำรเฉลิมฉลองเป็นกำรเฉพำะ) เพรำะไมม่ ีรำยงำน ท่ีถูกต้องจำกท่ำนนบี หรือจำกบรรดำเศำะหำบะฮฺท่ำนใด หรือบรรดำตำบอิ ีนว่ำ พวกเขำเคยยึดถือวำ่ คืนท่ี เกิดเหตุกำรณ์ดังกล่ำวเป็นคืนทม่ี ีควำมเหล่ือมล้ำกว่ำคืนอ่ืนๆ (ในด้ำนของควำมประเสริฐกำรทำอิบำดะฮฺ) นับประสำอะไรกับกำรร่วมทำกำรเฉลิมฉลองเน่ืองในโอกำสดังกล่ำว ทั้งน้ียังไม่รวมถึงอุตริกรรมบำงอย่ำง หรือส่ิงเลวทรำมต่ำงๆทีส่ อดแทรกอยู่ในงำนเฉลิมฉลองดังกลำ่ ว ดังท่ีอิบนุ อัลนะหำส (ตันบีฮฺ อัลฆอฟิลนี หน้ำ 497), อิบนุ อัลหำจญ์ (อัลมัดค็อล เล่ม 1/211-212) และอำลี มะหฺฟู ซฺ (อัลอิบดำอฺ หน้ำ 272) ได้ กลำ่ วไว้

7 เชอื ดสัตวใ์ นเดือนเรำะญับ “อะตเี รำะฮฺ” กำรเชือดสัตว์โดยท่ัวไปในเดือนเรำะญับไม่ได้เป็นส่ิงต้องห้ำมแต่อย่ำงใด เหมือนกับกำรเชือดสัตว์ ท่ัวๆไปในเดือนอื่นๆ แต่ปัญหำคือชำวญำฮิลิยะฮฺในสมัยก่อนอิสลำมได้มีกำรเชือดประเภทหน่ึงซง่ึ พวกเขำ เรียกว่ำ “อัลอะตีเรำะฮฺ” นั่นคือกำรเชือดสัตว์หรือแพะเพื่อเป็นของขวัญหรือเล้ียงอำหำรให้แก่สมำชิกใน ครอบครัวในเดือนเรำะญับ โดยเฉพำะในชว่ ง 10 วันแรกของเดอื น และมกั จะเรียกอกี ชอ่ื วำ่ “เรำะญะบยิ ะฮฺ” หมำยถึงสตั ว์ทถ่ี กู เชอื ดในเดอื นเรำะญบั บรรดำอุละมำอ์มีทัศนะท่ีขัดแย้งกันเกี่ยวกับหุกมดังกล่ำว -ในกรณีที่ปลอดจำกส่ิงที่นำไปสู่กำรชิริก ตอ่ อัลลอฮฺ- วำ่ อิสลำมส่งเสรมิ ใหก้ ระทำหรือไม่ ? - อุละมำอ์ส่วนใหญ่ (หะนะฟีย์ มำลิกีย์ และหันบะลีย์) มีทัศนะว่ำ อิสลำมได้ยกเลิกกำรกระทำดังกล่ำว แล้ว ดังน้ันจึงไม่ส่งเสริมให้กระทำ (ดู อัลมัจญ์มูอ์ เล่ม 8 หน้ำ 446, ชัรหิเศำะหีหฺมุสลิม เล่ม 13 หน้ำ 137, อลั อิอตฺ บิ ำร ฟี อัลนำสคิ วลั มนั สคู มนิ อลั อำษำร หน้ำ 158-160) โดยอ้ำงหลักฐำนจำกหะดษี ของอบฮู รุ อ็ ยเรำะฮฺ ทำ่ นนบี กลำ่ ววำ่ ‫ٌَلٌ َف َر َعٌٌ َو ٌَلٌ َع ِت ْي َر ٌَة‬ “ไม่มีกำรเชือดฟะเรำะอฺ (กำรเชือดลูกสตั ว์ท้องแรกหลังจำกที่คลอดออกมำ เพื่อบูชำแกบ่ รรดำเจว็ด หรือ เพ่ือหวังควำมบะเรำะกะฮฺท่ีจะได้จำกแม่พันธ์ในอนำคต) และไม่มีกำรเชือดอะตีเรำะฮฺ” (บันทึกโดย อัล บคุ อรยี ์ เลขท่ี 5473 และมุสลิม เลขท่ี 1976) - และอุละมำอ์อีกกลุ่มหนึ่ง อำทิ อิบนุสีรีน และชำฟิอีย์ มีทัศนะว่ำสง่ เสริมให้กระทำ (อลั มจั ญม์ ูอฺ เลม่ 8 หน้ำ 445-446) โดยอ้ำงหลักฐำนจำกหลำยๆหะดีษท่ีบ่งช้ีว่ำอนุญำตและส่งเสริมให้ปฏิบัติ ซึ่งส่วนหน่ึงเป็นหะดีษท่ี เศำะหีหฺเช่นกัน (ดู 1.หะดีษมิคนัฟ บิน สุลัยม์ อัลฆอมิดีย์ บันทึกโดยอบูดำวูด เลขที่ 2788, อัตติรมิซีย์ เลขท่ี 1523, อันนะสำอีย์ เล่ม 7 หน้ำ 167, อิบนุมำญะฮฺ เลขท่ี 3125, ดูเศำะหีหฺอิบนุมำญะฮฺ ของอัลอัล บำนีย์ เลขที่ 2533, 2.หะดีษนุบัยชะฮฺ บิน อัมรู บันทึกโดย อบูดำวูด เลขท่ี 2830, อันนะสำอีย์ เล่ม 7 หน้ำ 169-170, อบิ นุมำญะฮฺ เลขท่ี 2565, ดู เศำะหหี อฺ บิ นุมำญะฮฺ ของอลั บำนีย์ เลขที่ 2565, และอื่นๆ) และให้คำตอบต่อหะดีษอบูฮุร็อยเรำะฮทฺ ีเ่ ป็นหลักฐำนของญมุ ฮรู ว่ำ “ส่ิงต้องห้ำมในหะดีษขำ้ งตน้ คือ ห้ำมไม่ให้ปฏิบัติเสมือนกับชำวญะฮีลิยะฮฺซึ่งพวกเขำจะเชือดสัตว์เพื่อบูชำอื่นจำกอัลลอฮฺ หรือเป็ นกำร ปฏเิ สธควำมเป็นวำญิบเทำ่ นั้น ไม่ไดเ้ ป็นกำรยกเลิกเสยี ทเี ดยี ว” (ดู ละฏออิฟ อัลมะอำรฟิ หน้ำ 227, ฟั ตหุล บำรยี ์ เลม่ 9 หน้ำ 512) ส่วนญุมฮูรก็ให้คำตอบต่อหลักฐำนที่ฝ่ำยที่สองอำ้ งไว้ว่ำ “หะดีษอบูฮุร็อยเรำะฮฺมีน้ำหนักด้ำนควำม ถูกต้องและมั่นคงมำกกว่ำ ดังน้ันจึงจำเป็นต้องยึดปฏิบัติตำมน้ันมำกว่ำหะดีษท่ีมีน้ำหนักน้อยกว่ำ และมี อุละมำอ์หลำยท่ำนที่ยืนยันว่ำ หลักฐำนที่ฝ่ำยที่สองอ้ำงมำน้ันถูกนยกเลิกด้วยหะดีษอบูฮุร็อยเรำะฮฺ อำทิ

8 อบิ นุลมนุ ซิร เป็นต้น เพรำะอบูฮุรอ็ ยเรำะฮฺเข้ำรับอสิ ลำมทีหลัง ส่วนหะดษี ท่อี นุญำตนน้ั เกิดข้ึนช่วงแรกของ อสิ ลำม หลงั จำกนัน้ ก็ถูกยกเลกิ ไป” (ดู ละฏออฟิ อัลมะอำรฟิ หน้ำ 227 และอลั ออิ ฺตบิ ำร หน้ำ 388-390) อัลหะสันกลำ่ วว่ำ “อะติเรำะฮไฺ มม่ ีในอสิ ลำม แตท่ วำ่ อะตเิ รำะฮฺนน้ั เคยเกดิ ขึน้ ในสมัยญะฮิลยิ ะฮฺ พวก เขำบำงคนจะถือศีลอดแลว้ ก็เชอื ดสตั ว์อะติเรำะฮฺ” (ละฏออฟิ อัลมะอำรฟิ หนำ้ 227) อบิ นเุ รำะญับกล่ำวว่ำ “และยังมีส่งิ ทถ่ี กู ปฏิบตั คิ ลำ้ ยกับกำรเชือดอะตเิ รำะฮใฺ นช่วงเดือนเรำะญับ อำทิ ยึด (วันใดวันหน่ึงของเดือนเรำะญับ) เป็นเทศกำลแห่งกำรเฉลิมฉลอง เช่นมีกำรทำนของหวำน และอื่นๆ และได้มีรำยงำนจำกอิบนุอับบำสว่ำ ท่ำนไม่ชอบให้มีกำรยึด(วันใดวันหนึ่งใน) เดือนเรำะญับเป็นเทศกำล แหง่ กำรเฉลมิ ฉลอง” (ละฏออฟิ อลั มะอำรฟิ หนำ้ 227) สรุป คือ ควรหลกี เลย่ี งกำรเชือดสตั ว์เพ่ือเล้ยี งครอบครวั ในเดอื นเรำะญับที่เรยี กวำ่ อะติเรำะฮฺเป็นกำร ดีทสี่ ุด เพ่ือหลีกเล่ยี งจำกชุบฮำต เพรำะจะอย่ำงไรก็ตำม กำรเชอื ดสตั ว์ตำมปกติท่ัวไปกย็ ังคงสำมำรถทำได้ อยู่ วลั ลอฮุอะอฺลัม นุบัยชะฮฺ บิน อัมรูเล่ำว่ำ บรรดำเศำะหำบะฮกฺ ล่ำวแก่ทำ่ นนบี ว่ำ “โอ้ท่ำนรสูลุลลอฮฺ เมื่อสมัยญำฮิลิ ยะฮฺ พวกเรำเคยเชือดอะตเิ รำะฮฺ –ในเดือนเรำะญบั -” ท่ำนตอบว่ำ ‫ِا ْذ َب ُح ْوٌاٌل ٌِلٌِف ٌيٌ َأ ِّ ٌِيٌ َش ْه ٌرٌ َكا ٌَنٌ َوِب ُّر ْواٌال ٌَلٌ َوَأ ْط ِع ُم ْوٌا‬ “พวกทำ่ นจงเชอื ดเพือ่ อลั ลอฮฺในเดอื นใดก็ได้ (แต่อย่ำเจำะจงเชือดในเดือนเรำะญับ*) และจงปฏิบตั ิดตี ่ออลั ลอฮฺ (จงอยำ่ ต้ังภำคยี ์ต่อพระองค์) และจงเลีย้ งอำหำร (แกส่ มำชิกในครอบครวั )” (บันทึกโดย อบูดำวูด เลขที่ 2830, อันนะสำอีย์ เล่ม 7 หน้ำ 169-170, อิบนุมำญะฮฺ เลขที่ 2565, ดู เศำะหหี ฺอบิ นุมำญะฮฺ ของอัลบำนีย์ เลขที่ 2565) วัลลอฮุอะอลฺ ัม ถือศีลอดหรอื อิอตฺ ิกำฟในเดอื นเรำะญบั อิบนเุ รำะญับกล่ำววำ่ “ไม่มีรำยงำนทถ่ี ูกตอ้ งเกีย่ วกับควำมประเสริฐของกำรเจำะจงถอื ศีลอดในเดือน เรำะญับจำกท่ำนนบีศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลัมเลย และไม่มีรำยงำนจำกบรรดำเศำะหำบะฮอฺ กี เช่นกัน” (ละฏออฟิ อลั มะอำริฟ หนำ้ 228) อิบนตุ ัยมิยะฮฺกลำ่ วว่ำ “สว่ นกำรเจำะจงถือศีลอดในเดอื นเรำะญบั หะดษี ต่ำงๆท่รี ำยงำนเก่ยี วกบั สง่ิ ดังกล่ำวล้วนเป็นหะดีษที่เฎำะอีฟ และเมำฎูอฺ บรรดำนักวิชำกำรไม่ยึดถือหะดีษเหล่ำน้ันเลย ซ่ึงมันไม่ใช่หะ ดีษที่อยู่ในประเภทของเฎำะอีฟท่ีมีกำรอนุโลมให้ทำกำรรำยงำนในเรื่องของฟะฎออิล แต่ทว่ำ โดยรวมแล้ว ล้วนเป็ นหะดีษท่ีเมำฎูอฺและถูกอุปโลกน์ขึ้นมำทั้งส้ิน...แท้จริงอิบนุมำญะฮฺได้รำยงำนจำกอิบนุอับบำสใน สุนันของท่ำนว่ำ “ท่ำนนบี ได้ห้ำมไม่ให้ถือศีลอดในเดือนเรำะะญับ” แต่จำเป็นต้องพิจำรณำสำยรำยงำน

9 (สำยรำยงำนอ่อน) แต่มีสำยรำยงำนท่ีถูกต้องว่ำ อุมัร บิน อัลค็อตฏอบเคยตีมือผู้คนเพื่อให้วำงมือลงบน อำหำร (ให้ทำนอำหำร) ในเดือนเรำะญับ และกลำ่ วว่ำ “พวกเจ้ำจงอยำ่ ทำใหเ้ หมอื นกับเดอื นรอมฎอน”... ส่วนกำรเจำะจงเดือนเรำะญบั เพ่ืออิอตฺ กิ ำฟในสำมเดอื น : เรำะญบั เชำวำล และรอมฎอน ขำ้ พเจำ้ ไม่ ทรำบ (ว่ำมีรำยงำน) เก่ียวกับเร่ืองนี้ แต่ถ้ำผู้ใดท่ีถือศีลอดตำมบัญญัติศำสนำและประสงค์จะทำกำรอิอตฺ ิ กำฟควบคกู่ นั ไป กเ็ ป็นกำรกระทำท่อี นุญำตอยำ่ งไมต่ ้องสงสัย แตถ่ ำ้ ทำกำรออิ ตฺ กิ ำฟโดยปรำศจำกกำรถือ ศีลอด ในกรณีนีน้ กั วชิ ำกำรมีควำมเหน็ อยูส่ องทศั นะ...” (มัจญม์ ูออฺ ลั ฟะตำวำ เล่ม 25 หน้ำ 290-292) กำรท่ีไม่มีรำยงำนเฉพำะเกย่ี วกับควำมประเสริฐของกำรถือศีลอดเดือนเรำะญบั ไม่ได้หมำยควำมวำ่ ไม่อนุญำตให้ถือศีลอดสุนัตในเดือนนี้ ดังที่มีรำยงำนท่ัวไปมำกมำยที่ส่งเสริมให้ถือศีลอดสุนัตในทุกๆ เดอื น (ยกเว้นรอมฎอน) อำทิ กำรถือศีลอดในวนั จันทร์ พฤหสั สำมวันต่อเดือน ถือศลี อด 1 วนั และละ 1 วัน เป็นต้น แตก่ ำรถือศีลอดทีถ่ อื ว่ำไม่เป็นทสี่ ง่ เสรมิ และน่ำรงั เกียจ ตำมท่ีอัลฏอ็ รฏสู ยี ไ์ ด้กลำ่ วไว้ (อัลบำอษิ อะ ลำ อินกำร อัลหะวำดิษ วัลบิดะอฺ หน้ำ 110-111 และดู อัลอุญับ หน้ำ 37-38) เม่ือมีกำรปฏิบัติหน่ึงในสำม ประเภทตอ่ ไปนี้ 1. เจำะจงถือศีลอดในเดือนเรำะญบั ของทุกๆปี จนกลำยเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของกำรถือศีลอดวำญิบท่ี คล้ำยกบั กำรถือศีลอดของเดอื นรอมฎอน 2. มคี วำมเช่อื ว่ำกำรถอื ศีลอดในเดือนเรำะญับเป็นสุนนะฮฺทีท่ ่ำนนบไี ด้เจำะจงปฏบิ ัตเิ ป็นประจำในเดอื นนี้ 3. มคี วำมเชือ่ ว่ำกำรถอื ศีลอดในเดือนเรำะญับมผี ลบญุ เฉพำะทเ่ี หลื่อมล้ำกว่ำกำรถือศลี อดในเดอื นอ่ืนๆ ทมี่ คี วำมประเสรฐิ คลำ้ ยกับกำรถือศลี อดในวนั อำชูรอ เป็นต้น ทำอุมเรำะฮใฺ นเดือนเรำะญับ บำงคนม่งุ มนั่ ทจ่ี ะเดนิ ทำงไปทำอมุ เรำะฮฺในเดือนเรำะญบั เพรำะเช่ือวำ่ ทำอมุ เรำะฮใฺ นเดือนเรำะญบั นี้ จะมีควำมเหล่ือมล้ำกว่ำและมีผลบุญมำกกว่ำกำรทำอุมเรำะฮฺในเดือนอ่ืนๆ ซึ่งควำมจริงแล้วควำมเชื่อ ดงั กล่ำวไมม่ ีท่ีมำเลยแมแ้ ตน่ ิด มีรำยงำนจำกอิบนุอุมัร ท่ำนกล่ำวว่ำ “ท่ำนรสูลุลลอฮฺ ได้ทำอุมเรำะฮฺทั้งส้ินจำนวน 4 ครั้ง หนึ่งในจำนวน นน้ั ท่ำนทำในเดือนเรำะญับ” อำอชิ ะฮจฺ งึ กล่ำวแย้งว่ำ “ขออัลลอฮฺทรงประทำนควำมเมตตำแก่อบูอับดุลเรำะหมฺ ำน (หมำยถงึ อบิ นุ อุมรั ) ท่ำนนบีไม่เคยทำอุมเรำะฮฺนอกจำกว่ำเขำจะร่วมเป็นสักขีพยำนด้วย และท่ำนนบีก็ไม่เคยทำอุมเรำะฮฺใน เดือนเรำะญับเลย” (บนั ทึกโดยอัลบุคอรยี ์ เลขท่ี 1776) อิบนุ อัลอัตฏอรกล่ำวว่ำ “ส่วนหนึ่งของข่ำวท่ีมำถึงข้ำพเจ้ำเกี่ยวกับชำวมักกะฮฺ คือกำรชอบทำ อุมเรำะฮฺหลำยๆครั้งในเดือนเรำะญบั ซึ่งกำรกระทำดังกล่ำวเป็นส่ิงท่ีข้ำพเจ้ำไม่เคยทรำบเลยว่ำมีท่ีมำของ

10 มัน” (อัลมุสำญะละฮฺ บัยนะ อัลอิซฺ วะอิบนุ อัลเศำะลำหฺ หน้ำ 56 และดูฟะตำวำเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม เล่ม 6 หน้ำ 131) เชคบินบำซระบุว่ำ “เวลำท่ีประเสริฐท่ีสุดสำหรับทำอุมเรำะฮฺคืออุมเรำะฮฺในเดือนรอมฎอน เพรำะ ท่ำนนบี กล่ำวว่ำ “ทำอุมเรำะฮฺในเดือนรอมฎอนมีผลบุญเท่ำกับกำรทำหัจญ์หนึ่งครั้ง” รองลงมำคืออุม อเรลั ำละฮอฺใฮนฺทเรดงือตนรัสซวุล่ำเกำะดะ‫ٌة‬ฮ‫س ฺَن‬เَ พ‫ َح‬รٌำ‫و ٌة‬ะَ ‫س‬อْ ุม‫ٌلٌ ُأ‬เِ ‫ل‬ร‫ا‬ำٌٌ‫ل‬ะِ ฮ‫ฺ ْو‬ข‫ ُس‬อ‫ٌ َر‬ง‫ ٌي‬ท‫ٌ่مٌِف‬ำْ ‫ك‬นُ ‫َل‬นٌٌ‫ َن‬บ‫ٌدٌ َีكا‬ทْ ‫ัٌ้ق‬งَ ‫ل‬หَ มดเกิดข้ึนในเดือนซุลเกำะดะฮฺ และแท้จริง “แทจ้ ริงในตวั ของท่ำนรสูลลุ ลอฮนฺ น้ั เป็นแบบอย่ำงท่ีดสี ำหรบั พวกเจำ้ ” (อลั อะหฺซำบ อำยะฮทฺ ี่ 21, ดูฟะตำวำอสิ ลำมิยะฮฺ รวบรวมโดย มุหมั มัด สยั ยิด เล่ม 2 หนำ้ 303-304) ออกซะกำตในเดือนเรำะญับ มุสลิมในบำงประเทศชอบรอออกซะกำตในเดอื นเรำะญบั อบิ นเุ รำะญับกลำ่ วว่ำ “กำรกระทำดงั กล่ำว ไมม่ ที มี่ ำจำกสนุ นะฮเฺ ลย และไม่เคยทรำบว่ำมสี ะลฟั ทำ่ นใดเคยปฏิบัต.ิ ..แต่โดยรวมแล้ว กำรออกซะกำตจะ เป็ นวำญิบเมื่อครบรอบปีของนิศอบมัน ดังน้ันแต่ละคนจะมีรอบปีเฉพำะของเขำตำมวันเวลำท่ีเขำได้ ครอบครองนิศอบของทรัพย์สิน และเม่ือใดที่ครบรอบปีของนิสอบ เขำก็จำเป็นต้องออกซะกำตทันทีไม่ว่ำ จะอยใู่ นเดอื นใดก็ตำม” หลังจำกน้ันท่ำนได้อธิบำยเพ่ิมเติมว่ำ “อนุญำตให้ออกซะกำตก่อนถึงกำหนดเวลำของรอบปี เพื่อ ฉวยโอกำสออกซะกำตในเวลำท่ีประเสิรฐกว่ำ เช่นเดือนรอมฎอน เป็นต้น หรือเพื่อฉวยโอกำสให้บริจำค ทำนแก่บุคคลทเ่ี ขำพบว่ำจะไมพ่ บบคุ คลทีม่ ีควำมจำเป็นเชน่ เขำอีกแลว้ เมือ่ ครบเวลำรอบปี เป็นตน้ ” (ละฏออฟิ อลั มะอำริฟ หน้ำ 231-232) อิบนุ อัลอัตฏอรกล่ำวว่ำ “และส่ิงที่ผู้คนในปัจจุบันชอบปฏิบัติในปัจจุบันน้ี ด้วยกำรเจำะจงออกซะ กำตทรัพย์สินของพวกเขำในเดือนเรำะญบั เพียงเดือนเดียว เป็นกำรกระทำท่ีไม่มีท่ีมำเลย แต่ทว่ำ บัญญัติ ศำสนำระบุว่ำ วำญิบต้องออกซะกำตทรัพย์สินเม่ือครบรอบปีด้วยเงื่อนไขของมัน ไม่ว่ำจะตรงกับเดือน เรำะญับหรือเดอื นอน่ื ๆก็ตำม” (อลั มุสำญะละฮฺ บยั นะ อลั อิซฺ วะอบิ นุ อัลเศำะลำหฺ หน้ำ 55) ไมม่ เี หตกุ ำรณ์สำคญั ใดๆเกดิ ข้นึ ในเดอื นเรำะญับ อิบนุเรำะญบั กลำ่ ววำ่ “ได้มีรำยงำนวำ่ มีเหตุกำรณ์สำคญั เกดิ ข้ึนในเดือนเรำะญบั แต่ไม่มีรำยงำนใด ที่ถูกต้องหรือน่ำเชื่อถือเกี่ยวกับส่ิงดังกล่ำวเลย เช่น มีรำยงำนว่ำ ท่ำนนบีถือกำเนิดในคืนแรกของเดือน เรำะญบั ท่ำนนบไี ด้รับกำรแต่งตง้ั ให้เป็นนบีในวนั ท่ี 27 ของเดอื นเรำะญับ และบำงรำยงำนระบุว่ำ ถกู แตง่ ต้งั ในวนั ที่ 25 ของเดอื น แตก่ ไ็ ม่มรี ำยงำนใดท่ีมีน้ำหนักและถูกต้อง...” (ละฏออฟิ อลั มะอำรฟิ หนำ้ 233) ผู้แปล : อษุ มำน อิดรสี / Islam House

‫‪11‬‬ ‫فضائل شهر رجب في الميزان‬ ‫د‪ .‬فيصل بن علي البعداني‬ ‫ف ّضل الله (تعالى) بعض الأيام والليالي والشهور على بعض‪ ،‬حسبما اقتضته حكمته البالغة؛ ليج ّد العباد في وجوه‬ ‫البر‪،‬ويكثروا فيها من الأعمال الصالحة‪ ،‬ولكن شياطين الإنس والجن عملوا على صد الناس عن سواء السبيل‪،‬‬ ‫وقعدوا لهمكل مرصد؛ ليحولوا بينهم وبين الخير ‪ ،‬فزينوا لطائفة من الناس أن مواسم الفضل والرحمة مجال للهو‬ ‫والراحة ‪ ،‬وميدان لتعاطي اللذات والشهوات ‪.‬‬ ‫وحّرضوا طوائف أخرى سواء أكانوا ممن قد يملكون نوايا طيبة ولكن غلب عليهم الجهل بأحكام الدين أو من‬ ‫ذوي المصالح والرياسات الدينية أو الدنيوية الخائفين على مصالحهم وزوال مواقعهم من مزاحمة مواسم الخير وال ّسنّة‬ ‫مواسم مبتدعة ما أنزل الله بها من سلطان ‪ ،‬قال حسان بن عطية‪\" :‬ما ابتدع قوم بدعة في دينهم إلا نزع الله من‬ ‫سنتهم مثلها ‪ ،‬ولا يعيدها إليهم إلى يوم القيامة\" (‪ ، )1‬بل قال أيوب السختياني‪\" :‬ما ازداد صاحب بدعة‬ ‫اجتهاداً إلا زاد من الله بعداً ‪\"(2).‬‬ ‫ولعل من أبرز تلك المواسم البدعية‪ :‬ما يقوم به بعض العباد فيكثير من البلدان في شهر رجب‪ ،‬ولذا‪ :‬فسأحرص‬ ‫في هذه المقالة على تناول بعض أعمال الناس فيه ‪ ،‬وعرضها على نصوص الشريعة وكلام أهل العلم ‪ ،‬نصحاً‬ ‫للأمة وتذكيراً لهم؛ لعل في ذلك هداية لقلوب ‪ ،‬وتفتيحاً لعيوٍن وآذا ٍن عاشت في ظلمات البدع وتخبطات الجهل‪.‬‬ ‫هل لـ (رجب) فضل على غيره من الشهور؟ ‪:‬‬ ‫قال ابن حجر‪\" :‬لم يرد في فضل شهر رجب‪ ،‬ولا في صيامه ‪ ،‬ولا في صيام شيء منه معين‪ ،‬ولا في قيام ليلة‬ ‫مخصوصة فيه‪ ..‬حديث صحيح يصلح للحجة‪،‬وقد سبقني إلى الجزم بذلك الإمام أبو إسماعيل الهروي الحافظ‪،‬‬ ‫رويناه عنه بإسناد صحيح‪ ،‬وكذلك رويناه عن غيره ‪\"(3).‬‬ ‫وقال أيضاً‪\" :‬وأما الأحاديث الواردة في فضل رجب ‪ ،‬أو في فضل صيامه ‪ ،‬أو صيام شيء منه صريحة‪ :‬فهي على‬ ‫قسمين‪ :‬ضعيفة ‪ ،‬وموضوعة ‪ ،‬ونحن نسوق الضعيفة ‪ ،‬ونشير إلى الموضوعة إشارة مفهمة\" (‪ ، )4‬ثم شرع في‬ ‫سوقها‪.‬‬ ‫صلاة الرغائب‪:‬‬ ‫أولاً‪ :‬صفتها‪ :‬وردت صفتها في حديث موضوع عن أنس عن النبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ -‬أنه قال‪\" :‬ما من أحد‬ ‫يصوم يوم الخميس (أول خميس من رجب) ثم يصلي فيما بين العشاء والعتمة يعني ليلة الجمعة اثنتي عشرة ركعة ‪،‬‬ ‫يقرأ في كل ركعة بفاتحة الكتاب مرة و((إَّان أَنَزلْنَاهُ يفي لَْيـلَية الَق ْدير)) ثلاث مرات‪ ،‬و((قُ ْل ُهَو اَّاللُ أَ َح ٌد)) اثنتي عشرة‬ ‫مرة‪:‬‬ ‫سبعين‪ ،‬فيقول في سجوده سبعين‬ ‫عملرةّي‪:‬‬ ‫بتسليمة ‪ ،‬فإذا فرغ من صلاته صلى‬ ‫مرة ‪ ،‬يفصل بينكل ركعتين‬ ‫‪ ،‬إنك‬ ‫رب اغفر وارحم وتجاوز عما تعلم‬ ‫والروح) ‪ ،‬ثم يرفع رأسه ويقول سبعين‬ ‫(سبوح قدوس رب الملائكة‬

‫‪12‬‬ ‫أنت العزيز الأعظم ‪ ،‬ثم يسجد الثانية فيقول مثل ما قال في السجدة الأولى ‪ ،‬ثم يسأل الله (تعالى) حاجته ‪ ،‬فإنها‬ ‫تقضى\"‪ ..‬قال رسول الله ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪\" :-‬والذي نفسي بيده ‪ ،‬ما من عبد ولا أََمة صلى هذه الصلاة‬ ‫إلا غفر الله له جميع ذنوبه ‪ ،‬ولوكانت مثل زبد البحر ‪ ،‬وعدد الرمل ‪ ،‬ووزن الجبال ‪ ،‬وورق الأشجار ‪ ،‬ويشفع‬ ‫يوم القيامة في سبعمئة من أهل بيته ممن قد استوجب النار ‪\"(5).‬‬ ‫ثانياً‪:‬كلام أهل العلم حولها ‪:‬‬ ‫قال النووي‪\" :‬هي بدعة قبيحة منكرة أشد إنكار ‪ ،‬مشتملة على منكرات ‪ ،‬فيتعين تركها والإعراض عنها ‪،‬‬ ‫وإنكارها على فاعلها ‪\"(6).‬‬ ‫وقال ابن النحاس‪\" :‬وهي بدعة ‪ ،‬الحديث الوارد فيها موضوع باتفاق المحدثين ‪\"(7).‬‬ ‫وقال ابن تيمية‪\" :‬وأما صلاة الرغائب‪ :‬فلا أصل لها ‪ ،‬بل هي محدثة ‪ ،‬فلا تستحب ‪ ،‬لا جماعة ولا فرادى؛ فقد‬ ‫ثبت في صحيح مسلم أن النبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ -‬نهى أن تخص ليلة الجمعة بقيام أو يوم الجمعة بصيام ‪،‬‬ ‫والأثر الذي ذكر فيهاكذب موضوع باتفاق العلماء ‪ ،‬ولم يذكره أحد من السلف والأئمة أصلاً ‪\"(8).‬‬ ‫وقد أبان الطرطوشي بداية وضعها ‪ ،‬فقال‪\" :‬وأخبرني أبو محمد المقدسي ‪ ،‬قال‪ :‬لم يكن عندَّن ببيت المقدس قط‬ ‫صلاة الرغائب هذه التي تصلى في رجب وشعبان ‪ ،‬وأول ما حدثت عندَّن في سنة ثمان وأربعين وأربعمئة ‪ ،‬قدم‬ ‫علينا في بيت المقدس رجل من َّنبلس ‪ ،‬يعرف بابن أبي الحمراء ‪ ،‬وكان حسن التلاوة ‪ ،‬فقام فصلى في المسجد‬ ‫الأقصى ليلة النصف من شعبان‪ ...‬إلى أن قال‪ :‬وأما صلاة رجب فلم تحدث عندَّن في بيت المقدس إلا بعد سنة‬ ‫ثمانين وأربعمئة ‪ ،‬وماكنا رأيناها ولا سمعنا بها قبل ذلك ‪\" (9).‬‬ ‫وقد جزم بوضع حديثها‪ :‬ابن الجوزي في الموضوعات ‪ ،‬والحافظ أبو الخطاب ‪ ،‬وأبو شامة (‪، )10‬كما جزم‬ ‫ببدعيتها‪ :‬ابن الحاج (‪ ، )11‬وابن رجب ‪ ،‬وذكر ذلك عن أبي إسماعيل الأنصاري ‪ ،‬وأبي بكر السمعاني ‪ ،‬وأبي‬ ‫الفضل بن َّنصر(‪ ..)12‬وآخرون ‪(13).‬‬ ‫ثالثاً‪ :‬حكم صلاتها جلباً لقلوب العوام ‪:‬‬ ‫قال أبو شامة‪\" :‬وكم من إمام قال لي‪ :‬إنه لا يصليها إلا حفظاً لقلوب العوام عليه ‪ ،‬وتمسكاً بمسجده خوفاً من‬ ‫انتزاعه منه (!) ‪ ،‬وفي هذا دخول منهم في الصلاة بغير نية صحيحة ‪ ،‬وامتهان الوقوف بين يدي الله (تعالى) ‪،‬‬ ‫ولو لم يكن في هذه البدعة سوى هذا لكفى ‪ ،‬وكل من آمن بهذه الصلاة أو حسنها فهو متسبب في ذلك ‪ ،‬مغٍر‬ ‫للعوام بما اعتقدوه منها ‪ ،‬كاذبين على الشرع بسببها ‪ ،‬ولو بُ يّصروا وعُّيرفوا هذا َسنَةً بعد َسنٍَة لأقعلوا عن ذلك‬ ‫وألغوه ‪ ،‬لكن تزول رئاسة محبي البدع ومحييها ‪ ،‬والله الموفق ‪.‬‬ ‫َلوّيَلاويْيذيلٌ َنلاهُيَم ْكيمّتُمـاباُوَن‬ ‫أَ(يْ(يدفَـيَويهيْْمٌل‬ ‫‪ ،‬وفيهم نزل‪:‬‬ ‫وقدكان الرؤساء من أهل الكتاب يمنعهم الإسلام خوف زوال رئاستهم‬ ‫لاهُم يمّماا َكتَـبَ ْت‬ ‫قَلييلاً ًً‬ ‫بييه‬ ‫لييَ ْشَتُوا‬ ‫اَّاللي‬ ‫يعن يد‬ ‫يـَُقولُو َن َه َذا يم ْن‬ ‫ايَل ْككيتَيسابُوَبَنب)يأَ)يْ يد[ياليهبْمقرثةُما‪:‬‬ ‫فَـَويْلٌ‬ ‫ثَمَناً‬ ‫‪\"(14).]79‬‬

‫‪13‬‬ ‫الإسراء والمعراج‪:‬‬ ‫من أعظم معجزات النبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ :-‬الإسراء به ليلاً من المسجد الحرام إلى المسجد الأقصى ‪ ،‬ثم‬ ‫العروج به السماوات السبع فما فوقها ‪ ،‬وقد انتشر في بعض البلدان الاحتفال بذكراها في ليلة السابع والعشرين‬ ‫من رجب ‪ ،‬ولا يصح كون ليلة الإسراء في تلك الليلة ‪ ،‬قال ابن حجر عن ابن دحية‪\" :‬وذكر بعض القصاص أن‬ ‫الإسراءكان في رجب ‪ ،‬قال‪ :‬وذلككذب\"(‪ ، )15‬وقال ابن رجب‪\" :‬وروي بإسناد لا يصح ‪ ،‬عن القاسم بن‬ ‫محمد ‪ ،‬أن الإسراء بالنبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ -‬كان في سابع وعشرين من رجب ‪ ،‬وأنكر ذلك إبراهيم الحربي‬ ‫وغيره ‪\"(16).‬‬ ‫وقال ابن تيمية‪\" :‬لم يقم دليل معلوم لا على شهرها ‪ ،‬ولا على عشرها ‪ ،‬ولا على عينها ‪ ،‬بل النقول في ذلك‬ ‫منقطعة مختلفة ‪ ،‬ليس فيها ما يقطع به ‪\"(17).‬‬ ‫على أنه لو ثبت تعيين ليلة الإسراء والمعراج لما شرع لأحد تخصيصها بشيء؛ لأنه لم يثبت عن النبي ‪-‬صلى الله‬ ‫عليه وسلم‪ -‬ولا عن أحد من صحابته أو التابعين لهم بإحسان أنهم جعلوا لليلة الإسراء مزية عن غيرها ‪ ،‬فضلاً‬ ‫عن أن يقيموا احتفالاً بذكراها ‪ ،‬بالإضافة إلى ما يتضمنه الاحتفال بها من البدع والمنكرات‪(18).‬‬ ‫الذبح في رجب وما يشبهه ‪:‬‬ ‫مطلق الذبح لله في رجب ليس بممنوعكالذبح في غيره من الشهور ‪ ،‬لكنكان أهل الجاهلية يذبحون فيه ذبيحة‬ ‫يسمونها‪ :‬العتيرة ‪ ،‬وقد اختلف أهل العلم في حكمها‪ :‬فذهب الأكثرون إلى أن الإسلام أبطلها ‪ ،‬مستدلين بقوله‬ ‫كما عند الشيخين عن أبي هريرة (رضي الله عنه)‪\" :‬لا فرع ولا عتيرة ‪\"(19).‬‬ ‫وذهب بعضهمكابن سيرين إلى استحبابها ‪ ،‬مستدلين بأحاديث عدة تدل على الجواز ‪ ،‬وأجيب عنها بأن‬ ‫حديث أبي هريرة (رضي الله عنه) أصح منها وأثبت ‪ ،‬فيكون العمل عليه دونها ‪ ،‬بل قال بعضهمكابن المنذر‬ ‫بالنسخ؛ لتأخر إسلام أبي هريرة ‪ ،‬وأن الجوازكان في صدر الإسلام ثم نسخ ‪ ،‬وهذا هو الراجح ‪(20).‬‬ ‫قال الحسن‪\" :‬ليس في الإسلام عتيرة ‪ ،‬إنماكانت العتيرة في الجاهلية ‪،‬كان أحدهم يصوم ويعت ‪\"(21).‬‬ ‫قال ابن رجب‪\" :‬ويشبه الذبح في رجب‪ :‬اتخاذه موسماً وعيداً ‪،‬كأكل الحلوى ونحوها ‪ ،‬وقد روي عن ابن عباس‬ ‫(رضي الله عنهما) أنهكان يكره أن يتخذ رجب عيداً‪\" (22).‬‬ ‫تخصيص رجب بصيام أو اعتكاف ‪:‬‬ ‫قال ابن رجب‪\" :‬وأما الصيام‪ :‬فلم يصح في فضل صوم رجب بخصوصه شيء عن النبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪-‬‬ ‫ولا عن أصحابه ‪\"(23).‬‬ ‫وقال ابن تيمية‪\" :‬وأما صوم رجب بخصوصه‪ :‬فأحاديثهكلها ضعيفة ‪ ،‬بل موضوعة ‪ ،‬لا يعتمد أهل العلم على‬ ‫شيء منها ‪ ،‬وليست من الضعيف الذي يروى في الفضائل ‪ ،‬بل عامتها من الموضوعات المكذوبات‪ ...‬وقد روى‬ ‫ابن ماجة في سننه ‪ ،‬عن ابن عباس ‪ ،‬عن النبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ :-‬أنه نهى عن صوم رجب ‪ ،‬وفي إسناده‬

‫‪14‬‬ ‫نظر ‪ ،‬لكن صح أن عمر بن الخطابكان يضرب أيدي الناس؛ ليضعوا أيديهم في الطعام في رجب ‪ ،‬ويقول‪ :‬لا‬ ‫تشبهوه برمضان‪ ...‬وأما تخصيصها بالاعتكاف الثلاثة الأشهر‪ :‬رجب ‪ ،‬وشعبان ‪ ،‬ورمضان فلا أعلم فيه أمراً ‪،‬‬ ‫بلكل من صام صوماً مشروعاً وأراد أن يعتكف من صيامه ‪ ،‬كان ذلك جائزاً بلا ريب ‪ ،‬وإن اعتكف بدون‬ ‫الصيام ففيه قولان مشهوران لأهل العلم ‪\" (24).‬‬ ‫وكونه لم يرد في فضل صيام رجب بخصوصه شيء لا يعني أنه لا صيام تطوع فيه مما وردت النصوص عامة فيه وفي‬ ‫غيره ‪،‬كالإثنين ‪ ،‬والخميس ‪ ،‬وثلاثة أيام من كل شهر ‪ ،‬وصيام يوم وإفطار آخر ‪ ،‬وإنما الذي يكره كما ذكر‬ ‫الطرطوشي (‪ )25‬صومه على أحد ثلاثة أوجه ‪:‬‬ ‫‪1-‬إذا خصه المسلمون فيكل عام حسب العوام ومن لا معرفة له بالشريعة ‪ ،‬مع ظهور صيامه أنه فرض‬ ‫كرمضان ‪.‬‬ ‫‪2-‬اعتقاد أن صومه سنّة ثابتة خصه الرسول بالصوم كالسنن الراتبة ‪.‬‬ ‫‪3-‬اعتقاد أن الصوم فيه مخصوص بفضل ثواب على صيام سائر الشهور ‪ ،‬وأنه جا ٍر مجرى عاشوراء ‪ ،‬وفضل‬ ‫آخر الليل على أوله في الصلاة ‪ ،‬فيكون من باب الفضائل لا من باب السنن والفرائض ‪ ،‬ولوكانكذلك لبينه‬ ‫النبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ -‬أو فعله ولو مرة في العمر ‪ ،‬ولما لم يفعل‪ :‬بطلكونه مخصوصاً بالفضيلة‪.‬‬ ‫العمرة في رجب ‪:‬‬ ‫يحرص بعض الناس على الاعتمار في رجب ‪ ،‬اعتقاداً منهم أن للعمرة فيه مزيد مزية ‪ ،‬وهذا لا أصل له ‪ ،‬فقد‬ ‫روى البخاري عن ابن عمر (رضي الله عنهما) ‪ ،‬قال‪\" :‬إن رسول الله اعتمر أربع عمرات إحداهن في رجب ‪،‬‬ ‫قالت (أي عائشة)‪ :‬يرحم الله أبا عبد الرحمن ‪ ،‬ما اعتمر عمرة إلا وهو شا يه ُده ‪ ،‬وما اعتمر في رجب قط \"‬ ‫‪(26).‬‬ ‫قال ابن العطار‪\" :‬ومما بلغني عن أهل مكة (زادها الله تشريفاً) اعتيادهمكثرة الاعتمار في رجب ‪ ،‬وهذا مما لا أعلم‬ ‫له أصلاً ‪\" (27).‬‬ ‫وقد نص العلامة \"ابن باز\"(‪ )28‬على أن أفضل زمان تؤدى فيه العمرة‪ :‬شهر رمضان؛ لقول النبي ‪-‬صلى الله‬ ‫اَذّاللييأُاْلسقَوةٌعدةَح؛ َسلنَأةٌ)ن)[عُالَمأَرهحزاكلهبا‪ :‬وق‪1‬ع‪]2‬ت‪.‬في‬ ‫العمرة في‬ ‫‪ ،‬ثم بعد ذلك‪:‬‬ ‫\"عمرة في رمضان تعدل حجة\"‬ ‫وسلم‪:-‬‬ ‫عليه‬ ‫يفي َر ُسويل‬ ‫((لََق ْد َكا َن لَ ُك ْم‬ ‫وقد قال الله (سبحانه وتعالى)‪:‬‬ ‫القعدة ‪،‬‬ ‫ذي‬ ‫الزكاة في رجب ‪:‬‬ ‫لفذلكلكأفحي ٍداللهُسنّةح ‪،‬ول‬ ‫\"ولا أصل‬ ‫رجب عن ذلك‪:‬‬ ‫الزكاة ‪ ،‬قال ابن‬ ‫اعتاد بعض أهل البلدان تخصيص رجب بإخراج‬ ‫النصاب ‪،‬‬ ‫إذا تم الحول على‬ ‫فإنما تجب الزكاة‬ ‫ولا عُيرف عن أحد من السلف‪ ...‬وبكل حال‪:‬‬ ‫يخصه بحسب وقت ملكه للنصاب ‪ ،‬فإذا تم حوله وجب عليه إخراج زكاته في أي شهركان\" ‪ ،‬ثم ذكر جواز‬ ‫تعجيل إخراج الزكاة لاغتنام زمان فاضلكرمضان ‪ ،‬أو لاغتنام الصدقة على من لا يوجد مثله في الحاجة عند تمام‬

‫‪15‬‬ ‫الحول‪..‬ونحو ذلك ‪(29).‬‬ ‫وقال ابن العطار‪\" :‬وما يفعله الناس في هذه الأزمان من إخراج زكاة أموالهم في رجب دون غيره من الأزمان لا‬ ‫أصل له ‪ ،‬بل حكم الشرع أنه يجب إخراج زكاة الأموال عند حولان حولها بشرطه سواءكان رجباً أو غيره‪\"(30).‬‬ ‫لا حوادث عظيمة في رجب ‪:‬‬ ‫قال ابن رجب‪\" :‬وقد روي أنهكان في شهر رجب حوادث عظيمة ‪ ،‬ولم يصح شيء من ذلك ‪ ،‬فروي أن النبي‬ ‫ولد في أول ليلة منه ‪ ،‬وأنه بعث في السابع والعشرين منه ‪ ،‬وقيل في الخامس والعشرين ‪ ،‬ولا يصح شيء من‬ ‫ذلك‪...\"(31).‬‬ ‫وقفة مع بعض الدعاة ‪:‬‬ ‫يمارس بعض الدعاة اليوم أنواعاً من البدع الموسميةكبدع رجب مع اقتناعهم بعدم مشروعيتها؛ بحجة الخوف من‬ ‫عدم اشتغال الناس بغير عبادةٍ ‪ ،‬إن هم تركوا ما هم عليه من بدعة ‪.‬‬ ‫ومع أن البدعة أخطر الذنوب بعد الشرك ‪ ،‬إلا أن هذا توجهٌ في الدعوة وطريقة التغيير خطير مخالف لهدي النبي ‪،‬‬ ‫والواجب‪ :‬أن يدعى الناس إلى السنة المحضة التي لا تكون استقامة بدونها ‪ ،‬قال الثوري‪\" :‬كان الفقهاء يقولون‪ :‬لا‬ ‫يستقيم قول إلا بعمل ‪ ،‬ولا يستقيم قول وعمل إلا بنية ‪ ،‬ولا يستقيم قول وعمل ونية إلا بموافقة السنة ‪\"(32).‬‬ ‫وكان الواجب على هؤلاء أن يتعلموا السنة ‪ ،‬ويعلموها ‪ ،‬ويدعون أنفسهم ومن حولهم إلى تطبيقها؛لأن النبي ‪-‬‬ ‫صلى الله عليه وسلم‪ -‬يقول‪\" :‬من عمل عملاً ليس عليه أمرَّن فهو رد\"‪ ،‬ولله در أبي العالية حين قال لبعض‬ ‫أصحابه‪\" :‬تعلموا الإسلام ‪ ،‬فإذا تعلمتموه فلا ترغبوا عنه ‪ ،‬وعليكم بالصراط المستقيم ‪ ،‬فإن الصراط المستقيم‪:‬‬ ‫الإسلام ‪ ،‬ولا تنحرفوا عن الصراط المستقيم يميناً وشمالاً ‪ ،‬وعليكم بسنة نبيكم ‪ ،‬وإياكم وهذه الأهواء التي تلقي‬ ‫بين أهلها العداوة والبغضاء ‪\" (33).‬‬ ‫ومن قبله قال حذيفة (رضي الله عنه)‪\" :‬يا معشر القراء‪ :‬استقيموا‪ ،‬فقد سبقتم سبقاً بعيداً‪ ،‬ولئن أخذتم يميناً‬ ‫وشمالاً لقد ضللتم ضلالاً بعيداً‪\" (34).‬‬ ‫وأخيراً ‪:‬‬ ‫فإن الدعاة اليوم والأمة معهم مطالَبون بتجريد المتابعة للنبي ‪-‬صلى الله عليه وسلم‪ -‬في كل شأن ‪ ،‬تماماً مثل ما‬ ‫هم مطالبون بتجريد الإخلاص لله (عز وجل) ‪ ،‬إن هم أرادوا لأنفسهم نجاةً ‪ ،‬ولدينهم نصراً وإعزازاً ‪ ،‬قال الله (عز‬ ‫وقال‬ ‫‪]110‬‬ ‫[الكهف‪:‬‬ ‫أَ َحداً))‬ ‫بيعيبَاَدية َربيّيه‬ ‫يََرنبيّيهُصفَُـرهُلْيَـإْعانَم اَْلّاللََعلََمَقليواً ٌّي َصَعاليزييحٌازً)َ)ولا[ايُلحْشيرجْ‪:‬ك‬ ‫وجل)‪(( :‬فََمن َكا َن يـَْرُجو ليَقاءَ‬ ‫‪. ]40‬‬ ‫(سبحانه)‪َ(( :‬ولَيَن ُصَران اَّاللُ َمن‬ ‫وفق الله الجميع للخير ‪ ،‬وهو الهادي إلى سبيل الرشاد‪.‬‬ ‫‪--------------------------------------------------‬‬ ‫الهوامش ‪:‬‬

‫‪16‬‬ ‫)‪1‬الحلية ‪. 73/6 ،‬‬ ‫)‪2‬الحلية ‪. 9/3 ،‬‬ ‫)‪3‬تبيين العجب فيما ورد في فضل رجب ‪ ،‬لابن حجر ‪ ،‬ص‪ ، 6‬وانظر‪ :‬السنن والمبتدعات للشقيري ‪،‬‬ ‫ص‪. 125‬‬ ‫)‪4‬المصدر السابق ‪ ،‬ص ‪. 8‬‬ ‫)‪5‬انظر‪ :‬إحياء علوم الدين ‪ ،‬للغزالي ‪ ، 202/1 ،‬وتبيين العجب فيما ورد في فضل رجب ‪ ،‬ص ‪. 24 22‬‬ ‫)‪6‬فتاوى الإمام النووي ‪ ،‬ص ‪. 57‬‬ ‫)‪7‬تنبيه الغافلين ‪ ،‬ص ‪. 496‬‬ ‫)‪8‬الفتاوى لابن تيمية ‪ ، 132/23 ،‬وانظر‪ :‬الفتاوى ‪. 135 134/23 ،‬‬ ‫)‪9‬الحوادث والبدع ‪ ،‬ص‪. 103‬‬ ‫)‪10‬انظر‪ :‬الباعث على إنكار البدع والحوادث ‪ ،‬ص ‪. 67 61‬‬ ‫)‪11‬المدخل ‪. 211/1 ،‬‬ ‫)‪12‬انظر‪ :‬لطائف المعارف ‪ ،‬تحقيق الأستاذ ‪ /‬ياسين السواس ‪ ،‬ص ‪. 228‬‬ ‫)‪13‬مقدمة مساجلة العز بن عبد السلام وابن الصلاح ‪ ،‬ص ‪. 8 7‬‬ ‫)‪14‬الباعث على إنكار البدع والحوادث ‪ ،‬ص ‪. 105‬‬ ‫)‪15‬تبيين العجب ‪ ،‬ص ‪. 6‬‬ ‫)‪16‬زاد المعاد لابن القيم ‪ ، 275/1 ،‬وقد ذكر ابن حجر في فتح الباري (‪ )243 242/7‬الخلاف في وقت‬ ‫المعراج ‪ ،‬وأبان أنه قد قيل‪ :‬إنهكان في رجب ‪ ،‬وقيل‪ :‬في ربيع الآخر ‪ ،‬وقيل‪ :‬في رمضان أو شوال ‪ ،‬والأمركما‬ ‫قال ابن تيمية ‪.‬‬ ‫)‪17‬لطائف المعارف ‪ ،‬لابن رجب ‪ ،‬ص ‪. 233‬‬ ‫)‪18‬ذكر بعض تلك المنكرات‪ :‬ابن النحاس في تنبيه الغافلين ‪ ،‬ص ‪ ، 497‬وابن الحاج في المدخل ‪211/1 ،‬‬ ‫‪ ، 212‬وعلي محفوظ في الإبداع ‪ ،‬ص ‪. 272‬‬ ‫)‪19‬البخاري ‪ ،‬ح‪ ، 5473 /‬ومسلم ‪ ،‬ح‪. 1976 /‬‬ ‫)‪20‬انظر‪ :‬لطائف المعارف ‪ ،‬ص ‪ ، 227‬والاعتبار في الناسخ والمنسوخ من الآثار للحازمي ‪ ،‬ص ‪388‬‬ ‫‪. 390‬‬ ‫‪) 22 ،21‬لطائف المعارف ‪ ،‬ص ‪. 227‬‬ ‫)‪23‬لطائف المعارف ‪ ،‬ص ‪. 228‬‬ ‫)‪24‬الفتاوى‪. 292 290/25 :‬‬

‫‪17‬‬ ‫)‪25‬البدع والحوادث ‪ ،‬ص‪ ، 111 110‬وانظر (تبيين العجب‪ )..‬لابن حجر ‪ ،‬ص ‪. 38 37‬‬ ‫)‪26‬صحيح البخاري ‪ ،‬ح‪. 1776/‬‬ ‫)‪27‬المساجلة بين العز بن عبد السلام وابن الصلاح ‪ ،‬ص ‪ ، 56‬وانظر‪ :‬فتاوى الشيخ محمد بن إبراهيم ‪،‬‬ ‫‪. 131/6‬‬ ‫)‪28‬انظر‪ :‬فتاوى إسلامية ‪ ،‬جمع الأستاذ‪ /‬محمد المسند ‪. 304 303/2 ،‬‬ ‫)‪29‬لطائف المعارف ‪. 232 231 ،‬‬ ‫)‪30‬المساجلة بين العز وابن الصلاح ‪ ،‬ص ‪. 55‬‬ ‫)‪31‬لطائف المعارف ‪ ،‬ص‪. 233‬‬ ‫)‪32‬الإبانة الكبرى ‪ ،‬لابن بطة ‪. 333/1 ،‬‬ ‫)‪33‬الإبانة الكبرى ‪ ،‬لابن بطة ‪. 338/1 ،‬‬ ‫)‪34‬البدع والنهي عنها ‪ ،‬لابن وضاح ‪ ،‬ص ‪.11 10‬‬


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook