Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติอิหม่ามชาฟิอีย์_clone

ประวัติอิหม่ามชาฟิอีย์_clone

Published by Ismail Rao, 2024-08-31 11:21:31

Description: อิหม่ามซาฟีอีมีความปราดเปรื่อง มีไหวพริบดี มารดาจึงส่งไปเรียนหัดประพันธ์ หากแต่ว่าสภาพคล่องทางการเงินไม่เพียงพอ จึงเลิก พักการเรียนในขณะหนึ่ง อันเนื่องจากมวลเหตุการบกพร่องดังกล่าวมา จึงเป็นสาเหตุให้ท่านอิหม่ามมีความมุ่งมั่นมานะพยายามศึกษาเล่าเรียนอย่างสุดความสามารถในการศึกษาเล่าเรียน และทำตัวให้ใกล้ชิดต่อคณาจารย์ให้มากที่สุด เพื่อจะได้คำสั่งสอนที่มีน้อยนักที่เด็กวัยเพียงเท่านี้จะสามารถทำได้ ในขณะที่อาจารย์ไม่อยู่ อิหม่ามก็ยังคงทบทวนบทเรียนอย่างต่อเนื่องเหมือนกับอาจารย์ปรากฏตัวอยู่ การปฏิบัติดังกล่าวนั้นจึงทำให้อิหม่ามมีความแตกฉานและด้านวิชาการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งนักเรียนที่เรียนอยู่ด้วยกันมีความรักท่านและศรัทธาเลื่อมใสในตัวท่าน และเชื่อฟังคำพูดของท่าน เมื่ออิหม่ามมีอายุได้ 7 ปี หรือ 9 ปี
ท่านมีความสามารถในการท่องจำกุรอ่านได้หมดทั้งเล่ม หลังจากนั้นท่านได้เข้าศึกษาที่มัสยิดอัลฮารอม ท่านก็ได้มุ่งมั่นทำการศึกษาด้านภาษา วิชาสาขาทุกแขนง จนกระทั่งมีความปราดเปรื่องด้านภาษาอาหรับ เป็นเพราะเหตุที่ได้มารวมกันหลายเผ่าพันธุ์ หลายหมู่เหล่า ที่ได้เข้ามาศึกษาที่มักกะห์ จึงทำ ให้ท่านได้รับส่วนด

Search

Read the Text Version

1 ประวตั ิโดยสงั เขปของท่านอิหม่ามชาฟิ อีย์ (1). ช่ือจริง คาวา่ “อชั -ชาฟิ อยี ์” เป็นฉายา, .. ช่ือจริงของท่านคือ “มุหัมมดั บนิ อดิ รีส บินอลั -อบั บาส บินอุษมาน บนิ ชาฟิ อฺ บินอซั -ซาอิบ บินอุบยั ด์ บินอบั ดิยะซีด บินฮาชิม บินมุฏฏอลิบ บินอบั ดิมะนาฟ บินกศุ อ็ ยย์ บินกิลาบ” ... ฉายาว่า “ชาฟิ อยี ์” ของท่าน จึงมีท่ีมาจากป่ ูคนท่ี 3 ของท่าน คือท่านชาฟิ อฺ ซ่ึง ท่านชาฟิ อฺผูน้ ้ีเป็ นเศาะหาบะฮ์ผูเ้ ยาว,์ ดงั การบนั ทึกของท่านอิบนุหะญรั ฺ อลั -อสั เกาะ ลานียใ์ นหนงั สือ “อลั -อิศอบะฮ”์ เล่มที่ 3 หนา้ 61 ... (2). กาเนิด ท่านอิหม่ามชาฟิ อียถ์ ือกาเนิดในเดือนรอญบั ปี ฮ.ศ. 150, ตรง กบั ฮ.ศ. 766 ที่ตาบลฆอ็ ซซะฮ์ ประเทศปาเลสติน .. ต่อมามารดาของท่านไดก้ ย็ า้ ยไปอยู่ ที่เมืองอสั เกาะลาน ซ่ึงอยใู่ นประเทศปาเลสตินเช่นเดียวกนั และห่างจากตาบลฆ็อซซะฮ์ ประมาณ 3 ฟัรฺซคั และห่างจากบยั ตุล้ มกั ดิซประมาณ 2-3 มรั ฺหะละฮ.์ .. (3). บิดา ช่ือ “อิดรีส บินอลั -อบั บาส” สิ้นชีวิตต้งั แต่ท่านยงั เยาวยั , มารดา ของท่านช่ือ “ฟาฏมิ ะฮ์ บนิ ติ อบั ดิลลาฮ์ อลั -อซั ดียะฮ์” ... (4). ตระกลู ตระกลู ของท่านคือ “ตระกูลกเุ รช”, บิดาของท่าน คือท่านอิดริส สืบเช้ือสายมาจากท่าน “อบั ดุมะนาฟ บิน กุศ็อยย์ อลั -กรุ อชีย์” ซ่ึงถือเป็นป่ ูคนท่ี 9 ของ ท่านอิหม่ามชาฟิ อีย์ แต่เป็นป่ ูคนท่ี 3 ของท่านนบีย์ ศอ็ ลลลั ลอฮุ อะลยั ฮิวะซลั ลมั ... ท่านอิหม่ามชาฟิ อียแ์ ละท่านนบีย์ ศอ็ ลลลั ลอฮุ อะลยั ฮิวะซลั ลมั จึงสืบเช้ือสายมา จากตน้ ตระกลู เดียวกนั คือจากท่านอบั ดุมะนาฟ บินกศุ อ็ ยย์ ... บุตรชายของท่านอบั ดุมะนาฟคนหน่ึงชื่อ “ฮาชิม” เป็นเช้ือสายและตน้ ตระกลู ของท่านนบีย,์ และบุตรชายของท่านอบั ดุมะนาฟอีกคน ชื่อ “มุฏฏอลบิ ” เป็นเช้ือสาย และตน้ ตระกลู ทางดา้ นท่านอิหม่ามชาฟิ อีย์ ... ท่านศาสดา ศอ็ ลลลั ลอฮุ อะลยั ฮิวะซลั ลมั เคยกล่าววา่ ... ‫إَِّمنَا بَنُْو َها ِش ٍم َوبَنُو الْ ُمطملِ ِب َش ْىءٌ َوا ِح ٌد‬ “แท้จริง ลูกหลานของฮาชิมและลูกหลานของมุฏฏอลิบมิใช่อ่ืนใด แต่เป็ น

2 หนึ่งเดียว (คือตระกลู เดียว) กนั ” ... (บนั ทึกโดย ท่านบุคอรีย,์ หะดีษท่ี 3140, 3502, 4229) ส่วนมารดาของท่าน คือท่านฟาฏิมะฮ์ มีฉายาวา่ “อุมมุหะบีบะฮ์ อลั -อซั ดียะฮ์” สืบเช้ือสายมาจากท่านอบั ดุลลอฮ์ บินอลั -หะซนั บิน อลั -มุษนั นา บินอลั -หะซนั บินอะ ลีย์ บินอบียฏ์ อลิบ ... (5). สถานภาพของท่าน เป็ น “ตาบิอิต ตาบิอีน” หรือศิษยข์ องตาบิอีน โดยไม่มีขอ้ ขดั แยง้ ในเรื่องน้ี ... (6). ชีวิตเยาวยั เม่ืออายไุ ด้ 2 ขวบ มารดาไดน้ าท่านกลบั จากปาเลสตินมายงั นครมกั กะฮ์ โดยมาพกั อาศยั อย่ทู ี่ตาบล “ชะอฺบุลเคฟ็ ” (‫ ) َشْع ُب اْْلَْي ِف‬ใกลๆ้ กบั มสั ญิด อลั -หะรอม ... (7). การศึกษา ณ นครมกั กะฮ์แห่งน้ี มารดาของท่านไดส้ ่งท่านเขา้ รับการ เรียนท่องจาอลั -กรุ ฺอ่านเป็นอนั ดบั แรกจากอาจารยผ์ หู้ น่ึงใกลๆ้ บา้ น และจากความเฉลียว ฉลาดเกินกวา่ เพอื่ นๆวยั เดียวกนั ท่านจึงสามารถท่องจาอลั -กรุ ฺอ่านไดห้ มดท้งั เล่ม ขณะที่ มีอายุไดป้ ระมาณ 7-8 ขวบเท่าน้ัน และไดร้ ับความไวว้ างใจจากอาจารยใ์ ห้เป็ นผูช้ ่วย สอนอลั -กรุ ฺอ่านแก่เพอ่ื นๆต่อไป ... หลงั จากน้นั ท่านกไ็ ดเ้ ขา้ ศึกษาต่อในมสั ญิดอลั -หะรอม ในวิชาการแขนงต่างๆ โดยไดศ้ ึกษาวชิ าอลั -กรุ ฺอ่านจากท่าน “อสิ มาอลี บนิ กอ็ ซฏอ็ นฏีน” (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 170), วิชาอลั -หะดีษจากท่าน “ซุฟยาน บิน อุยัยนะฮ์” (สิ้นชีวิตปี ฮ.ศ. 198), วิชาฟิ กฮ์จาก ท่าน “มุสลมิ บินคอลิด อซั -ซันญีย์” (สิ้นชีวิตปี ฮ.ศ. 179) และวิชาการสาขาอื่นๆ เช่น กฎเกณฑว์ ชิ าภาษาอาหรับ, วชิ ากาพยก์ ลอนและกวี จากอาจารยอ์ ื่นๆอีกหลายท่าน อาทิ เช่น ท่านสะอีด บินซาลิม อลั -กอดาห์, ท่านดาวูด บินอบั ดุรฺ เราะห์มาน อลั -อฏั ฏ็อรฺ , ท่านอบั ดุลหะมีด บิน อับดุลอะซีซ บินอบียด์ าวูด เป็ นตน้ จนมีความรู้แตกฉานใน วิชาการต่างที่ไดเ้ ล่าเรียนน้นั และไดร้ ับความไวว้ างใจจากท่านมุสลิม บินคอลิดดว้ ยการ อนุญาตใหท้ ่านเป็นผชู้ ้ีแจงปัญหาศาสนา (ฟัตวา) แก่ผอู้ ื่นได้ ... กล่าวกนั วา่ ในขณะที่ท่านกาลงั ศกึ ษาเล่าเรียนอยนู่ ้นั อนั เนื่องมาจากความยากจน ท่านจึงตอ้ งอาศยั แผ่นเคร่ืองป้ันดินเผา, แผ่นหนงั สัตว,์ ก่ิงใบอินทผลมั และกระดูกอูฐ มาใช้แทนกระดาษเพ่ือเขียนบนั ทึกความรู้ต่างๆ และบางคร้ังท่านตอ้ งไปขอบริจาค

3 กระดาษมาจากหอ้ งบญั ชีเพอ่ื ใชเ้ ขียนวชิ าการเหล่าน้นั ... (ٌ‫)بَا ِديَة‬ ต่อมา ท่านไดอ้ อกไปยงั พวกบะนียฮ์ ุซยั ล์ (‫ )بَِْن ٌه َذيٍْل‬อนั เป็นชาวอาหรับชนบท นอกเมืองมกั กะฮ์เป็นระยะเวลาหน่ึง เพ่ือศึกษาวิชาภาษาอาหรับ, วิชาวรรณคดี, วชิ าประวตั ิศาสตร์และกวนี ิพนธเ์ พ่มิ เติมจากพวกน้นั จนเช่ียวชาญในวชิ าการเหล่าน้นั ... พวกบะนียฮ์ ุซยั ล์ คือชาวอาหรับบา้ นนอกที่ไดร้ ับการยอมรับว่า เป็นผอู้ อกเสียง ภาษาอาหรับได้ ‫ فَ ِصْي ٌح‬.. คือชดั เจนถกู ตอ้ งท่ีสุด ในยคุ น้นั ... ดว้ ยเหตุน้ี จึงไม่เป็นขอ้ กงั ขาในแง่ท่ีวา่ ท่านอิหม่ามชาฟิ อีย์ เป็นผทู้ ี่อ่านและออก เสียงภาษาอาหรับไดช้ ดั เจน, สละสลวย และถูกตอ้ งที่สุดท่านหน่ึง ... (8). ไปมะดีนะฮ์ เมื่ออายไุ ดป้ ระมาณ 12 หรือ 13 ปี ท่านอิหม่ามชาฟิ อียก์ ไ็ ด้ เดินทางไปนครมะดีนะฮ์ เพอ่ื ศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเติมจากท่าน “อหิ ม่ามมาลกิ บินอนัส” (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 179) ซ่ึงเป็นผทู้ ่ีมีวชิ าความรู้เล่ืองลือและขจรขจายไปทว่ั ในขณะน้นั ... ก่อนหนา้ น้นั ตอนอายุประมาณ 11 ปี ท่านอิหม่ามชาฟิ อียเ์ คยยืมหนังสือ “อลั - มุวฏั เฏาะอ์” ของท่านอิหม่ามมาลิกจากชาวมกั กะฮ์คนหน่ึงมาท่องจนจดจาได้เกือบ ท้งั หมด เมื่อท่านเดินทางถึงนครมะดีนะฮ์ ท่านกเ็ ขา้ ไปหาท่านอิหม่ามมาลิกและท่อง หนงั สืออลั -มุวฏั เฏาะอใ์ หท้ ่านอิหม่ามมาลิกฟัง ท่านอิหม่ามมาลิกรู้สึกท่ึงและพอใจใน ความเฉลียวฉลาดของท่านมาก และได้มอบหน้าที่ให้ท่านสอนหนังสือเล่มน้ันแก่ ประชาชนทว่ั ไปอีกดว้ ย ... (9). ไปอิรักคร้ังแรก ท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดศ้ ึกษาอยกู่ บั ท่านอิหม่ามมาลิกเป็น เวลา 8 เดือน ท่านกอ็ อกเดินทางต่อไปยงั ไปประเทศอิรักเป็นคร้ังแรก โดยท่านไปใน ฐานะเป็ นแขกและเป็ นศิษยข์ องท่านอิหม่าม “มุหัมมัด บินอัล-หะซัน อัช-ชัยบานีย์” (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 189) ซ่ึงเป็นสหายของท่านอิหม่ามอบู หะนีฟะฮ์ ... ในปี ฮ.ศ. 175 (ขณะที่อายุของท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ด้ 25 ปี ) ท่านก็เดินทาง กลบั มานครมะดีนะฮอ์ ีกคร้ังหน่ึง และไดศ้ ึกษาต่อรวมท้งั ไดช้ ่วยท่านอิหม่ามมาลิกสอน ลูกศิษยล์ ูกหาอย่ทู ่ีนนั่ อีก 4 ปี กวา่ ๆ ท่านอิหม่ามมาลิกซ่ึงเป็ นอาจารยข์ องท่านกส็ ิ้นชีวิต ลงในเดือนรอบีอุล้ เอาวลั ปี ฮ.ศ. 179 ... นอกจากท่านอิหม่ามมาลิกแลว้ อาจารย์ของท่านอิหม่ามชาฟิ อียซ์ ่ึงมีช่ือเสียงโด่ง ดงั เป็นที่รู้จกั กนั ที่นครมะดนี ะฮ์ยงั มีอีกหลายท่าน อาทิเช่น ...

4 1. ท่านอิบรอฮีม บิน สะอฺด์ อลั -อนั ศอรีย์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 183) 2. ท่านอบั ดุลอะซีซ บินมุหมั มดั อดั -ดะรอวรั ฺดีย์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 186 หรือ 187) 3. ท่านอิบรอฮีม บินยะห์ยา อลั -อสั ละมีย์ 4. ท่านมุหมั มดั บินสะอีด บินอบียฟ์ ุดยั ก์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 200) 5. ท่านอบั ดุลลอฮ์ อศั -ศออิฆ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 206) เมื่อสิ้นท่านอิหม่ามมาลิก ท่านอิหม่ามชาฟิ อียก์ ็ออกเดินทางไปประเทศเยเมน (ซ่ึงขณะน้นั ตกเป็ นเมืองข้ึนของประเทศอิรัก) เพ่ือหางานทาดว้ ยความอนุเคราะห์ของ ท่านมศั อบั บินอบั ดุลลอฮ์ กอฎียห์ รือผปู้ กครองประเทศเยเมนในขณะน้นั โดยท่านไดไ้ ป พกั ท่ีเมืองศ็อนอาอ์อนั เป็ นเมืองหลวงของประเทศเยเมน และได้รับความไวว้ างใจให้ ปฏิบตั ิภารกิจบางอยา่ งจากเจา้ เมือง ซ่ึงท่านกไ็ ดป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่ ท่ีไดร้ ับมอบหมายอยา่ งเตม็ ความสามารถและเที่ยงธรรมจนเป็ นท่ียอมรับประชาชนเป็ นจานวนมาก แต่ ขณะเดียวกนั กส็ ร้างความอิจฉาริษยาใหแ้ ก่คนบางกลุ่มท่ีสูญเสียผลประโยชน์ จึงใส่ร้าย ป้ ายสีท่านว่า ฝักใฝ่ อย่กู บั พวกชีอะฮ์กลุ่มอะละวีย์ ท่านจึงถูกจบั กุมตวั ตามบญั ชาของ ท่านคอลีฟะฮ์ฮารูน อัรฺ -รอชิด ซ่ึงเป็ นชีอะฮ์วงศ์อับบาซีย์ และถูกควบคุมตัวส่งไป พิพากษาโทษที่อิรักพร้อมกบั พวกชีอะฮก์ ลุ่มอะละวยี อ์ ีก 9 คน ... (หมายเหตุ) ชีอะฮก์ ลุ่มอะละวีย์ คือชีอะฮ์ซ่ึงสืบเช้ือสายมาจากท่านอะลีย์ บินอ บียฏ์ อลิบ ส่วนชีอะฮก์ ลุ่มอบั บาซีย์ คือชีอะฮซ์ ่ึงสืบเช้ือสายมาจากท่านอบั บาส บิน อบั ดุลมุฏฏอลิบ, ชีอะฮ์สองกลุ่มน้ีเป็ นอริกนั และแยง่ ชิงอานาจกนั เสมอ ท้งั ๆที่ตน้ ตระกูล ของท้งั สองฝ่ ายคือท่านอบั บาสและท่านอะลียก์ เ็ ป็นญาติใกลช้ ิด คือเป็นลุงกบั หลานกนั ในช่วงเวลาที่ท่านอยู่ ณ ประเทศเยเมน ท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดศ้ ึกษาเพิ่มเติมจาก ครูบาอาจารย์อีกหลายท่าน อาทิเช่น ... 1. ท่านมุฏอ็ รฺริฟ บินมาซิน อศั -ศอ็ นอาอ์ (สิ้นชิวติ ปี ฮ.ศ. 191) 2. ท่านฮิชาม บินยซู ุฟ อศั -ศอ็ นอาอ์ ซ่ึงเป็นผพู้ ิพากษาอย่ใู นเมืองน้นั (สิ้นชีวิต ปี ฮ.ศ. 197) 3. ท่านอมั รฺ บินอบียส์ ะลิมะฮ์ ซ่ึงเป็นสหายของท่านอลั -เอาซาอีย์ 4. ท่านยะหย์ า บินหซั ซาน สหายของท่านอลั -ลยั ษ์ บินสะอฺด์ (10). ไปอิรักคร้ังท่ี 2 การเดินทางสู่ประเทศอิรักในคร้ังน้ี ท่านเดินทางไปใน ฐานะนักโทษพร้อมกบั นักโทษชีอะฮ์อะละวียอ์ ีก 9 คนเพ่ือรับการตดั สินลงโทษจาก

5 “คอลีฟะฮ์ฮารูน อัรฺ-รอชิด” เจา้ ผคู้ รองนครบุฆดาด (แบกแดด) ในขณะน้นั แต่สุดทา้ ย นกั โทษอื่นท้งั 9 คนก็ถูกประหารชีวิตหมด นอกจากท่านอิหม่ามชาฟิ อียเ์ พียงผูเ้ ดียวท่ี ไดร้ ับการพิพากษาให้รอดพน้ จากขอ้ ใส่ร้ายและถูกปล่อยตวั เป็นอิสระเพราะไหวพริบ และปฏิภาณอนั เฉียบแหลมของท่าน ดงั น้นั ท่านจึงไดอ้ าศยั อยทู่ ี่กรุงบุฆดาดในประเทศ อิรักและไดร้ ่วมงานกบั ท่านอิหม่ามมุหมั มดั บินอลั -หะซนั อชั -ชยั บานีย์ อาจารยข์ องท่าน ท่ีนนั่ อีกคร้ังอยชู่ ว่ั ระยะเวลาหน่ึง ... ที่กรุงบุฆดาดน้ี นอกจากท่านอิหม่ามมุหมั มดั บินอลั -หะซัน อชั -ชยั บานียแ์ ลว้ ท่านอิหม่ามชาฟิ อียย์ งั มีครูบาอาจารย์ที่ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ท่านอีกจานวนหน่ึง อาทิเช่น ... 1. ท่านวะเก๊ียะอฺ บินอลั -ญรั ฺรอห์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 197) 2. ท่านอิสมาอีล บินอุลยั ยะฮ์ อลั -บศั รีย์ 3. ท่านอบู อุซามะฮ์ หมั มาด บินอุซามะฮ์ อลั -กฟู ี ย์ (สิ้นชิวติ ปี ฮ.ศ. 201) 4. ท่านอบั ดุลวะฮฮ์ าบ บินอบั ดุลมะญีด อษั -เกาะฟี ย์ (สิ้นชีวอตปี ฮ.ศ. 194) จากน้นั ท่านจึงเดินทางกลบั สู่นครมกั กะฮใ์ นปี ฮ.ศ. 185 และไดท้ าการสอนอยทู่ ่ี นครมกั กะฮเ์ ป็นเวลาประมาณ 9-10 ปี ... ขณะท่ีพานกั อยใู่ นนครมกั กะฮ์ ท่านไดเ้ ขียนตาราอุศูลุลฟิ กฮข์ ้ึนมาเล่มหน่ึง มีชื่อ ว่า “ُُ ‫( ”اَلِّر َسالَة‬แต่เป็นคนละเล่มกบั หนงั สืออุศูลุลฟิ กฮ์อีกเล่มหน่ึงที่มีชื่อเดียวกนั คือ หนังสือ “อัรฺ-ริซาละฮ์” อนั เป็ นหนังสือท่ีท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดเ้ ขียนขณะพานกั อยู่ที่ ประเทศอียปิ ตใ์ นตอนหลงั สุด .. และเป็นท่ีรู้จกั กนั แพร่หลายสาหรับบรรดานกั วชิ าการ ยคุ ปัจจุบนั ... สานุศิษย์ของท่านขณะที่ท่านทาการสอนอยทู่ ่ีนครมักกะฮ์ก็มีอยเู่ ป็นจานวนมาก แต่ท่ีมีชื่อเสียงกอ็ าทิเช่น ... 1. ท่านอบบู กั รฺ อลั -หุมยั ดีย์ 2. ท่านอิบรอฮีม บินมุหมั มดั บินอลั -อบั บาส 3. ท่านอบบู กั รฺ มุหมั มดั บินอิดรีส 4. ท่านมซู า บิน อบียอ์ ลั -ญารูด เป็นตน้ ... (11). ไปอิรักคร้ังที่ 3 ต่อมา ในปี ฮ.ศ. 195 อนั เป็นสมยั ของคอลีฟะฮอ์ ลั -มะอ์ มูน ท่านอิหม่ามชาฟิ อียก์ ไ็ ดเ้ ดินทางไปยงั กรุงบุฆดาดอีกคร้ังหน่ึง โดยใชช้ ีวิตอยทู่ ่ีนน่ั

6 เป็ นเวลา 4 ปี เพ่ือถ่ายทอดความรู้ให้แก่ลูกศิษยล์ ูกหาเป็ นจานวนมาก ซ่ึงหน่ึงจาก สานุศิษยข์ องท่าน ณ ที่น้นั ที่มีช่ือเสียงมากท่ีสุดกค็ ือ “ท่านอหิ ม่ามอะห์มดั อบิ นุหัมบัล” ที่กรุงบุฆดาดน้ี ท่านไดแ้ ต่งตาราฟิ กฮ์ข้ึนมาเล่มหน่ึงโดยวิธีการอิมลาอ์ (ٌ‫)إِْملاَء‬ คือ บอกเล่าดว้ ยปากใหศ้ ิษยข์ องท่าน คือท่านอซั -ซะฟะรอนีย์ (ช่ือจริงคือ อลั -หะซนั บิน มุหมั มดั ) เป็นผจู้ ดบนั ทึกรายงานคาบอกเล่าของท่านเอาไว้ ... ตาราเล่มน้ีมีชื่อวา่ “ُ‫ ”اَْْلُ مجة‬.. และมีช่ือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ “‫ ”اَلْ َمْب ُسْو ُط‬... หุก่มต่างๆของท่านท่ีมีการรายงานไวใ้ นหนงั สือ “อลั -หุจญะฮ์” จากการบนั ทึก ของท่านอซั -ซะอฺฟะรอนีย์ .. รวมท้งั การฟัตวาอ่ืนๆของท่านขณะท่ีอยู่ในกรุงบุฆดาดน้ี เป็นที่รู้จกั กนั ทวั่ ไปสาหรับผทู้ ี่สังกดั มษั ฮบั ของท่านว่า เป็น “‫ ”قَ ْول قَ ِديْم‬หรือ “ทัศนะ เดมิ ” ของท่าน ... สานุศิษย์ผทู้ ีชื่อเสียงของท่านในกรุงบุฆดาด ไดแ้ ก่ ... 1. ท่านอิหม่ามอะหม์ ดั อิบนุหมั บลั (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 241) 2. ท่านอบษู รู ฺ อิบรอฮีม บินคอลิด บินอลั -ยะมาน อลั -กลั บีย์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 240) 3. ท่านอลั -หะซนั บินมุหมั มดั อซั -ซะอฺฟะรอนีย์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 260) 4. ท่านอิสหาก บินรอฮะวยั ฮ์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 238) 5. ท่านอลั -หุซยั น์ บินอะลีย์ อลั -กะรอบีซีย์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 245 หรือ 248) (12). มุ่งหน้าไปอียิปต์ ในปลายปี ฮ.ศ. 199 ท่านอิหม่ามชาฟิ อียก์ ็ออก เดินทางจากกรุงบุฆดาด มุ่งหนา้ สู่ประเทศอียปิ ตท์ ่ามกลางความรักและอาลยั ของบรรดา สานุศิษยข์ องท่านที่พานักอยู่ท่ีอิรัก โดยมีบรรดาศิษยท์ ่ีลงทุนเดินทางติดตามท่านจาก กรุงบุฆดาดไปยงั ประเทศอียปิ ตพ์ ร้อมกบั ท่านเป็นจานวนมาก ... การเดินทางไปประเทศอียปิ ตค์ ร้ังน้ี คอลีฟะฮอ์ ลั -มะอม์ ูน แห่งวงศอ์ บั บาซีย์ ของ กรุงบุฆดาด ไดฝ้ ากฝังท่านให้เป็นแขกของท่านอลั -อบั บาส บินมูซา ซ่ึงเป็นผูป้ กครอง ประเทศอียิปต์ในเวลาน้นั แต่ท่านอิหม่ามชาฟิ อียป์ ฏิเสธท่ีจะไปพกั ในฐานะแขกของ ท่านเจา้ เมืองฯ โดยท่านไดป้ ลีกตวั ไปพกั อย่กู บั ผูเ้ ป็ นญาติฝ่ ายมารดาของท่าน ร่วมกบั ครอบครัวของท่านเอง ... ณ ประเทศอียิปต์แห่งน้ี ท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดใ้ ช้เป็ นแหล่งพานักคร้ังสุดทา้ ย ของท่านเพ่ือการเผยแพร่วิชาการ, โตแ้ ยง้ เชิงวิชาการกบั ผูร้ ู้ที่มีชื่อเสียงของประเทศ

7 อียปิ ตจ์ านวนมาก, เขียนตารับตารา และสง่ั สอนลกู ศษิ ยล์ ูกหาในมสั ญิดญาเม๊ียะอฺ “อมั รฺ อิบนุลอฺาศ” ซ่ึงต้งั อยใู่ นกรุงไคโร จวบจนวาระสุดทา้ ยแห่งชีวิตดว้ ยโรคริดสีดวงทวาร อนั เป็นโรคประจาตวั ของท่าน ... ในช่วงเวลาท่ีพานกั อยใู่ นประเทศอียปิ ต์ ท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดเ้ ขียนตารับตารา เอาไวห้ ลายเล่ม อาทิเช่น ... 1. หนงั สืออรั ฺ-ริซาละฮ์ 2. หนงั สืออลั -มุสนดั 3. หนงั สืออสั -สุนนั 4. หนงั สืออิคติลาฟ อลั -หะดีษ 5. หนงั สือญมั มาอฺ อลั -อิลมิ ฯลฯ. แต่หนังสือท่ีเป็ นท่ีรู้จกั กนั แพร่หลายท่ีสุดของท่านอิหม่ามชาฟิ อียก์ ็คือหนังสือ “อลั -อมุ ม์” ซ่ึงท่านได้ “อิมลาอ”์ คือบอกใหท้ ่าน อรั ฺ-รอเบ๊ียะอฺ บินสุลยั มาน อลั -มุรอดีย์ ศิษยค์ นหน่ึงของท่านเป็นผทู้ าหนา้ ที่จดบนั ทึกไว้ ... เน้ือหาของหนงั สืออลั -อุมม์ – ท้งั หมด -- เป็นขอ้ ความท่ีท่านอรั ฺ-รอเบี๊ยะอฺ บินสุ ลยั มาน ไดบ้ นั ทึกรายงานมาจากท่านอิหม่ามชาฟิ อียข์ ณะอยใู่ นประเทศอียปิ ต์ ... น่ีคือ ทศั นะของท่านหาฟิ ศ อิบนุกะษีรฺ ในหนงั สือ “อลั -บิดายะฮ์ วนั -นิฮายะฮ์ เล่มที่ 10 หนา้ 692 ... แต่ท่านอิหม่ามอลั -หะรอมยั น์และนกั วิชาการบางท่านอา้ งว่า หนงั สืออลั -อุมมน์ ้ี ความจริงก็คือหนงั สือ “อัล-หุจญะฮ์” ที่ท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดเ้ คยแต่งไวก้ ่อนขณะอยู่ ในกรุงบุฆดาดนั่นเอง โดยผูจ้ ดบันทึกจากการอิมลาอ์ของท่านตอนน้ัน นอกจาก ท่านอซั -ซะอฺฟะรอนีย์ดงั ที่กล่าวมาแลว้ กย็ งั มีท่านอรั ฺ-รอเบย๊ี ะอฺ บนิ สุลยั มาน อลั -มุรอดีย์ อัล-มิศรีย์ ซ่ึงเป็ นชาวอียิปตโ์ ดยกาเนิด แต่ไดไ้ ปศึกษาเล่าเรียนและเป็ นศิษยข์ องท่าน อิหม่ามชาฟิ อียท์ ี่กรุงบุฆดาด เป็นผจู้ ดบนั ทึกอีกท่านหน่ึงดว้ ย ... ต่อมา เมื่อท่านอิหม่ามชาฟิ อียเ์ ดินทางไปอียปิ ต์ ท่านอรั ฺ-รอเบี๊ยะอฺกเ็ ดินทางกลบั บา้ นเกิดเมืองนอนพร้อมท่านอิหม่ามชาฟิ อีย์ และไดน้ าเอาหนงั สือ “อลั -หุจญะฮ์” ที่ ตนเองบนั ทึกไวต้ ิดตวั กลบั มาอียิปต์ด้วย แลว้ ต่อมาภายหลงั ก็ได้มีการแกไ้ ขเน้ือหา บางอย่างเพื่อใหต้ รงกบั “ขอ้ มูลใหม่” ท่ีท่านอิหม่ามชาฟิ อียเ์ พ่ิงจะไดร้ ับขณะอยใู่ น

8 ประเทศอียปิ ต์ และได้เปล่ียนแปลงช่ือหนงั สือน้ีจาก “อลั -หุจญะฮ์” เป็น “อลั -อมุ ม์” ในที่สุด ... ไม่วา่ ขอ้ เทจ็ จริงจะเป็นเช่นไรกต็ าม แต่ส่ิงท่ีทุกคนไม่อาจปฏิเสธไดก้ ค็ ือ หลายๆ หุก่มในหนงั สืออลั -หุจญะฮ์อนั เป็นหนงั สือที่ประมวลไวซ้ ่ึง “ٌ‫ ”قَْوٌل قَ ِدْي‬หรือทัศนะเดิม ของท่านที่กรุงบุฆดาด มีความแตกต่างจากหลายหุก่มในหนงั สืออลั -อมุ ม์ อนั เป็นตาราที่ ท่านเขียนไวข้ ณะอยใู่ นประเทศอียปิ ต์ .. ซ่ึงเป็นไปไดว้ า่ เม่ือท่านอิหม่ามชาฟิ อียเ์ ดินทาง ถึงอียิปต์และเจอหลกั ฐานใหม่ท่ีท่านเห็นว่า มีความถูกตอ้ งกว่าหลกั ฐานเดิมที่ท่านเคย เจอและเคยฟัตวาไวต้ อนอยกู่ รุงบุฆดาด ท่านจึงเปล่ียนแปลงการวเิ คราะห์ (‫ )إِ ْجتَِهاٌد‬และ การฟัตวาในเรื่องน้ันๆเสียใหม่ให้สอดคลอ้ งกบั หลกั ฐานใหม่น้ัน โดยให้ท่านอรั ฺ -รอ เบี๊ยะอฺ บินสุลยั มานเป็นผจู้ ดบนั ทึก และรายงานไวใ้ นหนงั สืออลั -อุมม์ ดงั มีปรากฏใน ปัจจุบนั ... หุก่มต่างๆดงั ท่ีมีระบุไวใ้ นหนงั สืออลั -อุมม์ ตลอดจนคาฟัตวาท้งั หลายของท่าน อิหม่ามชาฟิ อียท์ ี่ประเทศอียิปต์น้ี เรียกกนั ว่า เป็ น “‫ ”قَ ْول َج ِديْد‬หรือ “ทัศนะใหม่” ของท่าน ... สานุศิษย์ที่สาคญั ของท่านในประเทศอยี ปิ ต์กค็ ือ ... 1. ท่านอบยู ะอฺกบู ยซู ุฟ บินยะห์ยา อลั -มิศรีย์ อลั -บุวยั ฏยี ์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 231) 2. ท่านอรั ฺ-รอเบีย๊ ะอฺ บนิ สุลยั มาน อลั -มุรอดีย์ อลั -มิศรีย์ (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 270) 3. ท่านอรั ฺ-รอเบี๊ยะอฺ บินสุลยั มาน บินดาวดู อลั -ญยั ซีย์ (สิ้นชิวติ ปี ฮ.ศ. 257) 4. ท่านอบอู ิบรอฮีม อิสมาอีล บินยะห์ยา อลั -มซุ ะนีย์ (สิ้นชิวติ ปี ฮ.ศ. 264) 5. ท่านหัรฺมะละฮ์ บินยะหย์ า (สิ้นชีวติ ปี ฮ.ศ. 243) 6. ท่านอบู อบั ดิลลาฮ์ มุหมั มดั บินอบั ดุลลอฮ์ บินอบั ดุลหะกมั อลั -มิศรีย์ (สิ้นชีวิต ปี ฮ.ศ. 268) 7. ท่านยนู ุส บิน อบั ดุลยะอฺลา (13). การเจบ็ ป่ วยและสิ้นชีวิต สุขภาพในช่วงหลงั ๆของท่านอิหม่ามชาฟิอีย์ ปรากฏวา่ ท่านมีโรคประจาตวั หลายอยา่ ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ โรคริดสีดวงทวารซ่ึงทาให้ ท่านตอ้ งเสียโลหิตคราวละมากๆจนถึงแก่ชิวติ ในที่สุด ... ท่านอิหม่ามชาฟิ อียส์ ิ้นชีวิต ในคืนวนั ศุกร์ (แต่บางรายงานบอกว่าเป็ นคืนวนั

9 พฤหสั ) หลงั เสร็จจากนมาซมคั ริบอนั เป็นคืนสุดทา้ ยของเดือนรอญบั ปี ฮ.ศ. 204 ต่อหนา้ ท่านอบั ดุลลอฮ์ บินอบั ดุลหะกมั และท่านอรั ฺ-รอเบ๊ียะอฺ บินสุลยั มาน บินดาวดู อลั -ญยั ซีย์ ซ่ึงเป็นศิษยข์ องท่าน ขณะอายไุ ด้ 54 ปี ... มยั ยติ ของท่านถูกฝังในตอนบ่ายวนั ศุกร์รุ่งข้ึน (บางรายงานบอกว่า ถูกฝังในคืน วนั ศกุ ร์) ณ กบุ ูรฺของบนู อบั ดุลหะกมั ในกรุงไคโร ประเทศอียปิ ต์ ... (14). ชีวิตครอบครัว ท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ดส้ มรสเม่ืออายุของท่านเกือบจะ ครบ 30 ปี กบั สตรีผหู้ น่ึงซ่ึงมีศกั ด์ิเป็ นหลานของท่านอุษมาน บินอฟั ฟาน ร.ฎ. คอลีฟะฮ์ ท่านท่ี 3 ของโลกอิสลาม ภริยาของท่านมีช่ือว่า “หะมีดะฮ์ บินตินาเฟี๊ ยะอฺ” มีบุตรธิดา ดว้ ยกนั รวม 3 คนคือ ... 1. ท่านอบูอุษมาน มุหมั มดั บินมุหมั มดั บินอิดรีส ... (ต่อมาถูกแต่งต้งั เป็นกอฎีย์ หรือเจา้ เมืองหะลบั ) ... 2. ท่านฟาฏิมะฮ์ 3. ท่านซบั หนบั ... นอกจากน้ี ท่านอิหม่ามชาฟิ อียย์ งั มีบุตรชายที่เกิดจากทาสหญิงของท่านอีกคน หน่ึง ชื่อ อลั -หะซนั แต่ไดเ้ สียชีวติ ขณะยงั เลก็ ๆอยู่ ...



ช่ือวทิ ยานิพนธ์ อิมามอชั ชาฟี อีย์ : แนวคิดและบทบาททางการศึกษา ผู้เขยี น นายซูหูดี หะยมี ะแซ สาขาวชิ า อิสลามศึกษา ปี การศึกษา 2553 บทคดั ย่อ วทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ 1) ศึกษาชีวประวตั ิของอิมามอชั ชาฟี อีย์ 2) ศึกษาแนวคิดทางการศึกษาของอิมามอชั ชาฟี อีย์ 3) ศึกษาบทบาททางการศึกษาของอิมาม อชั ชาฟี อีย์ งานวจิ ยั น้ีเป็นการศึกษาวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากเอกสารแลว้ นาเสนอรายงานแบบพรรณนาวเิ คราะห์ จากการศึกษาวเิ คราะห์พบวา่ อิมามอชั ชาฟี อีย์ เป็น หน่ึงในบรรดาอุละมะอฺท่ีมี ชื่อเสียง ผซู้ ่ึง สืบเช้ือสายมาจากตน้ ตระกลู เดียวกนั กบั ท่านนบีมูหมั หมดั  เป็นผทู้ ่ีมีสติปัญญา หลกั แหลม มีความวริ ิยะอุตสาหะและเตม็ เป่ี ยมไปดว้ ยพลงั แห่งการใฝ่ หาความรู้ตลอดเวลา ท่าน เดินทางไปแสวงหาความรู้ยงั เมืองตา่ งๆ ดงั น้นั ท่าน จึงมีอาจารยแ์ ละลูกศิษยม์ ากมาย ลูก ศิษยข์ อง ท่านหลายคนไดก้ ลายเป็นอาจารยใ์ หก้ บั บรรดานกั บนั ทึกหะดิษผยู้ งิ่ ใหญม่ ากมาย เช่น อิมามอลั บูคอ รีย์ มุสลิม อาบูดาวดู อตั ติรมี ษีย์ อนั นะสาอียแ์ ละอิบนูมาญะฮฺ ความรู้และประสบการณ์ของท่าน ไดส้ ะทอ้ นออกมาเป็นแนวคิดทางการศึกษา สามารถจาแนกเป็น มิติต่างๆประกอบดว้ ย มิติที่ เก่ียวกบั ผเู้ รียน มิติที่เกี่ยวกบั ผสู้ อน มิติระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อน และมิติดา้ นอ่ืนๆ ส่ว นบทบาท ทางการศึกษาพบวา่ อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นอุละมะอฺท่านหน่ึงท่ีมีบทบาทอยา่ งมากในวงวชิ าการ อิสลามต้งั แต่ยคุ สมยั ของท่านจนถึงยคุ ปัจจุบนั ท่านมีบทบาทที่โดดเด่นในหลายๆสาขาวชิ าดว้ ยกนั เช่น ในสาขาวชิ าหะดีษและอลู ูมอลั หะดีษ ทา่ นไดร้ ับฉายาวา่ เป็น “ผชู้ ่วยเหลือค้าจุนสุนนะฮฺของ ทา่ นนบี  ” ในสาขาวชิ าฟิ กฮฺและอศู ลู อลั ฟิ กฮฺทา่ นไดร้ ับฉายาวา่ เป็น “ผวู้ างรากฐานวชิ าอูศูลอลั ฟิ กฮฺ” หรือแมแ้ ต่ในสาขาวชิ าภาษาอาหรับและวรรณกรรมอาหรับท่านกม็ ีความเป็นเลิศ จนไดร้ ับ การกล่าวขานวา่ เป็น “ผนู้ าแห่งภาษา” ถึงแมว้ า่ ทา่ นไดเ้ สียชีวติ เป็นเวลามากกวา่ 1200 ปี มาแลว้ แต่ ความรู้และงานเขียนท่ีท่านไดท้ ิ้งไวน้ ้นั ยงั คงไวซ้ ่ึงคุณคา่ ทางวชิ าการใหช้ นรุ่นหลงั ไดศ้ ึกษาและ ถ่ายทอดมาจนถึงปัจจุบนั (3)

21 บทที่ 2 ชีวประวตั ขิ องอมิ ามอชั ชาฟี อยี ์ 2.1 เชื้อสายต้นตระกูลและการกาเนิด 2.1.1 เชื้อสายต้นตระกลู ของอมิ ามอชั ชาฟี อยี ์ อิมามอชั ชาฟี อียม์ ีช่ือเตม็ วา่ มูหมั มดั บิน อิดรีส บิน อลั อบั บาส บิน อุษมาน บิน อชั ชาฟิ อฺ บิน อสั สาอิบ บิน อุบยั ดฺ บิน อบั ดฺยาซีด บิน ฮาชิม บิน อลั มุฏฏอลิบ บิน อบั ดฺมานาฟ ซ่ึงเช้ือสายตน้ ตระกลู ของอิมาม อชั ชาฟี อีย์ติดตอ่ กบั ท่านนบี  ท่ีอบั ดฺมานาฟ ( Fakhruddin al- Raziy , 1993 : 25 ) 2.1.2 เชื้อสายต้นตระกลู บดิ าของท่าน เช้ือสายตน้ ตระกลู บิดาของท่าน คือ อิดรีส บิน อลั อบั บาส บิน อุษมาน บิน อชั ชาฟิ อฺ บิน อสั สาอิบ บิน อุบยั ดฺ บิน อบั ดฺยาซีด บิน อลั มุฏฏอลิบ บิน อบั ดฺมานาฟ บิดาของทา่ นมีพ้ืนเพมาจากเมืองตบั บาละห์ซ่ึงอยใู่ นเขตติหามะห์เป็นเมืองท่ีอยใู่ น เส้นทางสู่เยเมน หลงั จากน้นั ทา่ นเดินทางไปยงั อสั กอลาน และไดเ้ สียชีวติ ที่น้นั 2.1.3 เชื้อสายต้นตระกูลมารดาของท่าน นกั ประวตั ิศาสตร์ส่วนใหญ่เห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ มารดาของอิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็น ชาว Azdiah ซ่ึงถูกสืบเช้ือสายไปถึงตวั อิมามอชั ชาฟี อียเ์ อง บางกระแสกล่าววา่ มารดาของทา่ นเป็น ชาว Asadiah ซ่ึง Azdiah และ Asadiah เป็นอนั เดียวกนั ส่ิงที่นกั ประวตั ิศาสตร์ยกมาเป็นหลกั ฐานก็ คือในช่วงท่ีอิมามอชั ชาฟี อียเ์ ดินทางไปยงั อียปิ ตช์ าวอียปิ ตบ์ างคนตอ้ งการใหท้ ่ีพกั พิงแก่ทา่ นแต่ ท่านปฎิเสธและกล่าววา่ ฉนั ตอ้ งการพกั พิงกบั นา้ ชายของฉนั ชาวอซั ดียนี ( Abd al-Ghani al-Daqr , 2005 : 41 )

22 แผนภมู ิแสดงการสืบเช้ือสายตน้ ตระกลู ของอิมามอชั ชาฟี อียก์ บั เช้ือสายตน้ ตระกลู ของท่านนบี มูหมั หมดั  โดยผา่ นอบั ดฺมานาฟ กุศอยยฺ อบั ดฺมานาฟ อลั -มุฏฏอลิบ ฮาชิม นูฟัยลฺ อบั ดฺชมั สฺ ฮาชิม อบั ดุลมุฏฏอลิบ อมู ยั ยะฮฺ อบั ดฺยาซิด ฮมั ซะฮฺ อลั -อบั บาส อบั ดุลลอฮฺ อบูละฮบั อบูฏอลิบ อลั -ฮาริส หรั บฺ อูบยั ดฺ อซั -ซาอิบ มูหมั หมดั  อากิล อาลี ยะฟัร อบูสุฟยาน ชาฟิ อฺ ฮเู ซ็น หะสัน มูอาวยี ะฮฺ อุษมาน อบั บาส อิดรีส มหู มั หมดั อชั ชาฟี อีย์ (Fauzi bin haji Awang , 1989 : 64)

23 2.1.4 การกาเนิด อิมามอชั ชาฟี อียถ์ ีอกาเนิดที่เมืองกาซ่า ) ‫ ( غضح‬ประเทศปาเลสไตน์ ในตอนเยน็ ของ วนั ศุกร์เดือนระญบั ในปี 150 ฮ.ศ. เป็นปี เดียวกนั ท่ีอิมามอาบฮู านีฟะห์เสียชีวติ หลงั จากน้นั 2 ปี มารดาของท่านกพ็ าท่านมายงั นครมกั กะฮฺ ณ.เมืองมกั กะฮฺน้ีเองท่ีอิมามอชั ชาฟี อียเ์ ติบโตและไดร้ ับ การศึกษาในข้นั แรก 2.2 การศึกษาและบรรดาอาจารย์ของท่าน 2.2.1 การศึกษาของท่าน หลงั จากที่ทา่ นไดเ้ ดินทางมายงั มกั กะฮฺ อิมามอชั ชาฟี อีย์ เริ่มศึกษาเล่าเรียนทา่ นเริ่ม เรียนการอ่าน การเขียน และการท่องจาอลั กุรอาน ทา่ นเป็นเดก็ กาพร้าและมีฐานะยากจนแต่ความ กาพร้าและความยากจนของท่านน้นั ไม่ไดเ้ ป็นอุปสรรคในการแสวงหาความรู้เลย อิมาม อชั ชาฟี อีย์ ไดก้ ล่าววา่ ْ‫\" وٕذ َزُّب في دجش أٍِ ولم َىٓ ِؼهب ِب رؼغٍ الدؼٍُ ووبْ الدؼٍُ لذ سضٍ ِني أ‬ \" َ‫أخٍفٗ إرا لب‬ ( Ibn al-Jawziy, n.d. : 2 / 141 ) ‚ ฉนั เป็นเดก็ กาพร้าอยใู่ นการเล้ียงดูของแมฉ่ นั และหล่อนไม่มีส่ิง( ค่าเล่าเรียน ) ท่ี จะใหแ้ ก่ครู แต่ครูกพ็ อใจกบั ฉนั เมื่อฉนั สอนแทนเขายามที่เขาไดล้ ุกข้ึน (ออกไป ) ‛ ถึงแมว้ า่ ท่านจะฐานะยากจนแตท่ า่ นก็เป็นเดก็ ท่ีมีสติปัญญาและความจาท่ียอดเยย่ี ม คร้ังหน่ึงท่านเคยกล่าววา่ ْ‫\" وٕذ أٔب في اٌىزبة أسمغ الدؼٍُ ٍَمٓ اٌصبي اَِخ فأدفظهب أٔب وٌمذ وٕذ وَىزجى‬ ْ‫أئّزهُ فئلى أْ َفشؽ الدؼٍُ ِٓ الإِلاء ػٍُهُ لذ دفظذ جمُغ ِب أًٍِ فمبي لي راد َىَ لا يحً أ‬ \" ‫آخز ِٕه شُئب‬ ( Yaqoot al Hamawiy.n.d. : 17/284 ) ‚ ฉนั เรียนอยใู่ นกตุ ตาบ ฉนั ฟังครูสอนอายะฮฺอลั กรุ อานใหก้ บั เดก็ ๆฉนั ก็ท่องมนั จนจา และฉนั กอ็ ยใู่ นสภาพอยา่ งน้นั โดยท่ีพวกเขาก็จะเขียนอยู่ และก่อนท่ีครูจะเขียนใหพ้ วกเขา

24 เสร็จฉนั ไดท้ ่องจาทุกส่ิงที่ครูน้นั ไดเ้ ขียน แลว้ ครูคนน้นั ไดก้ ล่าวแก่ฉนั วนั หน่ึงวา่ มนั ไม่เป็นที่ อนุญาตใดๆเลยท่ีฉนั จะเอา (คา่ เล่าเรียน) จากเจา้ ‛ ท่านแสวงหาความรู้ทา่ มกลางความขดั สนและความยากจนบางคร้ังทา่ นตอ้ งจด บนั ทึกความรู้ท่ีศึกษาเล่าเรียนมาในเศษไมบ้ า้ ง เศษหนงั บา้ ง กระดูกบา้ งอิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดเ้ ล่าวา่ ْ‫\" عٍجذ ٘زاالأِش ػٓ خفخ راد َذ وٕذ أجبٌظ إٌبط وأتحفظ ثم اشزهُذ أْ أدو‬ - ‫ووبْ ٌٕب ِٕضي ثمشة شؼت الخُف ووٕذ آخز اٌؼظبَ والأوزبف فأوزت فُهب دتى اِزلأ في داسٔب‬ \" ْ‫ دجب‬-‫ِٓ رٌه‬ (Abd al-Rahman bin Abi Hatim al-Raziy , n.d. : 25 ) ‚ ฉนั ได้แสวงหาการงานน้ี (ความรู้) ทา่ มกลางความขดั สน ฉนั จะนง่ั ร่วมอยกู่ บั ผอู้ ื่น(เพอื่ ฟังการสอนเป็นประจา) แลว้ ฉนั ก็จะท่องจา หลงั จากน้นั ฉนั รู้สึกปรารถนาที่จะ จดบนั ทึก (ความรู้ท่ีไดศ้ ึกษาเล่าเรียนมา)และเรามีบา้ นอยใู่ กลก้ บั Shea-b al Khaif ฉนั กจ็ ะเอาเศษกระดูกทวั่ ไป เศษกระดูกจากบา่ หรือไหลของสัตวบ์ า้ งแลวั ฉนั ก็จะเขียนในน้นั จนในบา้ นของฉนั เตม็ ไปดว้ ยเศษ กระดูกเหล่าน้นั ‛ ดว้ ยความความแร้นแคน้ และความยากลาบากของท่านทาใหญ้ าติของทา่ นบางคน เห็นใจและรู้สึกสงสารกบั ท่านโดยแนะนาใหอ้ ิมามอชั ชาฟี อียท์ างานหาเงินก่อนแลว้ คอ่ ยเรียนอิมาม อชั ชาฟี อียไ์ ดเ้ ล่าวา่ – ‫\" فشآني أعٍت اٌؼٍُ فمبي لي لا رؼجً بهزا والجً ػًٍ ِب َٕفؼه – َؼني اٌزىغت‬ \" ‫لبي فجؼٍذ ٌزتي في اٌؼٍُ وعٍجٗ دتى سصق الله ِب سصق‬ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy.1310 H : 50 ) ‚ แลว้ เขาไดเ้ ห็นฉนั ศึกษาหาความรู้เขากบ็ อกกบั ฉนั วา่ เจา้ อยา่ ไดร้ ีบเร่งในส่ิงน้ีเลย แต่จงมุ่งหนา้ ไปหาส่ิงที่เป็นประโยชนก์ บั เจา้ ดีกวา่ (คือเจา้ ทางานหาเงินก่อนแลว้ ค่อยเรียนทีหลงั )แต่ แลว้ ความเอร็ดอร่อยของฉนั มนั อยใู่ นความรู้และการแสวงหามนั จนกระทงั่ อลั ลอฮฺ  ได้ ประทานริซกีย(์ ปัจจยั ยงั ชีพ) ตามท่ีพระองคไ์ ดท้ รงประทานให‛้

25 ทา่ นอิมามอชั ชาฟี อียม์ ีความวริ ิยะอุตสาหะในการศึกษาเล่าเรียน ท่านมีความ อดทน ท่านเผชิญหนา้ กบั ความยากจน การทดสอบและอุปสรรคมากมายอยา่ งไมท่ อ้ แท้ เมื่อทา่ น อายไุ ด้ 7 ปี ทา่ นสามารถทอ่ งจาอลั กรุ อานไดท้ ้งั หมด หลงั จากน้นั ท่าน ไดศ้ ึกษาหะดีษอยา่ งจริงจงั ท่านไดท้ อ่ งจาหะดิษและจดบนั ทึกหะดิษไวเ้ ป็นจานวนมาก เม่ือทา่ นอายไุ ด้ 10 ปี ท่านสามารถ ท่องจาตาราอลั มุวฏั เฏาะไดท้ ้งั เล่ม ทา่ นไดก้ ล่าววา่ \" ‫\" دفظذ اٌمشاْ وأٔب اثٓ عجغ ودفظذ الدىعأ وأٔب اثٓ ػشش‬ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy.1310 H : 50 ) ‚ ฉนั ทอ่ งจาอลั กรุ อานได(้ ท้งั เล่ม)ขณะที่ฉนั อายไุ ด้ 7 ปี และฉนั ท่องจาอลั มุวฏั เฏาะ ได(้ ท้งั เล่ม)ขณะที่ฉนั อายไุ ด้ 10 ปี ‛ หลงั จากน้นั ทา่ นไดเ้ ดินทางไปใชช้ ีวติ อยกู่ บั ชนเผา่ ฮูซยั ลฺเป็นเวลา 17 ปี ท่านได้ ศึกษาจารีตประเพณีจากชนเผา่ น้ี ชนเผา่ ฮไู ซลฺถือไดว้ า่ เป็นชนเผา่ ท่ีมีความชานาญและความสนั ทดั ในภาษาอาหรับมากที่สุดในเวลาน้นั นอกจากท่านไดศ้ ึกษาจารีตประเพณีและหลกั ภาษาอาหรับแลว้ ท่านยงั ไดศ้ ึกษาและทอ่ งจาบทกวขี องชนเผา่ น้ีอีกเป็นจานวนมากเก่ียวกบั เรื่องน้ี อิมามอชั ชาฟี อีย์ได้ เล่าวา่ ‫\" ثم إني خشجذ ػٓ ِىخ فٍضِذ ٘ضَلا في اٌجبدَخ أرؼٍُ ولاِهب وآخز عجؼهب ووبٔذ‬ ‫أفصخ اٌؼشة فجمُذ فُهُ عجغ ػشش عٕخ أسدً ثشدٍُهُ وأٔضي ثٕضولذُ فٍّب سجؼذ إلى ِىخ جؼٍذ‬ \" ‫أٔشذالأشؼبس وأروشاِداة والأخجبس وأَبَ اٌؼشة‬ ( Yaqoot al Hamawiy.n.d. : 17/284 ) ‚ หลงั จากน้นั ฉนั ก็ไดอ้ อกจากมกั กะฮฺและมุง่ หนา้ ไปอยกู่ บั ชนเผา่ ฮูซยั ลฺในชนบท ฉนั ไดศ้ ึกษาคาพดู และแบบอยา่ งของพวกเขา ชนเผา่ ฮซู ยั ลฺเป็นชนเผา่ ที่มีความสันทดั ในภาษา อาหรับมากท่ีสุด ฉนั อยอู่ าศยั กบั พวกเขาเป็นเวลา 17 ปี ไปไหนไปดว้ ยกนั พกั ท่ีไหนพกั ดว้ ยกนั หลงั จากน้นั เม่ือฉนั กลบั ไปยงั มกั กะฮฺฉนั เร่ิมประพนั ธ์กลอน บอกเล่าเก่ียวกบั วรรณคดีต่างๆ และ ประวตั ิศาสตร์ของชนชาวอาหรับ ‛

26 หลงั จากน้นั ท่านเดินทางไปยงั มะดีนะฮฺ เพอ่ื ศึกษากบั อิมามมาลิกบินอานสั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในสาขาวชิ าฟิ กฮฺ นอกจากอิมามมาลิกบินอานสั แลว้ อิมามอชั ชาฟี อียย์ งั ไดศ้ ึกษา จากอุละมาอฺทา่ นอ่ืนๆ ในนครมะดีนะฮฺ อีกดว้ ยเช่นจาก อิมาม อิบรอฮิม บิน ซะอดั อลั - อนั ศอรีย์ , อิมาม อบั ดุลอาซีซ บิน มูหมั มดั อดั ดาวรุ ดีย์ , อิมาม อิบรอฮิม บิน อาบียะห์ยา อลั อาซามีย์ , อิ มาม มหู มั มดั บิน ซะอีด , อิมาม อบั ดุลเลาะห์ บิน นาฟิ อและอูลามาอทา่ นอ่ืนๆ แต่อิมามอชั ชาฟี อีย์ ไดศ้ ึกษากบั อูลามาอเหล่าน้นั ภายในระยะเวลาส้ันๆไม่เหมือนกบั ท่ีไดท้ ุ่มเทเวลากบั การศึกษาในมญั ลิสของอิมามมาลิก ท้งั น้ี เน่ืองจากการเดินทางมามะดีนะฮฺของทา่ นก็เพือ่ จะศึกษากบั อีมามมาลิกเป็น หลกั ในช่วงท่ีทา่ นอยใู่ นเยมน อิรักหรือท่ีไหนกแ็ ลว้ แตท่ ่านกม็ กั จะหาโอกาศ ไปศึกษา หาความรู้จาก อุละมาอฺในเมืองน้นั ๆโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในช่วงที่ทา่ นอยใู่ นอิรักทา่ นมกั จะไปหา บรรดาลูกศิษยแ์ ละเพอ่ื นๆของอิมามอาบูฮานีฟะฮเ์ พ่อื ศึกษาจากอุละมาอฺเหล่าน้นั คุณลกั ษณะหน่ึงที่สาคญั ของของอิมามอชั ชาฟี อียท์ ่ีท่านไดก้ ลายเป็นผรู้ ู้ที่ยงิ่ ใหญ่ คือความอยากและความกระหายของทา่ นในความรู้และศาสตร์ต่างๆ คร้ังหน่ึงมีคนถามทา่ นวา่ “ความอยากของเจา้ ในความรู้เป็นอยา่ งไร?” อิมามอชั ชาฟี อีย์ ตอบวา่ “ขา้ อยากจะฟังทุกคาท่ีขา้ ไม่ เคยไดย้ นิ มา อวยั วะของฉนั ทุกส่วนปรารถนาที่จะฟังอยา่ งสนุกสนานและสุขสบายกบั การไดร้ ับฟัง ความรู้ เช่นเดียวกบั 2 หู ของขา้ ท่ีสนุกสนานและสุขสบายเม่ือไดฟ้ ังมนั คนน้นั ก็ถามต่ออีกวา่ แลว้ ความกระหายของเจา้ ในความรู้เป็นอยา่ งไรบา้ ง? ทา่ นตอบวา่ “เฉกเช่นความกระหายของผรู้ วบรวม ทรัพยส์ มบตั ิเพอื่ ใหบ้ รรลุถึงความเอร็ดอร่อยในการใชม้ นั คนน้นั กถ็ ามตอ่ อีกวา่ แลว้ เจา้ จะแสวงหา มนั มาไดอ้ ยา่ งไร? ขา้ จะแสวงหามนั มาใหไ้ ดเ้ หมือนกบั การแสวงหาลูกชายคนเดียวของผหู้ ญิงคน หน่ึงท่ีลูกของหล่อนเดินหลงทางหายไป (Ibn Hajar al-Asqalaniy.1310 H : 62 ) 2.2.2 บรรดาอาจารย์ อิมามฟัครุดดีน อรั รอซีย์ ไดก้ ล่าวถึงบรรดาอาจารยข์ องอิมามอชั ชาฟี อีย์ ที่สาคญั และโด่งดงั มีท้งั หมด 19 คน 5 คนที่มกั กะฮฺ 6 คน ท่ีมะดีนะฮฺ 4 คนท่ียะมนั (เยเมน) และ 4 คนที่ อิรัก ครูอาจารยท์ ่ีมกั กะฮฺ มี ซุฟยาน อิบนุ อู ยยั นะฮฺ มุสลิมบินคอลิดอซั ซนั ญี ย สะ อีด อิบนุซาลิม อลั ก็อดดาฮฺ ดาวดู อิบนุ อบั ดุรเราะฮฺมาน อลั อฎั ฎอรฺ และอบั ดุลฮะมีด อิบนุ อบั ดุลอะซีซฺ บินดาวดู

27 ครูอาจารยท์ ่ีมะดีนะฮฺ มี อิมามมาลิก อิบนุอะนสั (มาลิกีย) อิบรอฮีม อิบนุ ซะอฺด์ อลั อนั ซอรีย์ อบั ดุลอะซีซฺ อิบนุ มุฮมั มดั อดั ดาวริ ดีย์ อิบรอฮีม อิบนุ อาบียะฮฺยา , มุฮมั มดั อิบ นุ อิสมาอีล อิบนุ อะบี ฟะดีก และอบั ดุลลอฮฺ บินนาฟิ อฺ ครูอาจารยท์ ี่ยะมนั (เยเมน) มี มฏั ร็อฟ อิบนุ มาซิน ฮิชาม อิบนุยซู ุฟ ผพู้ พิ ากษา แห่งนครซอนอาอ์ , อุมรั อิบนุอะบี สะละมะฮฺ , และยะฮฺยา อิบนุ ฮิซาน ส่วนครูอาจารยข์ องท่านที่อิรัคก็ มี วะเกียะอฺ อิบนุ อลั ญรั ราฮฺ อลั กฟู ี ยฺ , อาบอู ซู า มะห์อลั กฟู ี ยฺ , อิสมาอีล อิบนุ อิลยะฮฺอลั บะศร็ ีย์ และ อบั ดุลวะฮฺฮาบ อิบนุ อบั ดุลมะญีด อลั บศั รีย์ ( Fakhruddin al-Raziy , 1993 : 44 ) อิบนุหะญรั อลั อสั กอลานีย์ ( 1310 H : 52 ) ไดร้ วบรวมรายช่ือบรรดาครูอาจารย์ ของอิมามอชั ชาฟี อียท์ ้งั หมดในหนงั สือ Tawali al-Taasis bi Ma‘āli Ibn Idris ซ่ึงในรายช่ือขา้ งล่างน้ี ไดร้ วมถึงครูอาจารย์ 19 ทา่ นที่ไดก้ ล่าวขา้ งตน้ ดว้ ย 1. อิบรอฮีม บิน สะอด์ ฺ บิน อิบรอฮีม อซั ซุฮฺรีย์ 2. อิบรอฮีม บิน อบั ดุลอฺะซีซ บิน อาบี มะหฺษูเราะฮฺ 3. อิบรอฮีม บิน มหู มั มดั บิน อาบี ยะห์ยา 4. อิบรอฮีม บิน ฮะรอม 5. อุสามะฮฺ บิน ซยั ด์ บิน อสั ลมั 6. อิสหาก บิน ยสู ุฟ อลั อซั รักฺ 7. อิสมาอีล บิน อิบรอฮีม มุกฺสิม 8. อิสมาอีล บิน ญะฟัร บิน อาบี กะษีร 9. อิสมาอีล บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน กอสฏอนฏีน 10. อนสั บิน อิยาฎ 11. อยั ยบู บิน สูวยั ดฺ อลั รอมลีย์ 12. ญะฟัร บิน อิบรอฮีม อฏั ฏออีย์ 13. ฮาติม บิน อิสมาอีล อลั มะดะนีย์ 14. อลั ฮาริส บิน อมู ยั รฺ อลั บศั รีย์ 15. อลั หุร บิน อิบรอฮีม 16. หุเสน อลั อลั ษฆั 17. หมั มาด บิน อุสามะฮฺ 18. หมั มาด บิน ซยั ด์ อลั บศั รีย์

28 19. หมั มาด บิน ซฺะรีฟ 20. ดาวดู บิน อบั ดุรเราะห์มาน อลั อฏั ฏอร 21. สะอีด บิน สะละมะฮฺ 22. สะอีด บิน มสั ละมะฮฺ อลั อุมะวยี ์ 23. สุฟยาน บิน อุยยั นะฮฺ 24. สุไลมาน บิน อมั รฺ 25. สัมมาก บิน อลั ฟัดลฺ อลั ญุนดีย์ 26. อฎั ฎอฮฮาก บิน อุษมาน อลั ฮิซามีย์ 27. อิบาด บิน อลั อาวาม 28. อบั ดุลลอฮฺ บิน อิดรีส 29. อบั ดุลลอฮฺ บิน อลั ฮาริษ อลั มกั กีย์ 30. อบั ดุลลอฮฺ บิน สะอีด บิน อบั ดุลมะลิก อาบศู อฟวาน อลั อุมาวยี ์ 31. อบั ดุลลอฮฺ บิน อลั มบู ารัก อลั มะรูซีย์ 32. อบั ดุลลอฮฺ บิน มูสา อตั ตยั มีย์ 33. อบั ดุลลอฮฺ บิน มุมิน 34. อบั ดุลลอฮฺ บิน นาฟิ อฺ อศั ศออิฆ 35. อบั ดุลลอฮฺ บิน อลั วะลีด อลั อะดานีย์ 36. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อาบี บกั ร อลั มูลยั กีย์ 37. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อลั หะสนั บิน อลั กฺอซิม อลั ฆอสสานีย์ อลั อซั รอกฺ 38. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อาบี อซั ซานาด บิน ษกั วาน 39. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน อูมรั อลั อุมะรีย์ 40. อบั ดุลอฺะซีซ บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน อาบี สะละมะฮฺ 41. อบั ดุลอฺะซีซ บิน มูหมั มดั อลั ดะวรุ ดีย์ 42. อบั ดุลมะญีด บิน อบั ดุลอาซีซ บิน อาบีเราวว์ าด 43. อบั ดุลการีม บิน มหู มั มดั อลั คูรอสานีย์ 44. อบั ดุลมาลิก บิน อลั วาลีด 45. อบั ดุลวะฮฺฮาบ บิน อบั ดุลมะญีด อษั ษากอฟี ย์ 46. อีฏอฟ บิน คอลิด 47. อูมรั บิน อบั ดุรเราะห์มาน บิน มูหยั ศอน 48. อมั ร์ บิน ฮะบีบ

29 49. อมั ร์ บิน อาบี สาลามะห์ 50. อมั ร์ บิน ยะห์ยา บิน อมั ร์ บิน สะอิด อลั อูมาวยี ์ 51. อลั ฟุฎอยล์ บิน อียาฎ 52. อลั กฺอซิม บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน อูมรั อลั อมู ารีย์ 53. มาลิก บิน อานสั 54. มหู มั มดั บิน อิสมาอีล บิน อาบี ฟูดยั ก์ 55. มหู มั มดั บิน อลั หะสัน อชั ชยั บานีย์ 56. มหู มั มดั บิน คอลิด อลั ญุนดีย์ 57. มูหมั มดั บิน อลั อบั บาส อชั ชาฟี อีย์ 58. มูหมั มดั บิน อบั ดุลลอฮฺ อลั อนั ศอรีย์ 59. มหู มั มดั บิน อุษมาน บิน อาบี ศอฟวาน 60. มหู มั มดั บิน อาลี บิน ชาฟิ อฺ 61. มหู มั มดั บิน อูมรั อลั วากีดีย์ 62. มหู มั มดั บิน ยาซีด อลั วาสีฏีย์ 63. มรั วาน บิน มูอาวยี ะห์ 64. มุสลิม บิน คอลิด อซั เซนญีย์ 65. มูฏอรริฟ บิน มาซิน อศั ศอนอานีย์ 66. มูอาซ บิน มูสา อลั ญะฟารีย์ 67. ฮีชาม บิน ยสู ุฟ อศั ศอนอานีย์ 68. วากีอ์ บิน อลั ญรั รอหฺ 69. ยะห์ยา บิน ฮิสาน 70. ยะห์ยา บิน สะอีด อลั กอฏฏอน 71. ยะห์ยา บิน สูลยั ม์ อลั มกั กีย์ 72. ยาซีด บิน อบั ดุลมาลิก อลั เนาฟาลีย์ 73. ยะกบู บิน ฟะศอ 74. ยสู ุฟ บิน อลั อสั วดั 75. ยสู ุฟ บิน คอลิด อสั สัมตีย์ 76. ยสู ุฟ บิน อมั ร์ 77. ยสู ุฟ บิน ยะกบู บิน อลั มาญีชูน 78. อิบนู อาบี อลั กินาน อลั คูซาอีย์

30 2.3 การสอนและเหล่าลูกศิษย์ของท่าน 2.3.1 การสอน อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ริ่มตน้ ทาการสอนอยา่ งจริงจงั ช่วงที่ทา่ นเป็นผชู้ ่วยใหก้ บั อิมาม มาลิกซ่ึงตอนน้นั ทา่ นมีอายุ 29 ปี และขณะน้นั ทา่ นเป็นนกั ฟิ กฮฺท่ีโด่งดงั มีลูกศิษยจ์ ากที่ต่างๆมา ศึกษาเล่าเรียน นอกจากทา่ นเป็นนกั นิติศาสตร์อิสลามแลว้ ทา่ นยงั เป็นคนหน่ึงท่ีมีความเช่ียวชาญใน ดา้ นการตฟั ซีรอลั กรุ อาน วชิ าท่ีเก่ียวขอ้ งกบั หะดีษ ภาษา และวรรณกรรมอาหรับ วชิ าฟาลกั อศู ูลฟิ ก ฮฺและวชิ าประวตั ิศาสตร์ ทา่ นเป็นคนหน่ึงที่มีความชานาญการทางดา้ น กีรออาต และท่านยงั อา่ นอลั กรุ อานไดไ้ พเราะอีกดว้ ย ช่วงท่ีท่านอยใู่ นเยเมนซ่ึงท่านมีหนา้ ที่เป็นที่ปรึกษาในดา้ นฮุกม ชารีอตั ใหก้ บั ผวู้ า่ การเมืองเยเมน ทา่ นกถ็ ือโอกาสสอนผคู้ นที่น้นั ดว้ ย ทา่ นอยใู่ นเยเมนในช่วงระยะเวลาหน่ึง ท่าน โดนใส่ร้ายวา่ ก่อกบฎกบั รัฐบาลฮารูนอรั รอชีดและถูกนาตวั ไปยงั เมือง บฆั ดาด แต่ในท่ีสุดก็ถูก ปล่อยตวั ออกมาเน่ืองจากทา่ นไมไ่ ดก้ ระทาผดิ จากน้นั ท่านก็ถูกเชิญใหท้ าการสอนที่บฆั ดาด ดว้ ย เช่นกนั เม่ือเคราะห์ร้ายไดผ้ า่ นพน้ ไป อิมาม อชั ชาฟี อียก์ เ็ ดินทางกลบั นครมกั กะฮฺ และ เร่ิมทาการสอนในมสั ยดิ หะรอมใกลก้ บั บ่อน้าซมั ซมั ใกลก้ บั วง ฮลั เกาะห์อาจารยข์ องท่านซุฟยาน บินอูยยั นะห์ ฮั ลเกาะฮข์ องอิมาม อชั ชาฟี อียเ์ ป็นท่ีสนใจจากผคู้ น เม่ือใดกต็ ามท่ีไดฟ้ ังความ สละสลวยทางวชิ าการที่ทา่ นไดส้ อน ดงั น้นั จึงมีผคู้ นที่มารับฟัง และเรียนจากทา่ น เพ่มิ ข้ึนเรื่อยๆ จนฮลั เกาะห์ของท่านขยายใหญ่และเขา้ ใกลก้ บั อลั เกาะห์ของซุฟยาน บิน อซู ยั นะห์ เขา้ ทุกที ผเู้ ป็น อาจารยก์ ็ไมไ่ ดอ้ ึดอดั ใจอะไร แถมยงั ไดส้ รรเสริญ และขอพรใหอ้ ิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดร้ ับผลบุ ญและ ไดร้ ับความจาเริญตลอดไป ทา่ นซุฟยานบินอยู ยั นะห์ กล่าววา่ “ ขอใหอ้ ลั ลอฮฺ ทรงโปรดตอบแทน ความดี ใหช้ ายหนุ่มคนน้ีดว้ ยเถิด‛ ในช่วงฤดูกาลฮจั ยผ์ คู้ นท่ีมาทาฮจั ยจ์ ะถือโอกาส เขา้ ไปนง่ั ฟัง การสอนของอิมามอชั ชาฟี อียแ์ ละเม่ือพวกเขากลบั ไปยงั ประเทศของพวกเขาแลว้ ก็จะเผยแพร่ ความรู้ของอิมามอชั ชาฟี อียภ์ ายในตวั ทาใหช้ ื่อเสียงชองทา่ นขจรจายไปทว่ั ทุกสารทิศ ( Hamzah al- Nashratiy : 202 ) ทา่ นใชเ้ วลา 17 ปี ในการสอน ณ. นครมกั กะฮฺ นอกจากน้นั ทา่ นยงั แตง่ หนงั สืออีก ดว้ ย ในสมยั การปกครองของ อลั มะมูน (198-218H/813-833M) ทา่ นเดินทางมายงั บฆั ดาด(เป็นการเดินทางยงั อิรักคร้ังท่ี 2) และทา่ นไดร้ ับการตอ้ นรับดว้ ยดี และถูกจดั สถานที่สาหรับให้ ท่านทาการสอนในมสั ยดิ บฆั ดาด ซ่ึงในมสั ยดิ น้นั มี 20 ฮาลาเกาะห์ของการเรียนการสอน เมื่ออิ มามอชั ชาฟี อียเ์ ร่ิมทาการสอน ฮาลาเกาะห์ส่วนใหญ่เหล่าน้นั ก็มารวมตวั กบั ฮาลาเกาะห์ของอิ มามอชั ชาฟี อียจ์ นในท่ีสุดฮาลาเกาะห์อ่ืนๆเหลือเพียง 3 ฮาลาเกาะห์เท่าน้นั

31 หลงั จากน้นั ท่านไดเ้ ดินทางไปยงั อียปิ ตต์ ามคาเชิญของผวู้ า่ การเมืองอียปิ ต์ ณ.ท่ี น้นั ท่านไดท้ าการสอนในมสั ยดิ อมั รู บิน อลั -อาศ อรั รอบีอฺ บินสุไลมานไดเ้ ล่าถึงการสอนของอิ มามอชั ชาฟี อียใ์ นมสั ยดิ อมั รู บิน อลั -อาศ วา่ อิมาม อชั ชาฟี อียจ์ ะนง่ั สอนในมจั ลิสของท่านเป็น ประจา หลงั ละหมาดซุบฮีย ทา่ นจะเร่ิมสอนอลั กุรอ่าน ในช่วงแรกน้ีจะมีผเู้ รียนอลั กุรอานมาเรียน กบั ทา่ นเมื่อดวงอาทีตยข์ ้ึนพวกเขากจ็ ะลุกข้ึน หลงั จากน้นั ผเู้ รียนอลั หะดิษก็จะมานงั่ เรียนตอ่ เม่ือ ดวงอาทีตยข์ ้ึนไดใ้ นระดบั หน่ึงพวกเขาก็จะลุกข้ึนแลว้ ต้งั วงลอ้ มกนั เพือ่ ทบทวนความรู้ท่ีเรียนมาเม่ือ ถึงเวลาสายพวกเขาแย กยา้ ยกนั ไปแลว้ บรรดาผเู้ รียนภาษาอาหรับ หลกั ภาษาอาหรับ บทกลอนและ ฉนั ทลกั ณ์กจ็ ะมาเรียนต่อและเรียนไปเรื่อยๆ เมื่อใกลเ้ ที่ยงอิมามอชั ชาฟี อียก์ จ็ ะเลิกแลว้ ลุกออกไป ( Abd al-Ghani al-Daqr , 2005 : 163 ) อิมามอชั ชาฟี อียส์ อนอยอู่ ยา่ งน้ีเป็น กิจวตั รประจาวนั จน กระท้งั ทา่ นไดเ้ สียชีวติ ลง 2.3.2 เหล่าลูกศิษย์ อิบนุหะญรั อลั อสั กอลานีย์ ( 1310 H : 79 ) ไดร้ วบรวมรายช่ือเหล่าลูกศิษย์ของอิ มามอชั ชาฟี อียเ์ ทา่ ที่รวบรวมไดซ้ ่ึงที่จริงแลว้ มีมากกวา่ น้ี ในหนงั สือของทา่ น Tawali al-Ta'sis bi Maali Ibn Idris 1. อะห์มดั บิน อลั หญั ญาจญ์ อลั มะรูซีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบคู อรีย)์ 2. อะห์มดั บิน คอลิด บิน อลั คอลลาล อลั บฆั ดาดีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามติร มีษียแ์ ละอิมามนาสาอีย)์ 3. อะห์มดั บิน สะอีด บิน บะชีร อลั ฮามาษานีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอาบูดา วดู ) 4. อะห์มดั บิน ซีนาน บิน อลั กฺอฏฏอน (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย์ อิมาม มุสลิมและอิมามอาบูดาวดู ) 5. อะห์มดั บิน อศั ศอบาห์ บิน อาบี สูรัยจญ์ อรั รอซีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิ มามบูคอรียแ์ ละอิมามอาบดู าวดู ) 6. อะห์มดั บิน อบั ดุลลอฮฺ อลั มกั กีย์ 7. อะห์มดั บิน อบั ดุรเราะห์มาน บิน วะฮฺบ์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิมและอิ มามอิบนูคูซยั มะห์) 8. อะห์มดั บิน อมั ร์ บิน อสั สัรห์ อาบู อฏั ฏอฮิร อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิ มามมุสลิมและอิมามอาบดู าวดู ) 9. อะห์มดั บิน มหู มั มดั บิน ฮมั บลั อชั ชยั บานีย์

32 10. อะห์มดั บิน มหู มั มดั บิน สะอีด บิน ญิบละห์ อศั ศอยรอฟี ย์ อลั บฆั ดาดีย์ 11. อะห์มดั บิน มูหมั มดั บิน อลั กฺอซิม 12. อะห์มดั บิน มหู มั มดั บิน อาบี บซั ซะฮฺ 13. อะห์มดั บิน มหู มั มดั บิน อลั วะลีด อลั อซั รอกีย์ อลั มกั กีย์ (เป็นอาจารย์ ของอิมามบูคอรีย)์ 14. อะห์มดั บิน อาบีมูสา มิศรีย์ 15. อะห์มดั บิน ยะห์ยา บิน อบั ดุลอฺะซีซ อาบู อบั ดุรเราะห์มาน อชั ชาฟี อีย์ 16. อะห์มดั บิน ยะห์ยา บิน อลั วะซีร อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอลั นาสา อีย)์ 17. อิบรอฮีม บิน อาบี หยั ยะฮฺ อลั มกั กีย์ 18. อิบรอฮีม บิน คอลิด อลั กลั บีย์ อาบูเษาร์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิมและอิ มามอาบูดาวดู ) 19. อิบรอฮีม บิน สูรอเกฺาะห์ 20. อิบรอฮีม บิน อบั ดุลลอฮฺ อลั หจั ญบ์ ีย์ อลั มกั กีย์ 21. อิบรอฮีม บิน อีซา บิน อาบี อยั ยบู 22. อิบรอฮีม บิน มหู มั มดั บิน อยั ยบู อลั บศั รีย์ 23. อิบรอฮีม บิน มูหมั มดั อลั กฟู ี ย์ 24. อิบรอฮีม บิน มูหมั มดั บิน อลั อบั บาส บิน มูหมั มดั บิน อาลี อชั ชาฟี อีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอิบนูมาญะห์) 25. อิบรอฮีม บิน มหู มั มดั บิน ฮะรอม อลั มิศรีย์ 26. อิบรอฮีม บิน อลั มุนษิร อลั คูซาอีย์ 27. อิสฮาก บิน อิบรอฮีม อลั มะรูซีย์ (รู้จกั กนั ในนามอิบนูรอฮาวยั ฮ)์ 28. อิสฮาก บิน บะห์ลูล อตั ตะนูคีย์ 29. อิสฮาก บิน ศอฆีร อลั อฏั ฏอร 30. อิสฮาก บิน อีสา บิน อฏั ฏิบาอฺ 31. อะสัด บิน สะอีด บิน กะษีร บิน อูฟัยร์ อลั มิศรีย์ 32. อิสมาอีล บิน อิบรอฮีม บิน ฏอบาบา อลั อาลาวยี ์ อลั มิศรีย์ 33. อิสมาอีล บิน ยะห์ยา อาบู อิบรอฮีม อลั มซู ะนีย์ 34. อิสมาอีล บิน อลั ฮูมยั รีย์ อาบู มหู มั มดั 35. อิสมาอีล อฏั ฏอยยาน อรั รอซีย์

33 36. อชั หบั บิน อบั ดุลอฺะซีซ อลั มิศรีย์ 37. อยั ยบู บิน สูวยั ด อรั รัมลีย์ 38. บหั ร์ บิน นสั ร์ บิน สาบิก อลั เคาลานีย์ อลั มิศรีย์ 39. บิชร์ บิน ฆียาษ อลั มูรีสีย์ 40. อลั ฮาริษ บิน สุรัยจญ์ อลั นกั ฺกฺอล 41. อลั ฮาริษ บิน สุลยั มาน อลั รัมลีย์ 42. หามิด บิน ยะห์ยา อลั บลั คีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอาบดู าวดู ) 43. หรั มาละห์ บิน ยะห์ยา อตั ตะญีบีย์ อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิม) 44. อลั หะสัน บิน อิดรีส บิน ยะห์ยา อลั เคาลานีย์ อลั มิศรีย์ 45. อลั หะสัน บิน อาบี อรั รอบีอฺ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอิบนูมาญะห์) 46. อลั หะสัน บิน อบั ดุลอาซีซ อลั ญรั วยี ์ อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอ รีย)์ 47. อลั หะสัน บิน อุษมาน อซั ซียาดีย์ 48. อลั หะสนั บิน อาลี อลั คอลลาล อลั ฮิลวานีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย์ , มุสลิม,อาบดู าวดู , อตั ติรมีซียแ์ ละอิบนูมาญะห์ ) 49. อลั หะสนั บิน มูหมั มดั บิน อศั ศอบาห์ อซั ซะฟารอนีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิ มามบคู อรีย ,อาบูดาวดู , อตั ติรมีซีย,์ อนั นสาอียแ์ ละอิบนูมาญะห์ ) 50. อลั หุเสน บิน อบั ดุสสลาม อลั มิศรีย์ 51. อลั หุเสน บิน อาลี อลั กอลลาส 52. อลั หุเสน บิน อาลี อลั กะรอบีสีย์ 53. คอลิด บิน นิซาร อลั อยั ลีย์ 54. ดาวดู บิน อาบี ศอลิห อลั มาดานีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอาบดู าวดู ) 55. อลั รอบีอฺ บิน สุลยั มาน บิน ดาวดู อลั ญีซีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามอาบูดา วดู และอนั นสาอีย)์ 56. อลั รอบีอ์ บิน สุลยั มาน บิน อบั ดุลญบั บาร อลั มรู อดีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิ มามอาบดู าวดู , อตั ติรมีซีย,์ อนั นสาอีย์ , อิบนูมาญะห์ , อิบนูคูซยั มะห์ และอิมามทา่ นอื่นๆ) 57. อซั ซุบยั ร์ บิน สุลยั มาน อลั กรู อชีย์ มกั กีย์ 58. ซะกะรียา บิน ยะห์ยา อลั มิศรีย์ 59. ซยั ด์ บิน บิชร์ อลั ฮดั รอมีย์ มิศรีย์ 60. สัรจ์ อลั โฆล อลั มิศรีย์

34 61.สะอีด บิน อะสัด บิน มูสา บิน อิบรอฮีม บิน อลั วะลีด บิน อบั ดุลมาลิก 62. สะอีด บิน อลั ญะหฺม์ บิน นาฟิ อฺ อาบู อุษมาน 63. สะอีด บิน อีสา ตะลีด อรั รออีนีย์ อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบคู อรีย)์ 64. สะอีด บิน กะษีร์ บิน อฟู ัยรฺ อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย)์ 65. สุฟยาน บิน สะอีด อลั ฮะบาบ 66. สุฟยาน บิน อูยยั นะห์ อลั ฮีลาลีย์ 67. สุฟยาน บิน มูหมั มดั อฎั ฎีรอรีย์ 68. สะละมะฮฺ บิน ชาบีบ อนั นยั สาบูรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิม) 69. สุลยั มาน บิน ดาวดู บิน อาลี บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน อบั บาส (เป็นอาจารย์ ของอิมามบคู อรีย)์ 70. สุลยั มาน บิน ดาวดู อชั ชาซกนู ีย์ 71. สุลยั มาน บิน ดาวดู อลั อฏั ฏอร 72. สุลยั มาน บิน อบั ดุลอฺะซีซ บิน อาบี ษาบิต 73. สะฮฺล์ บิน มูหมั มดั อาบู ฮาติม (เป็นอาจารยข์ องอิมามอาบดู าวดู และอนั นาสาอีย)์ 74. สูวยั ดฺ บิน สะอีด อลั -ฮดั ษานีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิม) 75. ศอลิหฺ บิน อาบีศอลิหฺ อบั ดุลลอฮฺ บิน ศอลิฮ อลั -มิศรีย์ 76. อบั บาส บิน อลั -ฟารอจ อรั รียาชีย์ 77. อบั ดุลลอฮฺ บิน อซั ซูบยั ร์ บิน อีซา บิน อบู ยั ดิลละฮฺ อลั ฮูมยั ดีย์ อลั มกั กีย์ 78. อบั ดุลลอฮฺ บิน ศอลิหฺ บิน มูหมั มดั อลั ญุฮะนีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบคู อ รีย)์ 79. อบั ดุลลอฮฺ บิน อบั ดุลฮะกมั บิน อะยนุ อลั มิศรีย์ 80. อบั ดุลลอฮฺ บิน มูหมั มดั บิน อลั อบั บาส บิน อุษมาน อชั ชาฟี อีย์ 81. อบั ดุลลอฮฺ บิน มูหมั มดั บิน อูกยั ล์ อลั บฆั ดาดีย์ 82. อบั ดุลลอฮฺ บิน มูหมั มดั อลั บลั วยี ์ 83. อบั ดุลฮามีด บิน อลั วะลิด บิน อลั มูฆีเราะห์ อลั บศั รีย์ 84. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อิบรอฮีม อลั ซุฮฺรีย์ 85. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อิบรอฮีม อดั ดามชั กีย์ 86. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน ซีวาร อลั อมั บารีย์ อลั บศั รีย์ 87. อบั ดุรเราะห์มาน บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน อบั ดุลฮะกมั บิน อะยนุ อลั มิศรีย์

35 88. อบั ดุรเราะห์มาน บิน มะฮฺดีย์ อลั บศั รีย์ 89. อบั ดุลอฺะซีซ บิน สุลยั มฺ บิน มยั มูน อลั กีนานีย์ 90. อบั ดุลอฺะซีซ บิน อิมรอน บิน มิกฺลาศ อลั คูซาอีย์ อาบู อาลี อลั มิศรีย์ 91. อบั ดุลอฺะซีซ บิน ยะห์ยา อลั มกั กีย์ 92. อบั ดุลฆอนีย์ บิน อบั ดุลอฺะซีซ อลั อสั สาล 93. อบั ดุลฆอนีย์ บิน อาบี อูกยั ล์ อลั อสั สาล (เป็นอาจารยข์ องอิมามอาบดู าวดู ) 94. อบั ดุลกะรีม บิน มูหมั มดั อลั ญุรญานีย์ (เป็นกอฎีมกั กะฮฺ) 95. อบั ดุลมะลิก บิน กอรีบ อลั อศั มูอีย์ 96. อบั ดุลมะลิก บิน ฮีชาม อลั มิศรีย์ 97. อบั ดุสสลาม อลั อฏั ฏอร 98. อบู ยั ดิลละฮฺ บิน อบั ดุลคอลิก อลั มะฮะรีย์ อลั มิศรีย์ 99. อบู ยั ดิลละฮฺ บิน มหู มั มดั บิน ฮารูน 100. อาลี บิน ซยั ดฺ อลั บฆั ดาดีย์ 101. อาลี บิน สุลยั มาน อลั อคั มีนีย์ 102. อาลี บิน สะฮฺล์ อลั มูฆีเราะห์ อรั รัมลีย์ 103. อาลี บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน ญะฟัร อลั มาดีนีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอ รีย)์ 104. อาลี บิน อบั ดุรเราะห์มาน บิน อลั มูฆีเราะห์ อลั มิศรีย์ 105. อาลี บิน มุสลิม อษั ษะกฺอฟี ย์ 106. อาลี บิน มะบดั บิน ชดั ดาด อรั รุกีย์ 107. อาลี อลั อาดมั 108. อมั ร์ บิน คอลิด อลั หรั รอนีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย)์ 109. อมั ร์ บิน อาบี สะละมะฮฺ อตั ตะนีซีย์ 110. อมั ร์ บิน ซูวาด อลั มิศริย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิม) 111. อลั ฟัดล์ บิน ดะกีน อาบู นุอีม (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย)์ 112. อลั ฟัดล์ บิน อรั รอบีอฺ 113. อลั ฟัดล์ บิน สลาม 114. อลั กฺอซิม บิน สลาม อาบู อบู ยั ดฺ 115. กตู ยั บะห์ สะอีด อลั บลั คีย์ (เป็นอาจารยข์ อง 5 อิมาม) 116. กอฮซ์ มั บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน กอฮซ์ มั อลั อสั วานีย์

36 117. กะษีร อาบู นะฮฺชลั 118. อลั ลยั ษ์ บิน อฺาศิม อลั กอตบานีย์ อลั มิศริย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามนาสาอีย)์ 119. มะหฺฟูซฺ บิน อาบี เตาบะฮฺ 120. มหู มั มดั บิน อะห์มดั อลั มิศรีย์ 121. มูหมั มดั บิน บาชีร อชั ชยั บีย์ อลั มกั กีย์ 122. มูหมั มดั บิน อาบี บกั ร์ อลั มกู อดดิมีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย์และ มุสลิม) 123. มหู มั มดั บิน คอลฟั อลั อสั กอลานีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามนาซาอีย์ และอิบนูมาญะห์) 124. มหู มั มดั บิน สะอีด บิน ฆอลิบ อลั อฏั ฏอร (เป็นอาจารยข์ องอิมามอิบนู มาญะห์) 125. มหู มั มดั บิน สะอีด บิน อาบี มรั ยมั อลั มิศรีย์ 126. มูหมั มดั บิน อลั อบั บาส อลั มกั กีย์ 127. มูหมั มดั บิน อบั ดุลลอฮฺ บิน อบั ดุลฮะกมั บิน อะยนุ อลั มิศรีย์ 128. มูหมั มดั บิน อบั ดุรรอฮีม บิน ชะรูส อศั ศอนอานีย์ 129. มูหมั มดั บิน อบั ดุลอฺะซีซ อลั วาซีฏีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามบูคอรีย)์ 130. มหู มั มดั บิน อาบี อมั ร์ 131. มหู มั มดั บิน อบั ดุลลอฮฺ อลั มคั ซะมีย์ (เป็นกอฎีท่ีฮิลวานและเป็นอาจารย์ ของอิมามบูคอรีย)์ 132. มูหมั มดั บิน กฏุ น์ 133. มหู มั มดั บิน มูหมั มดั บิน อิดริส อาบู อุษมาน 134. มหู มั มดั บิน มูฮาญิร 135. มูหมั มดั บิน มซู า 136. มูหมั มดั บิน ยะห์ยา บิน ฮสั สาน อตั ตะนีซีย์ 137. มูหมั มดั บิน ยะห์ยา บิน มหู มั มดั อลั วาซีร 138. มหู มั มดั บิน ยะห์ยา บิน อาบี อมู รั อลั อาดานีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมาม มุสลิม) 139. มูหมั มดั บิน ยะห์ยา บิน อาบี ยะกบู อดั ดีนูรีย์ 140. มสั อูด บิน สะฮฺล์ 141. มุสลิม บิน คอลิด อซั ซนั ญีย์

37 มีษีย)์ 142. มศั อบั บิน อบั ดุลลอฮฺ อซั ซูบยั ร์ 143. มูซา บิน อาบี อลั ญารูด อาบู อลั วะลีด อลั มกั กีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามติร มามนาสาอีย)์ ฮาติม) 144. นสั รฺ อลั มกั กีย์ 145. นะมีร บิน สะอีด 146. ฮารูน บิน สะอีด อลั อยั ลีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิม) 147. ฮารูน บิน อบั ดุลลอฮฺ อซั ซุฮรีย์ อลั กอฎีย์ 148. ฮารูน บิน มหู มั มดั 149. อลั วะลีด บิน มุสลิม 150. วะฮฺบ์ บิน ริซก์ 151. วะฮฺบ์ บิน รอชิด 152. ยาซีน บิน อบั ดุลอะฮดั บิน อาบี ซูรอเราะห์ อลั มิศรีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิ 153. ยะห์ยา บิน อกั ษมั อลั กอฎีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามติรมีษียแ์ ละอิมามอาบี 154. ยะห์ยา บิน ซะกะรียา อลั อูมาวยี ์ 155. ยะห์ยา บิน สะอีด อลั กอฏฏอน อลั บศั รีย์ 156. ยะห์ยา บิน อบั ดุลลอฮฺ อลั คอษอามีย์ 157. ยสู ุฟ บิน อมู รั บิน ยาซีด บิน ยสู ุฟ อลั มิศรีย์ 158. ยสู ุฟ บิน ยะห์ยา อาบู ยะกบู อลั บวู ยั ฏีย์ 159. ยสู ุฟ บิน ยาซีด อลั กอรอฏีซีย์ (เป็นอาจารยข์ องอิมามนาสาอีย)์ 160. ยสู ุฟ บิน ยะกบู (กอฎียม์ กั กะฮฺ) 161. ยนู ุส บิน อบั ดุลอะลา (เป็นอาจารยข์ องอิมามมุสลิม) 162. อาบู ชูอยั บฺ อลั มิศรีย์ 163. อาบู มรั วาน บิน อาบี อลั คะศีบ 2.4 ตาราและผลงานทางวชิ าการของท่าน อบั ดุลลอฮฺ อลั วยี ์ หะยี หะสัน ( 1989 : 270 )ไดร้ วบรวมรายช่ือตาราต่างๆของอิ มามอชั ชาฟี อียซ์ ่ึงมีดงั น้ี 1 Kitab al-Hujjah )‫(وزبة الحجخ‬

38 2.Kitab al-Mabsut )‫(وزبة الدجغىط‬ 3. Kitab al-Um ) َ‫(وزبة الأ‬ 4. Kitab Ahkam al-Qur’an ) ْ‫(وزبة أدىبَ اٌمشآ‬ 5. Kitab al-Shurat ) ‫(وزبة اٌششط‬ 6. Kitab al-Wasaya ) ‫(وزبة اٌىصبَب‬ 7. Kitab Fada’il Quraisy ) ‫(وزبة فضبئً لشَش‬ 8. Kitab al-Figh al-Akbar ) ‫(وزبة اٌفمٗ الأوبر‬ 9. Kitab Sifat al-Amr wa al-Nahyi ) ٍ‫(وزبة صفخ الأِش وإٌه‬ 10. Kitab al-Risalah ) ‫(وزبة اٌشعبٌخ‬ 11. Kitab al-Imla’ al-Saqhir ) ‫(وزبة الإِلاء اٌصغًن‬ 12. Kitab al-Amali al-Kubra ) ‫(وزبة الأِبلي اٌىبري‬ 13. Kitab al-Mukhtasar al-Kabir wa Kitab al-Mukhtasar al-Saghir 14. Kitab al-Hukm fi Tarik al-Solat ) ‫(وزبة الحىُ في ربسن اٌصلاح‬ 15. Kitab al-Solat al-Wajibah wa al-Tatawuo’ wa al-Siyam 16. Kitab al-Zakat al-kabir ) ‫( وزبة اٌضوبح اٌىجًن‬ 17.Kitab Zakat al-fitr ) ‫(وزبة صوبح اٌفغش‬ 18.Kitab Zakat Mal al-Yatim ) ُُ‫(وزبة صوبح ِبي اٌُز‬ 19. Kitab al-Siyam al-Kabir ) ‫( وزبة اٌصُبَ اٌىجًن‬ 20.Kitab al-Manasik al-Kabir ) ‫( وزبة الدٕبعه اٌىجًن‬ 21. Kitab al-Manasik al-Awsat ) ‫(وزبة الدٕبعه الأوعظ‬ 22. Kitab Mukhatasar al-Manasik ) ‫(وزبة لسزصش الدٕبعه‬ 23. Kitab al-Buyu‘u al-Kabir ) ‫( وزبة اٌجُىع اٌىجًن‬ 24. Kitab al-Sarf wa al-Tijarah ) ‫(وزبة اٌصشف واٌزجبسح‬ 25.Kitab al-Ijarat al-Kabir ) ‫( وزبة الإجبسح اٌىجًن‬ 26.Kitab Kary al-Ibil wa al-Rawahil ) ً‫(وزبة وشٌ الإثً واٌشواد‬ 27. Kitab al-Ijarat Imla ) ً‫( وزبة الإجبساد إِلاء‬ 28.Kitab Ikhtilaf al-Ajir wa al-Musta’ jir ) ‫(وزبة اخزلاف الأجًن والدغزأجش‬

39 29.Kitab al-Iqrar wa al-Mawahib ) ‫(وزبة الإلشاس والدىا٘ت‬ 30.Kitab Radd al-Mawarith ) ‫(وزبة سد الدىاسَش‬ 31.Kitab al-Nafaqah ala al-Aqarib ) ‫(وزبة إٌفمخ ػًٍ الألبسة‬ 32.Kitab al-Wasaya al-Kabir ) ‫(وزبة اٌىصبَب اٌىجًن‬ 33.Kitab al-Wasya bi al-Itq ) ‫(وزبة اٌىصبَب ثبٌؼزك‬ 34. Kitab al-Wasiyyah li al-Warith ) ‫(وزبة اٌىصُخ ٌٍىاسس‬ 35. Kitab al-Jinayah’ ala Umm al-Wakad ) ‫(وزبة الجٕبَخ ػًٍ أَ اٌىٌذ‬ 36. Kitab Tahrim ma Yajma ‘ min al-nisa ) ‫(وزبة تحشيم ِٓ يجّغ ِٓ إٌغبء‬ 37. Kitab al-Istihqaq ) ‫(وزبة الإعزذمبق‬ 38.Kitab Iqrar Ahad al-Ibnayn bi Akh ) ‫(وزبة الشاس أدذ الإثٌٕن ثأر‬ 39.Kitab al-Qasamah ) ‫(وزبة اٌمغبِخ‬ 40.Kitab Bay’ al-Masahif ) ‫(وزبة ثُغ الدصبدف‬ 41.Kitab Khata’ al-Tabib ) ‫(وزبة خغأ اٌغجُت‬ 42.Kitab Jinayat Mu’allim al-Kuttab ) ‫(وزبة جٕبَخ ِؼٍُ اٌىزبة‬ 43.Kitab Jinayat al-Baytar wa al-Hajiam ) َ‫(وزبة جٕبَخ اٌجُغبس والحجب‬ 44.Kitab Istidam al-Farasain wa al-Nafsain ) ‫(وزبة اصغذاَ اٌفشعٌن وإٌفغٌن‬ 45.Kitab Usul al-Fahl ) ً‫(وزبة أصىي اٌفذ‬ 46.Kitab al-Hawalah wa al-Kafalah ) ‫(وزبة الحىاٌخ واٌىفبٌخ‬ 47.Kitab Kara al-Ard ) ‫(وزبة وشي الأسض‬ 48.Kitab Fard al-Sadaqah ) ‫( وزبة فشض اٌصذلخ‬ 49.Kitab al-Diyat ) ‫( وزبة اٌذَبد‬ 50. Kitab al-Jihad ) ‫( وزبة الجهبد‬ 51. Kitab al-Khars ) ‫( وزبة الخشص‬ 52. Kitab ’Imarat al-Aradin ) ‫( وزبة ػّبسح الأساضٌن‬ 53. Kitab al-‘Uqul ) ‫( وزبة اٌؼمىي‬ 54. Kitab al-Awliya ) ‫( وزبة الأوٌُبء‬ 55. Kitab Sahib al-Ra’y ) ٌ‫( وزبة صبدت اٌشأ‬

40 56. Kitab Habal al-habalah ) ‫( وزبة دجً الحجٍخ‬ 57. Kitab Qatta’ al-Tariq ) ‫( لغبع اٌغشَك‬ 58.Kitab al-Wasaya al-Kabir ) ‫(وزبة اٌىصبَب اٌىجًن‬ 59.Kitab al-Iqrar b al-Hukm al-Zahir ) ‫(وزبة الإلشاس ثبلحىُ اٌظب٘ش‬ 60.Kitab al-Ajnas ) ‫(وزبة الأجٕبط‬ 61.Kitab Itba’ Amr Rasul Allah s. a.w. 62.Kitab Mas’alat al-Janin ) ‫(وزبة ِغأٌخ الجٌٕن‬ 63.Kitab Wasiyyat al-Syafi’i ) ٍ‫(وزبة وصُخ اٌشبفؼ‬ 64.Kitab Dhaba’ih Bani Isra’il ) ًُ‫(وزبة رثبئخ ثنى اعشائ‬ 65.Kitab Ghusl al-Mayyit ) ‫(وزبة غغً الدُذ‬ 66.Kitab Ma Yanjus al-Ma’ Mimma Khalathu ) ٗ‫(وزبة ِب َٕجظ الدبء لشب خٍغ‬ 2.5 บุคลกิ ภาพของท่าน 2.5.1 อุปนิสัยใจคอ อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นท่ีรู้จกั วา่ ท่านเป็นคนที่เรียบง่ายและอยอู่ ยา่ งพอเพียงไม่วา่ จะ เป็นการกิน การแตง่ กาย และท่ีอยอู่ าศยั ทา่ นจะกินอาหารแตพ่ อดีเพราะทา่ นเห็นวา่ การกินมากๆน้นั จะนามาซ่ึงคุณลกั ษณะของความเกียจคร้าน ถึงแมว้ า่ ท่านจะไมใ่ ช่คนรวยแต่ทา่ นชอบบริจาคทาน เม่ือใดก็ตามที่ทา่ นไดร้ ับเงินมาคนจนและผขู้ ดั สนก็จะไดร้ ับการบริจาคทานจากท่านเสมอ คร้ังหน่ึง มีคนมาถามอรั รอบีอฺวา่ ‚ การแต่งกายของอิมาม อชั ชาฟี อียเ์ ป็นอยา่ งไรบา้ ง ทา่ นตอบวา่ การแตง่ กาย ของท่านน้นั ทา่ นจะแต่งแบบง่ายๆ อรั รอบีอฺกไ็ ดเ้ ล่าแก่คนน้นั ไปเร่ือยๆจนกระท้งั ทา่ นกล่าววา่ ไมม่ ี วนั ใดที่มาเยอื นอิมามอชั ชาฟี อียน์ อกจากวา่ ท่านน้นั จะบริจาคทานใหแ้ ก่ผคู้ น ทา่ นจะบริจาคท้งั กลางวนั และกลางคืนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเดือนรอมฏอน ท่านจะคน้ หาคนยากจนขดั สนและคน ออ่ นแอเป็นประจาสม่าเสมอเพือ่ บริจาคใหแ้ ก่คนเหล่าน้นั ( Ibn Hajar al-Asqalaniy ,1310 H. : 68 ) 2.5.2 ความฉลาด ความฉลาดเป็นคุณลกั ษณะท่ีเกิดมาต้งั แต่กาเนิดความฉลาดคือความหลกั แหลม และความรวดเร็วในการเขา้ ใจตรงกนั ขา้ มกบั ความฉลาดคือความโง่

41 ซุลนูน กล่าววา่ ใครท่ีมีคุณลกั ษณะ 5 ประการน้ีในตวั ของเขาแน่นอนเขาจะไดร้ ับ ความสุขถึงแมว้ า่ เขาจะไดร้ ับมนั ก่อนตายเพียง 2 ชว่ั โมงก็ตาม สิ่งน้นั คืออะไร ? มารยาทที่มน่ั คง วญิ ญาณที่วอ่ งไว สมองที่ปราดเปร่ือง เตาฮีด(เอกภาพ)ที่บริสุทธ์ิ ( Ibn al- Jauziy , n.d.: 14 ) ส่ิงที่ยนื ยนั ถึงความฉลาดของอิมามอชั ชาฟี อียค์ ือความสามารถของทา่ นในการ ทอ่ งจาอลั กรุ อานไดท้ ้งั เล่มในขณะที่ท่านอายเุ พียง 7 ปี ท่องจาตารามูวฎั เฎาะไดท้ ้งั เล่มเม่ืออายุ 10 ปี ความรอบรู้ในภาษาและทอ่ งจาบทกลอนฮซู ยั ลฺ และบทกลอนอ่ืนๆอีกมากมายในช่วงท่ีทา่ นยงั เยาวว์ ยั สิ่งเหล่าน้ีเป็นของขวญั ท่ีอลั ลอฮฺ ไดป้ ระทานใหก้ บั ท่านซ่ึงไมส่ ามารถทาไดน้ อกจากมนุษย์ บางคนเท่าน้นั ( Hamzah al-Nashratiy, n.d.: 177 ) ต่อไปน้ีเป็นหน่ึงในหลายๆตวั อยา่ งของการโตว้ าที(มนู าซอเราะห์)ของทา่ นที่บ่ง บอกถึงมนั สมองที่หลกั แหลมและชาญฉลาดของท่าน ‫لبي اٌشبفؼٍ \" وزجذ وزت لزّذ ثٓ الحغٓ وػشفذ لىلذُ ووبْ إرا لبَ ٔبظشد‬ \" ٗ‫أصذبث‬ \" ‫فمبي لي راد َىَ في اٌغضت \" ثٍغني أٔه تخبٌفٕب‬ \" ‫لٍذ \" إنمب رٌه شٍء ألىٌٗ ػًٍ الدٕبظشح‬ \" ‫فمبي \" لذ ثٍغني غًن٘زا فٕبظشني‬ \" ‫فمٍذ \" إني أجٍه وأسفؼه ػٓ الدٕبظشح‬ ‫فمبي \" لاثذ ِٓ رٌه \" فٍّب أبى‬ \" ‫لٍذ \" ٘بد‬

‫‪42‬‬ ‫لبي \" ِب رمىي في سجً غصت ِٓ سجً عبجخ فجنى ػٍُٗ ثٕبء أٔفك ػٍُهب أٌف دَٕبس فجبء‬ ‫صبدت اٌغبجخ فثّجذ ثشب٘ذَٓ ػذٌٌن أْ ٘زا اغزصجٗ ٘زٖ اٌغبجخ وثني ػٍُهب ٘زا اٌجٕبء ِب وٕذ‬ ‫تحىُ فُهب ؟‬ ‫لٍذ \" ألىي ٌصبدت اٌغبجخ يجت أْ رأخز لُّزهب فئْ سضٍ دىّذ ٌٗ ثبٌمُّخ وإْ أبى إلا‬ ‫عبجزٗ لٍؼذ اٌجٕبء وسددد عبجزٗ \"‬ ‫فمبي لي\" ِب رمىي في سجً غصت ِٓ سجً خُظ إثشَغُ فخبط ثٗ ثغٕٗ فجبء صبدت الخُظ فثّجذ‬ ‫ثشب٘ذَٓ ػذٌٌن أْ ٘زا اغزصجٗ ٘زا الخُظ فخبط ثٗ ثغٕٗ أوٕذ رٕضع الخُظ ِٓ ثغٕٗ ؟‬ ‫فمٍذ \" لا \"‬ ‫لبي \" الله أوبر رشوذ لىٌه \" ولبي أصذبثٗ \" رشوذ لىٌه \"‬ ‫فمٍذ \" لا رؼجٍىا أخبروني ٌى أٔٗ لم َغصت اٌغبجخ ِٓ أدذ وأساد أْ َمٍغ اٌجٕبء ػٕهب وَجني غًنٖ‬ ‫أِجبح ٌٗ ؟ أَ لزشَ ػٍُٗ ؟‬ ‫لبٌىا \" ثً ِجبح ٌٗ \"‬ ‫لٍذ \" أفشأَذ ٌى وبْ الخُظ خُظ ٔفغٗ فأساد أْ َٕضع ٘زا الخُظ ِٓ ثغٕٗ أِجبح ٌٗ أَ لزشَ ػٍُٗ ؟‬ ‫لبٌىا \" ثً لزشَ ػٍُٗ \"‬ ‫لٍذ \" فىُف رمُظ ِجبدب ػًٍ لزشَ ؟!‬ ‫ثم لبي \" أسأَذ ٌى أْ سجلا اغزصت ِٓ سجً عبجخ وأدخٍٗ في عفُٕزٗ ولجج في اٌجذشفثّجذ صبدت‬ ‫اٌٍىح ثشب٘ذَٓ ػذٌٌن أْ ٘زا اغزصجٗ ٘زا اٌٍىح وأدخٍٗ في عفُٕزٗ أوٕذ رٕضع اٌٍىح ِٓ اٌغفُٕخ ؟‬

‫‪43‬‬ ‫لٍذ \" لا \"‬ ‫لبي \" الله أوبر رشوذ لىٌه \" ولبي أصذبثٗ \" رشوذ لىٌه \"‬ ‫فمٍذ \" أسأَذ ٌى وبْ اٌٍىح ٌىح ٔفغٗ ثم أساد أْ َٕضع رٌه اٌٍىح ِٓ اٌغفُٕخ دبي وىنهب في لجخ‬ ‫اٌجذش أِجبح رٌه ٌٗ ؟ أَ لزشَ ػٍُٗ ؟‬ ‫لبي \" لزشَ ػٍُٗ \"‬ ‫لبي ووُف َصٕغ صبدت اٌغفُٕخ ؟‬ ‫لٍذ \" آِشٖ أْ َمشة عفُٕزٗ إلى ألشة الدشاعٍ ِشعً لا َهٍه فُٗ ٘ى ولا أصذبثٗ ثم أٔضع اٌٍىح‬ ‫وأدفؼٗ إلى صبدجٗ وألىي ٌٗ أصٍخ عفُٕزه وار٘ت \"‬ ‫لبي لزّذ ثٓ الحغٓ ‪ -‬فُّب يحزج ثٗ – \" أٌُظ لذ لبي إٌبي صًٍ الله ػٍُٗ وعٍُ لا ضشس ولا‬ ‫ضشاس \"‬ ‫لٍذ \" ٘ى أضشثٕفغٗ لم َضش ثٗ أدذ \"‬ ‫ثم لٍذ ٌٗ \" ِب رمىي في سجً اغزصت ِٓ سجً جبسَخ فأوٌذ٘ب ػششح وٍهُ لذ لشأوا اٌمشاْ‬ ‫وخغجىا ػًٍ الدٕبثش ولضىا ثٌن إٌبط فثّجذ صبدت الجبسَخ ثشب٘ذَٓ ػذٌٌن أْ ٘زا اغزصجٗ ٘زٖ‬ ‫الجبسَخ وأوٌذ٘ب ٘ؤلاء الأولاد فٕٕشذره ِب وٕذ تحىُ ؟‬ ‫لبي \" وٕذ أدىُ ثأولادٖ سلُمب ٌصبدت الجبسَخ وأسد الجبسَخ ػٍُٗ \"‬ ‫فمٍذ سحمه الله أَهّب أػظُ ضشسا إْ سددد أولادٖ سلُمب أو إْ لٍؼذ اٌجٕبء ػٓ اٌغبجخ ؟!!‬ ‫) ‪( Abd al-Ghani al-Daqr , 2005 : 242-245‬‬

44 อิมามอชั ชาฟี อียก์ ล่าววา่ ฉนั ไดบ้ นั ทึกตาราต่างๆ ของมหู มั มดั บิน อลั หะสัน และฉนั กไ็ ดร้ ู้ถึงคาพดู ของพวกเขาและโดยปกติแลว้ เมื่อเขา(มูหมั มดั บินอลั หะสนั ) ลุกข้ึน (ออกไป จากวงเสวนา) ฉนั ก็จะโตแ้ ยง้ กบั เพือ่ นๆ ของพวกเขา วนั หน่ึงเขามาบอกกบั ฉนั ดว้ ยความโมโหวา่ \" ฉนั ไดข้ า่ ววา่ เจา้ น้นั มีความเห็นที่แตกต่างกบั พวกเรา\" ฉนั ก็ตอบวา่ \" แทจ้ ริงแลว้ สิ่งน้นั เป็นส่ิงที่ฉนั พดู ในการโตว้ าทีเทา่ น้นั \" เขาก็กล่าววา่ \" แต่ที่ฉนั ไดข้ ่าวมามนั ไม่ใช่อยา่ งน้นั เจา้ ตอ้ งลองโตว้ าทีโตต้ อบกบั ฉนั \" ฉนั ตอบวา่ \"แทจ้ ริงฉนั ใหเ้ กียรติกบั ทา่ น และฉนั ยกท่านออกจากการโตว้ าที (ไมโ่ ตว้ าทีดว้ ย เพราะใหเ้ กียรติกบั ผทู้ ่ีอวโุ สกวา่ ) \" เขาบอกวา่ \" แตม่ นั จาเป็นตอ้ งมีการเสวนาโตต้ อบกบั เจา้ \" เม่ือเขาไมย่ อมฉนั กก็ ล่าววา่ \" จงเอามา\" (เอาประเดน็ ปัญหาท่ีจะโตว้ าทีมา) เขาถามวา่ \"เจา้ จะวา่ อยา่ งไรกบั ชายคนหน่ึงท่ีขโมยไมส้ กั จากชายอีกคนหน่ึงแลว้ ใชไ้ มส้ ักน้นั ใน การสร้างอาคารและไดใ้ ชจ้ ่ายในการก่อสร้างเป็นเงิน 1000 ดีนรั หลงั จากน้นั เจา้ ของไมส้ ักน้นั ไดม้ า หาเขาพร้อมกบั ไดย้ นื ยนั ดว้ ยพยาน 2 คน ท่ียตุ ิธรรม แทจ้ ริงแลว้ ชายคนน้ีไดข้ โมยไมส้ ักน้นั แลว้ ใช้ มนั ในการสร้างเป็นอาคาร แลว้ เจาั จะตดั สินในประเด็นปัญหาน้ีอยา่ งไร ? ฉนั ตอบวา่ \" ฉนั กจ็ ะบอกกบั เจา้ ของไมส้ กั น้นั วา่ ท่านจาเป็นท่ีจะตอ้ งคิดราคาไมส้ กั น้นั ถา้ เขา พอใจก็ใหห้ ุกมกบั เขาดว้ ยราคาที่ตกลงกนั และถา้ หากเขาปฏิเสธนอกจากจะเอาแผน่ ไมส้ ักคืนกรณี เดียว ทา่ นก็ถอนไมส้ กั น้นั ออกมาจากตวั อาคาร\" เขาถามต่ออีกวา่ \" เจา้ จะวา่ อยา่ งไรกบั ชายคนหน่ึงท่ีขโมยเส้นดา้ ย แลว้ เขาเยบ็ ทอ้ งของเขาดว้ ย เส้นดา้ ยน้นั หลงั จากน้นั เจา้ ของดา้ ยน้นั ไดม้ าหาเขาพร้อมกบั ไดย้ นื ยนั ดว้ ยพยาน 2 คน ที่ยตุ ิธรรม แทจ้ ริงแลว้ ชายคนน้ีไดข้ โมยเส้นดา้ ยของเขาแลว้ เขาใชด้ า้ ยน้นั เยบ็ ทอ้ งของเขาแลว้ เจา้ จะดึงถอด เส้นดา้ ยน้นั ออกจากทอ้ งของเขากระน้นั หรือ ? ฉนั ตอบวา่ \" ไม่ \" เขาตอบวา่ \" อลั ลอฮฺอกั บรั เจา้ ไดท้ ิง้ คาพดู ของเจา้ แลว้ ลูกศิษยข์ องท่านกก็ ล่าววา่ เจา้ ไดท้ ิ้งคาพดู ของเจา้ แลว้ \" ฉนั กล่าววา่ \" พวกทา่ นอยา่ เพิง่ รีบร้อนซิ พวกเจา้ บอกฉนั มา ถา้ หากวา่ เขาไม่ไดข้ โมยไมน้ ้นั จาก ใครเลย และเขาตอ้ งการถอดไมน้ ้นั ออกจากตวั อาคารและสร้างใหม่แทนมนั เป็นท่ีอนุญาติแก่เขา หรือไม่ ? พวกเขาตอบวา่ \" เป็นท่ีอนุญาติแก่เขา\" ฉนั จึงถามพวกเขาวา่ ทา่ นจงบอกฉนั มาวา่ ถา้ หากเส้นดา้ ยน้นั เป็นเส้นดา้ ยของเขาเองแลว้ เขา ตอ้ งการท่ีจะถอดมนั ออกจากทอ้ งของเขา มนั เป็นท่ีอนุญาติแก่เขาหรือไม่ ?

45 พวกเขาตอบวา่ \" ไมเ่ ป็นท่ีอนุญาติแก่เขา\" ฉนั จึงถามวา่ แลว้ ท่านกียาส(เปรียบเทียบหรือเทียบเคียง)สิ่งท่ีอนุญาติกบั สิ่งท่ีไม่อนุญาติ ได้ อยา่ งไร ? แลว้ เขากถ็ ามอีกวา่ \"เจา้ จงบอกฉนั มาวา่ ถา้ หากชายคนหน่ึงขโมยแผน่ ไมส้ ักจากชายคนหน่ึง แลว้ ไดป้ ระกอบใส่ในเรือของเขาแลว้ แล่นไปบนคลื่นในทอ้ งทะเลแลว้ ปรากฏวา่ เจา้ ของแผน่ ไมส้ กั น้นั ไดย้ นื ยนั ดว้ ยพยาน 2 คนท่ียตุ ิธรรมวา่ แทจ้ ริงแลว้ ชายคนน้ีไดข้ โมยแผน่ ไมส้ ักแลว้ ไดป้ ระกอบ มนั ใส่ในเรือของเขา แลว้ เจา้ จะถอดแผน่ ไมส้ ักน้นั จากเรือกระน้ันหรือ ? ฉนั ตอบวา่ \" ไม่ \" เขากล่าววา่ \" อลั ลลอฮ อกั บรั ฉนั จึงถามวา่ \" ท่านลองบอกฉนั มาถา้ หากวา่ แผน่ ไมน้ ้นั เป็นแผน่ ไมข้ องเขาเองแลว้ เขาตอ้ งการ ถอดมนั ออกจากเรือในขณะที่เรือกาลงั แล่นอยใู่ นคล่ืนทะเล การกระทาเช่นน้นั เป็นท่ีอนุญาตแก่เขา หรือไม่ ? เขาตอบวา่ \" ไม่อนุญาติ\" แลว้ เจา้ ของเรือจะทาอยา่ งไร ? อิมามอชั ชาฟี อียต์ อบวา่ \" ฉนั กจ็ ะสัง่ ใหเ้ ขา (เจา้ ของเรือ) วา่ \" ซ่อมเรือของท่านก่อนแลว้ กเ็ ดินทาง ไป \" แลว้ มูหมั มดั บินอลั หะสันก็ไดย้ กหลกั ฐานวา่ แทจ้ ริงท่านนบีไดก้ ล่าววา่ ‫ لاضررولاضرار‬ใช่หรือไม่? ฉนั กก็ ล่าววา่ \" เขา (คนขโมย) น้นั แหละที่ทาอนั ตรายใหก้ บั ตวั เขาเองไมม่ ีใครทาอนั ตรายใหก้ บั เขาหรอก\" แลว้ ฉนั ก็ถามเขาวา่ ทา่ นจะวา่ อยา่ งไรกบั ชายคนหน่ึงที่ขโมยทาสหญิงจากชายอีกคนหน่ึงและเขา กไ็ ดล้ ูกกบั ทาสหญิงคนน้นั 10 คน ทุกคนท่องจาอลั กรุ อานไดท้ ้งั หมดทุกคนอา่ นคุตบะห์บนมิมบรั ไดแ้ ละทุกคนเป็น(ผพู้ พิ ากษา)ตดั สินเรื่องตา่ งๆของมุสลีมีนหลงั จากน้นั เจา้ ของทาสหญิงกไ็ ดม้ า ยนื ยนั ดว้ ยพยาน 2 คน ท่ียตุ ิธรรมวา่ แทจ้ ริงแลว้ ชายคนน้ีไดข้ โมยทาสหญิงน้ีและมีลูกๆเหล่าน้นั ออกมา ดงั น้นั ทา่ นจะตดั สินอยา่ งไร ? เขาตอบวา่ \" ฉนั จะตดั สินใหล้ ูกๆของเขาเป็นทาสใหก้ บั เจา้ ของทาสหญิงน้นั และคืนทาสหญิง น้นั ใหเ้ ขา \" ฉนั (อิมามอชั ชาฟี อีย)์ ตอบวา่ \" อะไรจะอนั ตรายมากกวา่ กนั ถา้ หากวา่ ท่านน้นั คืนลูกๆของเขาเป็น ทาสหรือวา่ ทา่ นถอนไมส้ ักน้นั ออกมาจากตวั อาคาร \"

46 2.5.3 ความอดทนของท่าน ความอดทนเป็นเคร่ืองหมายที่บ่งบอกถึงความกลา้ หาญและความกลา้ หาญเป็น คุณลกั ษณะท่ีดียงิ่ การอดทนสามารถพสิ ูจยไ์ ดเ้ ม่ือคนๆหน่ึงประสบกบั ความทุกขย์ ากและไดร้ ับ การทดสอบโดยหวั ใจของเขายงั มน่ั คงและเผชิญหนา้ กบั ส่ิงเหล่าน้นั โดยไมห่ วนั่ ไหว อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นอุละมาอฺท่านหน่ึงท่ีมากดว้ ยความอดทน ทา่ นกาพร้าพอ่ มาแต่ กาเนิดและมีฐานะยากจน ท่านพยายามแสวงหาความรู้ อยา่ งตอ่ เน่ือง ถึงแมว้ า่ ท่านไม่มีเงินทอง เพยี งพอ ท่ีจะใชจ้ า่ ยในการศึกษา เล่าเรียนหรือแมแ้ ต่จะซ้ือกระดาษ เพื่อจดบนั ทึก วชิ าการ ท่ีไดเ้ ล่า เรียนมาถึงกระน้นั ก็ตาม ทา่ นกอ็ ดทนและไดใ้ ชม้ นั สมองของทา่ นที่แหลมคมในการทอ่ งจาความรู้ที่ ไดเ้ ล่าเรียนมาจนท่านได้ กลายเป็นอุละมาอฺท่ียง่ิ ใหญ่ ท่านไดใ้ ชค้ วามอดทนของทา่ นในการฝ่ าฟัน ความยากลาบากต่างๆเหล่าน้นั จนประสบความสาเร็จไดด้ ว้ ยดี ท่านเผชิญหนา้ กบั ความยากจน การ ทดสอบและอุปสรรคมากมาย ทา่ นไมท่ อ้ ทา่ นไดต้ อ่ สู้กบั สถานการณ์ตา่ งๆที่หนกั หน่วง ทา่ นได้ เขา้ ไปในสนามแห่งความรู้ วรรณกรรม ฟิ กฮฺและการวนิ ิจฉยั หุกมฺจนไดร้ ับชยั ชนะและกลายเป็น หน่ึงในบรรดาปวงปราชญท์ ี่มีความรู้ล้ึกและแตกฉาน ( Ahmad Nahrawiy , 1988 : 17 ) เม่ือทา่ นไดก้ ลายเป็นผรู้ ู้แลว้ ใช่วา่ ความอดทนของทา่ นจะลดละไม่ ทา่ นไดท้ ุ่มเท ท้งั แรงกายและแรงใจในการถ่ายทอดความรู้อยา่ งไม่เหน็ดเหนื่อย จะเห็นไดว้ า่ 17 ปี ที่ทา่ นทาการสอน ในมสั ยดิ อลั หะรอมในนครมกั กะฮฺ ก่อนท่ีจะเดินทางไปยงั อิรักในคร้ังที่สองน้นั เป็นเคร่ืองยนื ยงั ถึง ความอดทนและมุมานะในการเผยแพร่ความรู้ หรือแมแ้ ตใ่ นช่วงบ้นั ปลายชีวติ ของท่านในอียปิ ต์ ท่านก็ยงั คงถ่ายทอดความรู้ ณ.มสั ยดิ อมั รฺ อิบนุอลั อาศ อยา่ งต่อเนื่องโดยไมเ่ หน็ดเหนื่อย ทุกๆวนั ท่านจะเร่ิมทาการสอนหลงั ละหมาดซุบฮี สอนไปเร่ือยๆจนถึงใกลเ้ ที่ยง ทา่ นสอนอยอู่ ยา่ งน้ีเป็น ประจาเป็นเวลาเกือบ4ปี จนกระท้งั ท่านไดจ้ บชีวติ ลง 2.5.4 ความใจบุญสุนทาน ชนชาวอาหรับเป็นที่รู้กนั ในความใจบุญสุนทานและเป็นส่ิงหน่ึงท่ีพวกเขา ภาคภมู ิใจ มีชนชาวอาหรับหลายตอ่ หลายทา่ นดว้ ยกนั ท่ีมีการกล่าวขานถึงความใจบุญสุนทานของ พวกเขา เช่น ท่าน ฮาเตม็ อฏั ฏออีย์ , กาอบั บิน มามะห์ , เอาซฺ บินฮารีซะฮ์ และท่านหะรอม บิน ซี นาน เม่ือมีการประกาศอิสลามและมีผเู้ ขา้ นบั ถือศาสนาอิสลามเป็นจานวนมาก จะเห็นไดว้ า่ คนท่ีมี คุณลกั ษณะที่ดีในสมยั ญาฮีลียะห์ พวกเขากย็ งั คงรักษาคุณลกั ษณะท่ีดีน้ีไวใ้ นช่วงอิสลาม เช่นกนั ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ คนที่กลา้ หาญในสมยั ญาฮีลียะห์ก็ยงั คงเป็นคนกลา้ หาญในสมยั อิสลาม คนท่ีใจ บุญกย็ งั คงใจบุญเช่นเดิม แต่เนียตถูกเปลี่ยนจากเนียตท่ีตอ้ งการไดร้ ับการกล่าวขานและการไดม้ า แห่งทรัพยส์ มบตั ิ เกียรติยศและความภาคภูมิใจไดก้ ลายเป็นเนียตเพ่ืออลั ลอฮฺ  ท่ีไม่มีการโออ้ วด

47 เพือ่ ช่ือเสียงเลย ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีจะเห็นไดจ้ ากบรรดาเศาะหาบะฮฺทา่ นนบี  เช่น อาบูบกั รฺ อมู รั อุ ษมาน อาลี อบั ดุรเราะห์มานบินเอาวฟ์ และทา่ นอื่นๆอีกมากมาย อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นอาหรับกูเรชคนหน่ึงที่มีความใจบุญสุนทาน ยากที่จะเทียบได้ ถึงแมว้ า่ ชีวติ ของท่านส่วนใหญ่อยใู่ นภาวะที่แร้นแคน้ ไม่มีแมแ้ ตอ่ าหารสาหรับ 1คืน แตเ่ มื่อใดก็ ตามท่ีท่านไดร้ ับทรัพยส์ ินเงินทองท่านจะบริจาคใหก้ บั คนยากคนจน และผขู้ ดั สน ถา้ หากวา่ ท่าน เกบ็ ทรัพยส์ ินส่วนหน่ึงไวเ้ พอ่ื ใชแ้ น่นอนการกระทาน้นั ไมไ่ ดล้ ดหรือบนั ทอนเกียรติของทา่ นเลยแต่ เพราะความเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่ ความใจบุญ ความปรารถ นาที่จะทาความดีและความประเสริฐของตวั ท่านน้นั เอง( Abd al-Ghani al-Daqr , 2005 : 368 - 369 ) อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ล่าวา่ ‚ คร้ังหน่ึงเมื่อวนั อีดมาถึงฉนั ไม่มีเงินจะใชจ้ า่ ยเลย ภรรยา ของฉนั บอกกบั ฉนั วา่ ทา่ นเป็นคนที่มีปฏิสัมพนั ธ์ที่ดีกบั เครือญาติของท่าน ถา้ ท่านขอยมื เงินใช้ เลก็ นอ้ ยคงไมเ่ ป็นไร แลว้ ฉนั ก็ไปขอยมื เงินจากพวกเขา 70 ดีนรั ฉนั เกบ็ ไว้ 20 ดีนรั ท่ีเหลือฉนั นาไปใชจ้ ่าย แลว้ ไดม้ ีชายชาวกเู รช คนหน่ึง เดินทางมา ขอร้องถึงความตอ้ งการของเขา ฉนั กไ็ ด้ เล่าใหก้ บั เขาฟังถึงสภาพของฉนั แลว้ ฉนั ก็ยนื่ 20 ดีนรั ท่ีมีอยใู่ หก้ บั เขา ฉนั บอกเขาวา่ ทา่ นจงเอามนั ตามท่ีท่านตอ้ งการ เขาตอบวา่ ฉนั ตอ้ งใชม้ ากกวา่ น้ี แลว้ ฉนั ก็บอกเขาวา่ เอาไปเถอะ เขาก็เอามนั ไป แลว้ ฉนั กน็ อนคืนน้นั ในสภาพท่ีไมม่ ีแมแ้ ต่ดีนรั หรือดิรฮมั เดียวเลย ในขณะที่ฉนั กาลงั อยใู่ นบา้ นน้นั ปรากฎวา่ ไดม้ ีชายชาวกเู รชอีกคนหน่ึงซ่ึงเป็นตวั แทนจาก ซะฟัร บินยะห์ยา อั ลบรั มากีย์ มาท่ีบา้ น ฉนั ฉนั ถามวา่ มีเหตุการณ์อนั ใดเล่าถึงไดม้ าหาดึกดืนป่ านน้ี ? เขาตอบวา่ ทุกคร้ังท่ีฉนั จะหลบั ตา นอน จะมีคนมากระซิบบอกฉนั วา่ อชั ชาฟี อีย์ อชั ชาฟี อีย์ ท่านจงบอกซิ ถึงสภาพความเป็นอยขู่ อง ท่านตอนน้ี แลว้ ฉนั กเ็ ล่าใหเ้ ขาฟัง แลว้ เขาก็เอาเงิน 500 ดีนาร ออกมาใหฉ้ นั หลงั จากน้นั เขากล่าววา่ ฉนั เพิ่มใหอ้ ีก 500 ดีนาร ก็แลว้ กนั หลงั จากน้นั เขาก็เพิ่มใหอ้ ีก และเพิม่ ใหอ้ ีก จนครบ 2000 ดีนาร‛ ( Fakhruddin al-Raziy , 1993 : 313 - 314 ) ต่อไปน้ีเป็นสิ่งที่ยนื ยนั ถึงความใจบุญสุนทานของท่านจากบรรดาเพอื่ นๆและผทู้ ี่ ใกลช้ ิดกบั ท่าน อรั รอบีอฺไดก้ ล่าววา่ ‚แทจ้ ริงเราเคยไดย้ นิ ผคู้ นที่มีความใจบุญสุนทานมากมายและ สาหรับเราก็มีกลุ่มหน่ึงท่ีมีความใจบุญเช่นกนั แต่เราไม่เคยเห็น (คนท่ีมีใจบุญเหมือนกบั )อิมามอชั ชาฟี อีย‛์ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy ,1310 H. : 67 ) อมั รฺ บิน ซาววาด อลั ซรั ญี กล่าววา่ ‚ อิมาม อชั ชาฟี อียเ์ ป็นผทู้ ี่มีความใจบุญสุน ทานในดินรั ดิรฮมั และอาหาร ‛ ( al-Nawawiy, Yahya bin Sharaf ,n.d. : 1 / 57 ) มูฮาหมดั บิน อบั ดิลลาฮ บิน ฮากมั กล่าววา่ ‚ อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นคนหน่ึงจาก บรรดามนุษยท์ ่ีใจบุญสุนทานมากท่ีสุดในส่ิงท่ีเขามี ‛ ‛ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy ,1310 H. : 68 )

48 อรั รอบีอฺ กล่าวถึงอิมามอชั ชาฟี อียว์ า่ ‚ เม่ือใดก็ตามท่ีมีคนมาขอสิ่งหน่ึงสิ่งใดจาก เขา ใบหนา้ เขาจะแสดงเพราะรู้สึกอายจากคนขอและรีบใหท้ นั ที แต่เมื่อท่านไมม่ ีสิ่งของท่ีจะให้ ท่านก็จะฝากส่งให้ เม่ือคนน้นั ไดก้ ลบั ไป ‛ ( al-Nawawiy, Yahya bin Sharaf ,n.d. : 1 / 58 ) อลั ฮูมยั ดี กล่าววา่ ‚ คร้ังหน่ึงเม่ืออิมามอชั ชาฟี อียเ์ ดินทางมาจากเยเมน พร้อมกบั เงินจานวน สองหมื่น ดินรั ท่านไดพ้ กั แรมนอกเมืองมกั กะฮฺ แลว้ ท่านไมไ่ ดล้ ุกข้ึนออกจากที่น้นั จน กระท้งั ท่านไดบ้ ริจาคเงิน (ก่อนเขา้ มกั กะฮฺ) จานวนน้นั ท้งั หมด ‛ ( Ibn al- Jauziy , n.d.: 2 / 14 5) อลั ฮมู ยั ดี ยงั กล่าววา่ ‚ คร้ังหน่ึง อิมามอชั ชาฟี อียก์ ลบั มาพร้อมกบั เงิน 3000 ดีนรั แลว้ บรรดาลูกพี่ลูกนอ้ งของทา่ นและคนอ่ืนๆ กไ็ ดเ้ ขา้ มาหาท่าน ท่านกเ็ ร่ิมบริจาคใหก้ บั พวกเขา จน ในที่สุดทา่ นลุกข้ึนโดยไมม่ ีอะไรเหลือเลย ‛ อลั ซุบยั รฺ บิน สุไลมาน อลั กรู อยซี กล่าววา่ ‚ ทา่ นอิมามอชั ชาฟี อียบ์ อกวา่ ท่าน ฮรั ซามะฮฺไดอ้ า่ นสลามของอามีรุลมุอฺมีนี่นใหก้ บั ฉนั แลว้ เขากล่าววา่ ท่านถูกบญั ชาใหร้ ับเงินเป็น จานวน 5000 ดีนรั แลว้ ก็นาเงินน้นั มายงั ทา่ น หลงั จากน้นั ก็ไดม้ ีคนกรอกเลือดมากรอกเลือดท่าน แลว้ ทา่ นก็ไดใ้ หเ้ งินกบั คนกรอกเลือดน้นั 50 ดีนรั หลงั จากน้นั ทา่ นกไ็ ดเ้ อาเศษผา้ มาห่อเงินหลายๆ ห่อแลว้ ก็แจกจ่ายใหก้ บั ชาวกเู รชที่อยใู่ นเมือง และไดห้ ่อแจกใหก้ บั คนท่ีทา่ นรู้จกั จากชาวมกั กะฮฺจน กระท้งั ท่านกลบั ถึงบา้ นของท่านโดยมีเงินนอ้ ยกวา่ 100ดีนรั อิบนุคอลดูน กล่าววา่ “อุละมาอฺท้งั ปวงจากบรรดานกั หะดีษ , นกั นิติศาสตร์ อิสลาม ,นกั ศาสนศาสตร์ นกั ภาษาศาสตร์ เห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ อิมามอชั ชาฟี อีย์ เป็นผทู้ ี่มีความ ยตุ ิธรรม ความสมถะ เป็นผมู้ ีเกียรติ พยายามทาตนใหห้ ่างไกลจากความชวั่ มีความประพฤติดีงาม มี ศกั ด์ิศรี และมีความใจบุญสุนทาน (Ibn Khalkan, n.d : 205) 2.5.5 ความยาเกรงและการวาเราะ(งดเว้นการทาความชั่ว) ความยาเกรง คือ การที่มุอฺมินละทิง้ ในสิ่งท่ีเขาตอ้ งการสู่สิ่งท่ี ชารีอตั อลั ลอฮฺ ซ.บ. ตอ้ งการและฝึกหดั ความปรารถณาและความเอนเอียงของเขาไปสู่สิ่งที่อลั ลอฮฺโปรดปราน ส่วนวา เราะน้นั คือ การละทิ้งสิ่งท่ีคลุมเครือเพอื่ ไมใ่ หเ้ ขาตอ้ งตกลงไปในสิ่งที่ฮะรอม และบางคร้ังเขาตอ้ ง ละทิง้ ในส่ิงท่ีอนุญาติเพราะกลวั เป็นสาเหตุสู่ความคลุมเครือและความคลุมเครือเป็นสาเหตุสู่ส่ิงที่ฮะ รอม อิมามอชั ชาฟี อียน์ อกจากท่านเป็นผนู้ าในดา้ นกฏหมายอิสลามแลว้ ทา่ นก็ยงั เป็นอิมามแห่ง การตกั วาและความวาเราะอฺ( Abd al-Ghani al-Daqr , 2005 : 362 ) อรั รอบีอฺ บิน สุไลมาน กล่าววา่ อบั ดุลลอฮฺ บิน อบั ดุล ฮากมั เป็นหน่ึงในบรรดา อาจารยข์ องมษั ฺฮบั มาลีกียใ์ นอียปิ ตค์ ร้ังหน่ึงเคยกล่าวกบั อิมามอชั ชาฟี อียว์ า่

49 ‫ فٍُىٓ لىد عٕخ ولرٍظ ِٓ اٌغٍغبْ رزؼضص‬-‫\" إرا أسدد أْ رغىٓ اٌجٍذ – َؼني ِصش‬ ‫ثٗ فمبي ٌٗ اٌشبفؼٍ ِٓ لم رؼضٖ اٌزمىي فلا ػ ّض ٌٗ وٌمذ وٌذد ثغضح وسثُذ ثبلحجبص وِب ػٕذٔب لىد‬ \" ‫ٌٍُخ وِب ثزٕب جُبػب لظ‬ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy, 1310 H : 67 ) ความวา่ ‚ ถา้ ทา่ นตอ้ งการอาศยั อยใู่ นเมืองน้ี(อียปิ ต)์ ทา่ นตอ้ งมีอาหาร (ท่ีเพียงพอ) สาหรับหน่ึงปี และท่านจะไดม้ ีเกียรติในแวดวงใกลช้ ิดกบั วงการของผมู้ ีอานาจ อิมามอชั ชาฟี อียจ์ ึง ตอบไปวา่ ผใู้ ดท่ีความยาเกรงไม่ทาใหเ้ ขามีเกียรติดงั น้นั จึงไมม่ ีเกียรติอะไรเลยสาหรับเขา และ แทจ้ ริงฉนั เกิดท่ีฆอซฺซะฮฺ (กาซา ประเทศปาเลสไตน์) และเติบโตที่ฮิญาซฉนั ไม่เคยมีแมแ้ ต่อาหาร สาหรับ 1 คืนแตไ่ มเ่ คยเลยที่เราตอ้ งนอนในลกั ษณะเป็นผอู้ ดยากหิวโหย ‛ อิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดก้ ล่าวเก่ียวกบั ความยาเกรงวา่ \" ْ‫\" أٔفغ اٌزخبئش اٌزمىي وأضش٘ب اٌؼذوا‬ (al-Baihaqiy, Abi Bakr Ahmad bin al-Husain, 1970 : 2 / 171 ) ‚ของสะสมท่ีมีประโยชน์มากที่สุดคือการยาเกรงและของสะสมท่ีมีโทษมากที่สุดคือการเป็นศตั รู ‛ \" ‫\" الخًن في خمغخ غنى إٌفظ ووف الأري ووغت الحلاي واٌزمىي واٌثمخ ثبلله‬ ( al-Nawawiy, Yahya bin Sharaf , n.d. : 1/55 ) ‚ความดีอยใู่ น 5 ประการ ความพอใจในสิ่งท่ีตนมีอยู่ ยบั ย้งั (การรบกวนผอู้ ่ืน) การแสวงหา (ปัจจยั ยงั ชีพ ) ที่ฮะลาล การยาเกรงตอ่ อลั ลอฮฺ และการเชื่อมน่ั ในพระองค‛์ วาเราะ หมายถึง การห่างไกลจากสิ่งท่ีเป็นชุบฮาต(คลุมเครือ) และสิ่งที่ไมเ่ กิด ประโยชน์ ดุนยาหรืออาคีเราะห์ และห่างไกลจากการพดู หรือกิจกรรมต่างๆ ที่ไร้สาระ คร้ังหน่ึงอิมามอชั ชาฟี อียเ์ คยสัง่ เสียใหก้ บั อรั รอบีอฺ วา่ ‚โอ้ รอบิอฺ เจา้ อยา่ ไดพ้ ดู ใน สิ่งที่ไร้สาระเลยเพราะแทจ้ ริงเม่ือเจา้ พดู ในส่ิงท่ีไร้สาระแลว้ มนั จะ เป็นนายของ เจา้ และ เจา้ ไม่ สามารถท่ีจะเป็นนายของมนั (al-Baihaqiy, Abi Bakr Ahmad bin al-Husain, 1970 : 2 / 172 )

50 2.5.6 ความถ่อมตนของท่าน อิมามอชั ชาฟี อียย์ งั เป็นท่ีรู้จกั ถึงความถ่อมตนของท่านโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กบั บรรดา อุละมาอฺดว้ ยกนั ถึงแมว้ า่ พวกเขาจะมีความเห็นท่ีแตกต่างกบั ท่าน มีชายคนหน่ึงจากอิรักถาม ท่านวา่ ท่านมีความเห็นอยา่ งไรกบั อิมามอาบฮู านีฟะห์ ? อิมามอชั ชาฟี อียต์ อบวา่ ‚ ทา่ นเป็นผนู้ า แห่งอุละมาอฺอิรัก ‛ ชายคนน้นั ถามอีกวา่ ท่านมีความเห็นอยา่ งไรกบั อาบยู ซู ุฟ ? อิมามอชั ชาฟี อีย์ ตอบวา่ ‚ทา่ นเป็นลูกศิษยข์ องอาบูฮานีฟะห์ท่ีรู้มากท่ีสุดในเร่ืองหะดิษ ‛ ชายคนน้นั ถามอีกวา่ ท่านมีความเห็นอยา่ งไรกบั มูหมั มดั บินอลั หะสนั ? อิมามอชั ชาฟี อียต์ อบวา่ ‚ทา่ นเป็นลูกศิษยข์ อง อาบูฮานีฟะห์ท่ีรู้มากท่ีสุดในเร่ืองฟิ กฮฺ‛ ชายคนน้นั ถามอีกวา่ ทา่ นมีความเห็นอยา่ งไรกบั ซูฟัร? อิมามอชั ชาฟี อียต์ อบวา่ ‚ท่านเป็นผตู้ ามมษั ฺฮบั ฮานาฟี ยท์ ่ีเชี่ยวชาญมากท่ีสุดในเร่ืองการกียาส‛ คร้ังหน่ึงอลั มูซานียซ์ ่ึงเป็นลูกศิษยข์ องอิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดก้ ล่าวถึงผรู้ ายงานหะดิษ คนหน่ึงวา่ ‚คนน้ีเป็นจอมโกหกผยู้ งิ่ ใหญ่ ‛ อิมามอชั ชาฟี อีย์จึงบอกกบั อลั มซู านีย์วา่ ‚จงรักษาลิ้น ของเจา้ และอยา่ ไดก้ ล่าววา่ จอมโกหกผยู้ งิ่ ใหญ่ กล่าวแต่เพยี งวา่ หะดิษของเขาไม่เป็นท่ียอมรับ ‚ (Muhammad Zaini Yahya , 2000 : 66 ) อิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดก้ ล่าวเก่ียวกบั การถ่อมตนวา่ \" َ‫\" اٌزىاضغ ِٓ أخلاق اٌىشاَ واٌزىبرِٓ شُُ اٌٍئب‬ (al-Baihaqiy, Abi Bakr Ahmad bin al-Husain, 1970 : 2 /200 ) ‚การถ่อมตนน้นั เป็นมารยาทของคนที่มีเกียรติและความหยง่ิ ยโสน้นั เป็นบุคลิกของคนเลวทราม‛ 2.6 อบี าดะฮฺของท่าน อีบาดะฮฺเป็นการเขา้ ใกลอ้ ลั ลอฮฺ ซ.บ. ดว้ ยการงานต่างๆ ท่ีจะนาซ่ึงความยาเกรง และการใหค้ วามยงิ่ ใหญต่ ่อเอกองคอ์ ลั ลอฮฺ ซ.บ. อีบาดะฮฺมี 3 ประเภท 1. อีบาดะฮฺท่ีตอ้ งใชร้ ่างกาย เช่น การละหมาด การถือศีลอด 2. อีบาดะฮฺที่ตอ้ งใชท้ รัพยส์ ินเงินทอง เช่น ซะกาต 3. อีบาดะฮฺที่ตอ้ งใชร้ ่างกายและทรัพยส์ ิน เช่น การทาฮจั ญ์ หรือถา้ จะแบ่งตามลกั ษณะของหุกมกส็ ามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ

51 จา่ ยซะกาต 1. อีบาดะฮฺท่ีเป็นวาญิบ เช่น การละหมาด 5 เวลา การถือศีลในเดือนรอมฏอน การ 2. อีบาดะฮฺที่เป็นสุนตั เช่น การละหมาดสุนตั การบริจาคทาน การถือศีลอดสุนตั อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นอุลามาอฺท่านหน่ึงท่ีมากดว้ ยการทาอีบาดะฮฺ ไมว่ า่ จะเป็นอีบา ดะฮฺท่ีวาญิบหรือสุนตั ไม่วา่ จะเป็นการซิกิร การอ่านอลั กรุ อาน และอีบาดะฮฺอื่นๆอีกมากมาย อิบนุลรอบีอฺ กล่าววา่ ‚ทา่ นอิมามอชั ชาฟี อียท์ าใหก้ ลางคืนมีชีวติ ชีวา (ดว้ ยการ ละหมาดตาฮดั ญุดทุกคืน) จนกระทงั่ ทา่ นเสียชีวติ ‛ หุเสน บิน อาลี อลั การอบีซียฺ กล่าววา่ ‚ฉนั นอนกบั อิมามอชั ชาฟี อีย์ 80 คืน ทา่ น จะ ละหมาดตาฮดั ญุด ประมาณหน่ึงในสามของเวลากลางคืน ฉนั เห็นเขาละหมาดแตล่ ะรอกอตั จะ อา่ นไมเ่ กิน 50 อายะฮฺ เม่ืออ่านผา่ นอายะฮฺขอพรทา่ นก็จะขอพรจากอลั ลอฮฺเพือ่ ตวั ท่านและบรรดามุ มีนีน มุมีนาต เม่ืออ่านผา่ นอายะฮฺเก่ียวกบั การลงโทษทา่ นกจ็ ะขอจากอลั ลอฮฺเพ่ือใหต้ วั ทา่ นและ บรรดามุมีนีน มุมีนาต ปลอดภยั และห่างไกลจากสิ่งเหล่าน้นั ‛ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy, 1310 H : 68 ) อรั รอบีอฺ กล่าววา่ ‚อิมามอชั ชาฟี อียแ์ บ่งเวลากลางคืนเป็น 3 ส่วน ส่วนท่ีหน่ึง สาหรับการแต่งหนงั สือ ส่วนท่ีสองสาหรับการละหมาด ส่วนท่ีสามสาหรับนอน ‛ ( Ibn al- Jauziy , n.d.: 2/144 ) อลั มูซานีย์ กล่าววา่ ‚ ฉนั ไมเ่ คยเห็นอิมามอชั ชาฟี อียอ์ า่ นอลั กรุ อานในเวลากลางคืน เวน้ แตท่ ่านจะอา่ นในละหมาด( คือถา้ ท่านอ่านอลั กุรอานในเวลากลางคืนแสดงวา่ ท่านกาลงั ละหมาดอยู่ )‛ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy, 1310 H : 79 ) 2.7 การเดินทางของท่าน 2.7.1 การเดนิ ทางไปยงั มกั กะฮฺ อิมามอชั ชาฟี อียเ์ ป็นหน่ึงในบรรดาอุล ะมาอฺมุสลิมท่ีมากดว้ ยการเดินทาง จากท่ี หน่ึงไปยงั อีกที่หน่ึงไม่วา่ จะดว้ ยสาเหตุเพอ่ื การศึกษาหรือสาเหตุอ่ืนๆ ก็ตาม การเดินทา งคร้ังแรก ของอิมาม อชั ชาฟี อีย์ คือการเดินทางจาก ฉนวนกาซ่า ) ‫ ( غضح‬ประเทศปาเลสไตน์ สู่นครมกั กะ ฮฺ ประเทศ ซาอุดีอารเบียในช่วงน้นั ทา่ นมีอายเุ พยี ง 2 ขวบเทา่ น้นั มารดาท่านไดพ้ าท่านเดินทางจาก กาซ่า สู่เมืองมกั กะฮฺ หลงั จากที่บิดาของทา่ นไดเ้ สียชีวติ ลง บิดาของอิมาม อชั ชาฟี อียไ์ ดอ้ าศยั อยใู่ น กาซ่า ในช่วงระยะเวลาหน่ึง เพ่อื ทางานหาเงิน แตห่ ลงั จากท่ีตอ้ งจบชีวติ ลง มารดาของท่านจึง จาเป็นตอ้ งพาท่านเดินทางกลบั ไปยงั มาตุภูมิ คือนครมกั กะฮฺ ท้งั น้ีเพ่ือใหอ้ ิมาม อชั ชาฟี อียไ์ ดเ้ ติบโต กบั ญาติพ่ีนอ้ งอ่ืนๆ และเป็นการทดแทนการจากไปของบิดาและเพือ่ ไมใ่ ห้ 2 ความเศร้าโศกมา

52 รวมอยใู่ นตวั ของอิมาม อชั ชาฟี อียใ์ นเวลาเดียวกนั คือความเศร้าโศกของการเป็นเดก็ กาพร้า และ ความเศร้าโศกท่ีตอ้ งห่างไกลจากบา้ นเกิดเมืองนอน ดงั น้นั มารดาของทา่ นจึงเดินกลบั สู่นครมกั กะฮฺ (Hamzah al Nashratiy, n.d :21) ณ.นครมกั กะฮฺน้ีเอง อิมาม อชั ชาฟี อียเ์ ริ่มศึกษาเล่าเรียนทา่ นเร่ิม เรียนการอา่ น การเขียน และการท่องจาอลั กรุ อาน ทา่ นไดศ้ ึกษาเล่าเรียนจากอุละมาอฺ ชื่อดงั ที่มกั กะฮฺ ในตอนน้นั หลายทา่ นดว้ ยกนั เช่นจาก มุสลิม บิน คอลิด อซั ซนั ญี ยฺ , สุฟยาน บิน อุยยั นะฮฺ , ดาวดู บิน อบั ดุรเราะห์มาน อลั อฏั ฏอร , อบั ดุลมะญีด บิน อบั ดุลอาซีซ บิน ดาวดู และอุละมาอฺท่านอื่นๆ 2.7.2 การเดินทางไปยงั ชนเผ่าฮูซัยลฺ หลงั จากน้นั ทา่ นไดเ้ ดินทางไปใชช้ ีวติ อยกู่ บั ชนเผา่ ฮูซั ยลฺเป็นเวลาหลายปี ท่านได้ ศึกษาจารีตประเพณีจากชนเผา่ น้ี ชนเผา่ ฮูซั ยลฺถือไดว้ า่ เป็นชนเผา่ ที่มีความชานาญและความสนั ทดั ในภาษาอาหรับมากท่ีสุดในเวลาน้นั นอกจากทา่ นไดศ้ ึกษาจารีตประเพณีและหลกั ภาษาอาหรับแลว้ ทา่ นยงั ไดศ้ ึกษาและท่องจาบทกวขี องชนเผา่ น้ีอีกเป็นจานวนมาก 2.7.3 การเดนิ ทางไปยงั มะดนี ะฮฺ หลงั จากใชช้ ีวติ อยกู่ บั ชนเผา่ ฮซู ยั ลฺเป็นเวลาหลายปี อิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดต้ ดั สินใจท่ี จะเดินทางไปยงั มะดีนะฮฺเพ่ือศึกษาหาความรู้จากอิมามมาลิกก่อนเดินทางท่านทอ่ งหะดีษในหนงั สือ อลั มวู วฏั เฏาะทา่ นใชเ้ วลา 9 คืนในการทอ่ งจาหะดีษท้งั เล่ม ท่านไดเ้ ล่าวา่ ‚ .......ฉนั จึงต้งั ใจไปหาหนงั สืออลั มุวฏั เฏาะฉนั ไดย้ มื จากชายคนหน่ึงที่มกั กะฮฺและ ฉนั กท็ อ่ งมนั จนจาภายใน 9 คืน หลงั จากน้นั ฉนั ไดเ้ ขา้ ไปหาวาลีมกั กะฮฺและฉนั ไดเ้ อาหนงั สือ (หนงั สือรับรอง) ของท่านถึงวาลีมะดีนะฮฺและถึงอิมามมาลิกบินอานสั หลงั จากน้นั ฉนั กไ็ ดม้ าถึง มะดีนะฮฺฉนั กไ็ ดส้ ่งหนงั สือไปยงั วาลี เม่ือทา่ นไดอ้ ่านแลว้ ท่านไดก้ ล่าววา่ โอ้ ชายหนุ่มแทจ้ ริงแลว้ การเดินเทา้ เปล่าของฉนั จากกลางเมืองมะดีนะฮฺถึงกลางเมืองมกั กะฮฺมนั ง่ายกวา่ สาหรับฉนั ท่ีจะเดิน ไปยงั ประตูบา้ นมาลิกบินอานสั เพราะฉนั ไมอ่ ยากเห็นความต่าต่อยยามฉนั หยดุ อยทู่ ี่ประตบู า้ นของ ท่านแลว้ ฉนั ก็กล่าววา่ ขออลั ลอฮฺประทานความดีใหอ้ ามีร แทจ้ ริงความเห็นของอามีรใหเ้ ขา(อิมาม มาลิก) เดินทางมา เขาตอบวา่ โอ้ ไปใหไ้ กลเลย แลว้ ฉนั กไ็ ดน้ ดั เขาเวลาอศั รีย์ แลว้ เราก็ไดข้ ี่พาหนะ ร่วมกนั ฉนั ขอสาบานต่ออลั ลอฮฺวา่ มนั ไดเ้ กิดเหมือนกบั ที่เขาพดู แลว้ ไดม้ ีชายคนหน่ึงนาหนา้ ไปแลว้ ไดเ้ คาะประตูแลว้ มีทาสผหู้ ญิงผวิ ดาคนหน่ึงออกมา แลว้ อามีรกไ็ ดก้ ล่าวกบั หล่อนวา่ จงบอกแก่ เจา้ นายของเจา้ วา่ ฉนั รออยทู่ ี่ประตู แลว้ หล่อนก็เขา้ ไปนาน หล่อนกอ็ อกมากล่าววา่ แทจ้ ริงนายของ ฉนั ฝากสลามใหก้ บั ท่านและบอกวา่ ถา้ หากมีปัญหา(เร่ืองศาสนา) ใหส้ ่งเป็นคาถามและจะมีคาตอบ ออกมา ถา้ เป็นปัญหาเร่ืองหะดิษ ท่านกร็ ู้ถึงวนั เวลาของการชุมนุม (ในวชิ าหะดิษ) ดงั น้นั ท่านจง

53 กลบั เถอะและอามีรก็ไดก้ ล่าวแก่ทาสผหู้ ญิงคนน้นั วา่ แทจ้ ริงเจา้ จงบอกแก่เขา(อิมามมาลิก)วา่ ฉนั มี หนงั สือจากวาลีมกั กะฮฺถึงเขาในเร่ืองสาคญั แลว้ หล่อนกเ็ ขา้ ไปและออกมา ในมือของหล่อนมีเกา้ อ้ี ตวั หน่ึง แลว้ หล่อนกต็ ้งั ไว้ หลงั จากน้นั อิมามมาลิกกอ็ อกมาในลกั ษณะน่าเกรงขามและน่านบั ถือ ทา่ นเป็นชายท่ีมีรูปร่างสูง มีเคราที่ หวเี รียบร้อย แลว้ ทา่ นกน็ งั่ ลง ทา่ นสวมเส้ือตอยลอซาน วาลีคน น้นั ก็ไดย้ นื่ หนงั สือใหก้ บั เขา(แลว้ ทา่ นกไ็ ดอ้ ่านจนถึงคาพดู ท่ีวา่ ผชู้ ายคนน้ีการงานของเขาและ สภาพของเขาเป็นอยา่ งน้ี ๆ ) ทา่ นก็ไดโ้ ยนหนงั สือรับรอง และกล่าววา่ ซุบฮานลั ลอฮฺ หรือวา่ ความรู้ ของรอสูลุลลอฮฺน้นั ถูกเอาดว้ ยจดหมายน้นั หรือ แลว้ ฉนั ก็เห็นวาลีเกรงกลวั ที่จะพดู กบั อิมามมาลิก แลว้ ฉนั ไปขา้ งหนา้ นิดหน่ึง แลว้ กล่าววา่ ขออลั ลอฮฺประทานความดีกบั ท่าน แทจ้ ริงฉนั น้ีมาจาก ตระกลู มฏั ละบีย์ และเรื่องของฉนั กค็ ือวา่ (แลว้ อิมามอชั ชาฟี อียก์ เ็ ล่าใหอ้ ิมามมาลิกฟัง) เมื่ออิมามมา ลิกไดฟ้ ังคาพดู ของฉนั แลว้ เขามองฉนั ครู่หน่ึง อิมามมาลิกมีความรู้เก่ียวกบั ฟี รอซะห์(การอ่าน สญั ญาณหรือวชิ าลกั ษณะวทิ ยา) เขาก็ถามฉนั วา่ เจา้ ช่ืออะไร ฉนั บอกวา่ มูหมั หมดั เขากบ็ อกกบั วา่ โอ้ มฮู าหมดั จงยาเกรงต่ออลั ลอฮฺ และห่างไกลจากความชวั่ ท้งั หลาย แทจ้ ริงแลว้ เจา้ จะไดร้ ับเกียรติ จากความมีเกียรติ พรุ่งน้ีเจา้ มาพร้อมกบั คนที่จะอา่ นใหก้ บั เจา้ พอรุ่งเชา้ ฉนั ก็มาแลว้ ฉนั ก็เริ่มอ่าน โดยท่ีหนงั สืออยใู่ นมือของฉนั และทุกคร้ังท่ีฉนั รู้สึกเกรงขามกบั อิมามมาลิกฉนั ตอ้ งหยดุ อ่าน ท่าน กป็ ระหลาดใจกบั การอ่านที่ดีของฉนั แลว้ ท่านกก็ ล่าววา่ โอ้ ชายหนุ่มอ่านเพมิ่ เติมอีกจนฉนั ไดอ้ า่ น มนั ในเวลาอนั ส้นั หลงั จากน้นั ฉนั ก็อาศยั อยทู่ ี่มะดีนะฮฺจนกระทง่ั อิมามมาลิกเสียชีวติ ‛ ( Yaqoot al Hamawiy, n.d.:17/284) 2.7.4 การเดนิ ทางไปยงั เยเมน หลงั จากน้นั ทา่ นเดินทางไปยงั เมืองนจั ญร์ อนในเยเมนในฐานะผชู้ ่วยผพู้ พิ ากษาท่ี น้นั ระหวา่ งการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของทา่ นน้นั ท่านอิมาม อชั ชาฟี อีย์ ไดป้ ฏิบตั ิงานดว้ ยความเที่ยงธรรม และตรงไปตรงมาเป็นที่เคารพนบั ถือและยกยอ่ งแก่ชาวเมืองโดยทวั่ ไปกระน้นั กด็ ียงั มีคนบางกลุ่ม ท่ีไมป่ รารถนาทา่ นและไม่พอใจในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของท่าน พร้อมท้งั พยายามก่อกวนทา่ นอยู่ เสมอ บางคร้ังถึงกบั สร้างสถานการณ์ข้ึนหลอกลวงทา่ น แต่ก็ไมอ่ าจไดร้ ับความสาเร็จได้ จนกระทงั่ ไดเ้ กิดเหตุการณ์ใหญข่ ้ึน กล่าวคือไดม้ ีบุคคลจากวงศ์ อลั อะละวยี ์ จานวน 9 คนก่อการ ทรยศ ต่อคอลีฟะฮฺ ท้งั ยงั ไดก้ ล่าวหาวา่ ท่านอิมามอชั ชาฟี อีย์ ร่วมแผนการกบั พวกเขาดว้ ย คอลีฟะฮฺ ฮารูน อัรรอชีด จึงได้ มีบญั ชาใหส้ ่งคนท้งั เกา้ และอิมามอชั ชาฟี อีย์ ไปให้ทา่ นพจิ ารณาโทษ (สมาน มาลีพนั ธ์ , 2516 : 97 )

54 2.7.5 การเดนิ ทางไปยงั อริ ักคร้ังท่ี 1 หลงั จากน้นั อิมามอชั ชาฟี อียแ์ ละอีก 9 คนที่ถูกกล่าวหาก็ถูกนาพาตวั มายงั แบกแดดตอ่ หนา้ คอลีฟะฮฺ ฮารูน อรั ร็ซีด จากน้นั กไ็ ดม้ ีการพจิ ารณาโทษ โดยไดม้ ีบญั ชาใหป้ ระหาร ชีวติ คนท้งั เกา้ เสีย คร่ันเมื่อถึงคราวพจิ ารณาโทษอิมามอชั ชาฟี อีย์ ทา่ นไดท้ ูลตอ่ คอลีฟะฮฺวา่ , ‫ وأذ اٌمبدس ػًٍ ِب رشَذ ِني‬, ‫ فبٔه اٌذاػٍ وأٔب الدذػى‬, ‫‛ ِهلا َب أًِنالدؤٌِٕن‬ ‫ واِخش‬, ٖ‫ أدذهمب َشاني أخب‬: ‫وٌغذ اٌمبدسػًٍ ِب أسَذٖ ِٕه َب أًِنالدؤٌِٕن ِب رمىي في سجٌٍن‬ ‫ لبي فمبي لي‬, ‫ لٍذ فزان أٔذ َب أًِنالدؤٌِٕن‬, ٖ‫لبي اٌزٌ َشان أخب‬. ‫ أَهّب أدت الي ؟‬, ٖ‫َشاني ػجذ‬ ‫ وُ٘ َشؤٕب‬, ‫ فأٔزُ رشؤٕب اخىح‬, ‫ ونحٓ اخىرىُ ِٓ ثني الدغٍت‬, ٍٍ‫ وُ٘ وٌذ ػ‬, ‫أىُ وٌذ اٌؼجبط‬ ‫ ثم أِشلي‬, ً‫ فىػظزٗ الى أْ ثى‬, ‫ ػظني‬: ‫ واعزىي جبٌغب ولبي‬, ٗ‫ لبي فغشٌ ػٕٗ ِب وبْ ث‬, ‫ػجُذا‬ ‚ ُ٘‫بخّغٌن أٌف دس‬ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy , 1310 H : 70 ) ‚ โอ้ ผูน้ าแห่งบรรดามุมีนีน ไดโ้ ปรดอยา่ รีบเร่ง แทจ้ ริงท่านเป็นโจทษ์ และขา้ เป็นจาเลย ท่าน ยอ่ มสามารถที่จะกระทาอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดตอ่ ขา้ ไดต้ ามประสงคข์ อง ทา่ นแตข่ า้ ไม่ อาจกระทาอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดต่อ ทา่ นตามความประสงคข์ องขา้ ได้ โอ้ ผูน้ าแห่งบรรดา มุมีนีน ทา่ นจะโปรดประการใด ในระหวา่ งชายสองคน ซ่ึงคนหน่ึงเห็นขา้ เป็นพ่ีนอ้ งของเขา และชายอีก คนหน่ึงเห็นขา้ เป็นบ่าวของเขาในสองคนน้นั ขา้ จะรักใครมากกวา่ กนั ? คอลีฟะฮฺฮารูนอรั รอชีดตอบ วา่ ‚ท่านกจ็ ะตอ้ งรักผทู้ ี่เห็นท่านเป็นพ่ีนอ้ งของเขาอยา่ งแน่นอน ‛ ทา่ นอิมามอชั ชาฟี อีย์ จึงกล่าว ตอ่ ไปวา่ โอ้ ผนู้ าแห่งบรรดามุมีนีน ทา่ นเป็นลูกหลานของอบั บาส ส่วนพวกเขา (คือผทู้ ่ีกล่าวหา วา่ ท่าน อิมามอชั ชาฟี อียส์ มคบคิดทรยศต่อคอลีฟะฮฺ) เป็นลูกหลานของอ าลี แตข่ า้ เป็นวงศว์ านของ มุฎฎอลิบท่านเป็นลูกหลานของอบั บาสซ่ึงเห็นขา้ เป็นพ่นี อ้ งของ ทา่ น ส่วนเขาเหล่าน้นั เห็นขา้ เป็น บา่ วของพวกเขา เม่ือคอลีฟะฮฺ ฮารูน อรั รอชีด ไดฟ้ ังคา พดู ของท่านอิมาม อชั ชาฟี อีย์ เช่นน้นั แลว้ ท่านกพ็ อใจและไดข้ ้ึนไปนงั่ และไดก้ ล่าวกบั อิมามอชั ชาฟี อียว์ า่ ‚ เจา้ จงนาซีฮตั ใหก้ บั ฉนั ‛ อิ มามอชั ชาฟี อียก์ น็ าซีฮตั จนกระท้งั คอลีฟะฮฺ ฮารูน อรั รอซีดร้องไห้ แลว้ คอลีฟะฮฺ ก็ไดอ้ อกคาส่งั มอบเงินใหก้ บั ฉนั 50,000 ดิรฮมั ‛ ในช่วงท่ีท่านอยใู่ นอิรักน้ีเองท่านถือโอกาศศึกษาฟิ กฮฺฮานาฟี ย์ จากบรรดาลูกศิษยแ์ ละเพ่ือนๆของอิมามอาบูฮานีฟะฮฺ และยงั ไดศ้ ึกษาจากอุละมาอฺทา่ นอ่ืนๆใน อิรัก อีกดว้ ยหลงั จากน้นั ทา่ นกเ็ ดินทางกลบั นครมกั กะฮฺ

55 2.7.6 การเดนิ ทางกลบั มายงั มักกะฮฺ หลงั การใชช้ ีวติ ในอิรักในช่วงระยะเวลาหน่ึงอิมาม อชั ชาฟี อียก์ ็ไดเ้ ดินทางกลบั ยงั นครมกั กะฮฺ อิมามอชั ชาฟี อียก์ ลบั พร้อมกบั ความรู้ของอะหลุลเราะยฺ ) ٌ‫( اً٘ اٌشأ‬โดยเฉพาะอยา่ ง ยงิ่ ท่านไดย้ นิ ไดฟ้ ังจากนั กฟิ กฮฺ แห่งอิรัก มูหมั มดั บินอลั หะสัน อชั ชยั บานีย์ ดงั น้นั ท่านจึง ผนึก รวมกนั ระหวา่ งความรู้ของชาวฮิญาซ ซ่ึงส่วนใหญ่เกี่ยวกบั สุนนะฮฺ และอะษรั กบั ความรู้ ของอะห์ ลุลเราะยู ที่เกี่ยวกบั การกียาส และการอิสติมบาฎ ในช่วงที่ทา่ นอยใู่ นอิรักคร้ังแรกน้นั จะเห็นไดว้ า่ ทา่ นพยายามปกป้ องฟิ กฮฺ มาลีกีย์ และไดต้ อบโตอ้ ะห์ลุลเราะยฺ ) ٌ‫( اً٘ اٌشأ‬ดว้ ยหลกั ฐานที่หนกั แน่นและชดั เจนนามาซ่ึง ความเหนือกวา่ ของ มษั ฺฮบั มาลีกีย์ แตห่ ลงั จากท่านกลบั มายงั นครมกั กะฮฺ แลว้ ทา่ นไดเ้ ร่ิมทบทวนพจิ ารณาในรากฐานและขอ้ ปลีกยอ่ ยของมซั อบั ต่างๆ และจากจุดน้ีเองจึงได้ เกิดแนวคิดในสมองของทา่ นในการอิจติฮาด(วนิ ิจฉยั หุกม)เองเน่ืองจากท่านไดร้ ู้และเขา้ ใจอยา่ งถอ้ ง แท้แลว้ ถึงแนวคิดของบรรดานกั ฟิ กฮฺและนกั หะดิษท้งั หลายต้งั แต่รุ่นเก่า จนถึงรุ่นใหม่ ท่านรู้ถึง จุดเด่นและจุดดอ้ ยของแตล่ ะมษั ฺฮบั ดงั น้นั ทา่ นจึงเลือกเอาจากจุดเด่นของทุกมษั ฺฮบั น้นั โดยต้งั อยบู่ น หลกั ฐานที่หนกั แน่นท่ีสุด แนวทางที่ชดั เจนท่ีสุดและใกลเ้ คียงท่ีสุดกบั เจตนารมณ์ของอลั กรุ อาน และสุนนะฮฺของท่านนบี ( Abd. al-Ghaniy al- Daqr, 2005 : 111-112) ในช่วงน้ีทา่ นไดท้ ุ่มเทเวลา ส่วนใหญ่ใหก้ บั การสอนและการแต่งหนงั สือ 2.7.7 การเดินทางไปยงั อริ ักคร้ังที่ 2 หลงั จากน้นั ท่านก็ไดเ้ ดินทางมายงั อิรัก คร้ังท่ีสอง ทา่ นไดร้ ับการตอ้ นรับดว้ ยดี และถูกจดั สถานที่สาหรับใหท้ า่ นทาการสอนในมสั ยดิ บฆั ดาด ซ่ึงในมสั ยดิ น้นั มี 20 ฮาลาเกาะห์ ของการเรียนการสอน เม่ืออิมามอชั ชาฟี อียเ์ ริ่มทาการสอน ฮาลาเกาะห์ส่วนใหญ่เหล่าน้นั กม็ า รวมตวั กบั ฮาลาเกาะห์ของอิมามอชั ชาฟี อียจ์ นในท่ีสุดฮาลาเกาะห์อ่ืนๆเหลือเพยี ง 3 ฮาลาเกาะห์ เท่าน้นั (Muhammad Uthman El-Muhammady . 1998 :6 ) ทา่ นใชช้ ีวติ ในอิรักของการเยอื นคร้ังท่ีสอง เป็นเวลาหลายปี ในช่วงน้ีเองท่ีมีผมู้ าศึกษาหาความรู้กบั ทา่ นเป็นจานวนมากทา่ นมีลูกศิษยต์ ามมา มากมาย หลงั จากน้นั ทา่ นไดเ้ ดินทางกลบั มกั กะฮฺ 2.7.8 การเดินทางไปยงั อริ ักคร้ังท่ี 3 อิมาม อชั ชาฟี อียอ์ าศยั อยใู่ นอิรักคร้ังที่2 เป็นเวลา 2 ปี ในช่วงน้ั นทา่ น ได้ วางรากฐานมษั ฺฮบั ของทา่ น ส่วนบรรดาลูกศิษยข์ องท่านกไ็ ดเ้ ผยแพร่ความรู้ของทา่ นไปดว้ ย หลงั จากน้นั ทา่ นกไ็ ดก้ ลบั มายงั มกั กะฮฺ และทาการสอนเช่นเคยในมสั ยดิ อลั หะรอม แต่ท่านอยใู่ นมกั กะฮฺ เพยี งระยะส้นั ๆเทา่ น้นั หลงั จากน้นั ในปี 198 ฮิจริยะห์ ทา่ นก็เดินทางไปยงั อิรักคร้ังที่ 3 แต่คร้ัง

56 น้ี ทา่ นใชเ้ วลาอยใู่ นอิรักเป็นเวลาเพยี ง 8 เดือนเท่าน้นั อลั หะสนั บินมหู มั มดั อซั ซะฟารอนีย์ กล่าววา่ อิมามอชั ชาฟี อีย์ เดินทางมายงั พวกเราในปี 195 H และอาศยั อยกู่ บั เรา 2 ปี หลงั จากน้นั ท่าน เดินทางกลบั มกั กะฮฺ แลว้ ทา่ นเดินทางมายงั พวกเรา อีกในปี 198 H ท่านอาศยั อยกู่ บั เรา ไมก่ ี่เดือน เท่าน้นั หลงั จากน้นั ท่านกเ็ ดินทางไปยงั อียปิ ต์ ( Ibn Hajar al-Asqalaniy , 1310 H : 72 ) 2.7.9 การเดนิ ทางไปยงั อยี ปิ ต์ หลงั จากน้นั ท่านไดเ้ ดินทางต่อไปยงั อียปิ ตต์ ามคาเชิญของผวู้ า่ การเมืองอียปิ ต์ ณ.ที่ น้นั ทา่ นไดท้ าการสอนในมสั ยดิ อมั รู บิน อลั -อาศ นอกจากการสอนแลว้ ทา่ นยงั ไดแ้ ต่งตาราต่างๆ ท่ี อียปิ ตน์ ้ีเองท่ีทา่ นไดท้ บทวนคาวนิ ิจฉยั ของท่านซ่ึงเป็นที่มาของคาวนิ ิจฉยั ใหม่ (‫ )لىي جذَذ‬ท่ี แตกต่างจากคาวนิ ิจฉยั เก่า ( ‫ ) لىي لذيم‬ในช่วงท่ีท่านอยู่ ณ.เมืองบฆั ดาด ก่อนหนา้ น้นั ในช่วงที่ท่านอาศยั อยใู่ นอียปิ ตน์ ้ี ชื่อเสียงของทา่ นโด่งดงั ไปทว่ั ทุกสารทิศ ดงั น้นั จึงมีบรรดาอุละมาอฺ และผทู้ ี่ตอ้ งการแสวงหาความรู้เดินทางมาเพ่อื ศึกษาเล่าเรียนกบั ทา่ นหรือเพอื่ มา รับสายรายงาน หะดิษจากท่านหรือเพ่อื ฟังการสอน จากตาราของทา่ นเอง อิมามนาวาวยี ์ กล่าววา่ แลว้ ชื่อเสียงของทา่ นก็โด่งดงั ไปทวั่ เมืองต่างๆ ดงั น้นั จึงมีผคู้ นมาหาท่านจากเมืองชาม เยเมน อิรัก และจากเมืองอ่ืนๆ เพื่อศึกษาฟิ กฮฺกบั ทา่ น เพ่ือรับสาย รายงานหะดิษ และเพ่อื ฟังการสอนหนงั สือ ของท่านโดยตวั ทา่ นเอง และแลว้ ทา่ นกไ็ ด้ กลายเป็นผนู้ า แห่งชาวอียปี ต์ และชาวเมืองอ่ืนๆ ( al- Nawawiy, Yahya bin Sharaf ,n.d. : 1 / 48 ) 2.8 การเสียชีวติ ของท่าน ในช่วงบ้นั ปลายชีวติ ของทา่ น ทา่ นป่ วยเป็นโรคริดสีดวงทวารและอาการกย็ ง่ิ กาเริบมากข้ึนเร่ือยๆซ่ึงเป็นสาเหตุใหท้ า่ นตอ้ งสูญเสียโลหิตหลายคร้ัง คร้ังละมากๆ จนนาไปสู่ การ เสียชีวติ ของท่าน ในช่วงที่ท่านใกลจ้ ะสิ้นชีพ ลูกศิษยข์ องท่านที่ช่ือ อลั มูซานีย์ ไดเ้ ขา้ มาหาท่านและ ไดถ้ ามท่านวา่ เป็นอยา่ งไรบา้ ง รู้สึกอยา่ งไรบา้ ง อิมามอชั ชาฟี อียก์ ต็ อบวา่ ٖ‫\" أصجذذ ِٓ اٌذُٔب سادلا وٌلإخىاْ ِفبسلب وٌىأط الدُٕخ شبسثب وػًٍ الله ج ًّ روش‬ \" ‫واسدا ولا والله ِب أدسٌ سودٍ رصًن إلى الجٕخ فإٔ٘ئهب أو إلى إٌبس فأػضَهب‬ ‚ฉนั รู้สึกวา่ ดุนยากาลงั จะเดินทางไป เพือ่ นๆกาลงั จะจากไป ความตายกาลงั มา เยอื นและยงั อลั ลอฮฺ  ฉนั กาลงั จะไปหาพระองค์ ฉนั ขอสาบานต่ออลั ลอฮฺวา่ ฉนั ไม่รู้วา่ วญิ ญาณ

57 ของฉนั จะไปสู่สวรรค์ ดงั น้นั ฉนั กจ็ ะแสดงความยนิ ดีกบั มนั หรือวา่ จะไปสู่นรก ดงั น้นั ฉนั ก็ตอ้ ง แสดงความเสียใจกบั มนั ‛ หลงั จากน้นั ทา่ นกร็ ้องไหแ้ ละกล่าววา่ ً‫َجَؼٍْذُ اٌ َش َجب ٌَِؼفْىِ َن ُعـــٍَّّب‬ ‫َولَدَّب لَغًَ لٍَْجٍِ وَ َضبَل ِذ َِزَا ِِ٘بي‬ ‫ِثَؼفْىِ َن سَِثٍّ َوب َْ َػفْىُ َن َأػِظَّب‬ ُُٗ‫َرَؼبظٍََِّٕ رَِٔجٍِ َفٍَّ َّب لَ َشٔز‬ ‫َرجُىِ ُد وََر ِؼفُىِ ًَِِّٕخ وَرَىَ ُّشًِب‬ ‫َوَِب ِصٌْ َذ رَا َػفْىٍ ػَ ِٓ اٌزَِٔ ِت ٌَُِ رَضَ ْي‬ ( Ibn al- Jauziy , n.d.: 2 / 14 6 ) เม่ือหวั ใจของฉนั แขง็ กระดา้ งและหนทางของฉนั คบั แคบลง ฉนั ทาความหวงั ใหเ้ ป็นบนั ใดสู่การอภยั โทษจากพระองค์ บาปของฉนั ช่างใหญ่เหลือเกินแต่เมื่อฉนั เทียบมนั กบั การใหอ้ ภยั ของพระองค์ โอ้ พระเจา้ ของขา้ พระองค์ การใหอ้ ภยั ของพระองคน์ ้นั ยงิ่ ใหญ่กวา่ และพระองคย์ งั คงเป็นผทู้ รงใหอ้ ภยั จากบาป พระองคท์ รงกรุณาและทรงใหอ้ ภยั ดว้ ยความโปรดปรานและความเผอื่ แผ่ ในช่วงน้ีเอง ยนู ุส บิน อบั ดิลลาฮฺ ก็ไดเ้ ดินเขา้ มาหาทา่ น อิมามอชั ชาฟี อียจ์ ึงกล่าว กบั เขาวา่ ‚ โออ้ าบามซู า (ยนู ุส บิน อบั ดิลลาฮฺ) จงอ่านอลั กุรอานใหก้ บั ฉนั อายะฮ์ 120 ซูเราะฮ์ อลั อิมรอน และจงอ่านใหเ้ บา อยา่ อา่ นใหด้ งั ‛ ฉนั กไ็ ดอ้ า่ น ใหก้ บั ท่านและเมื่อฉนั ตอ้ งการลุกข้ึน ทา่ นก็กล่าววา่ ‚ อยา่ ลืมฉนั เพราะฉนั กาลงั เศร้าโศก‛ หรั มาละฮฺไดก้ ล่าววา่ อิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดก้ ล่าววา่ ‚เจา้ จงไปยงั อิดรีส อาบิด แลว้ บอกกบั เขาวา่ ใหเ้ ขาดุอาอฺต่ออลั ลอฮฺ  ใหก้ บั ฉนั ‛ อรั รอบีอฺไดก้ ล่าววา่ เมื่อถึงเวลามฆั ริบ ลูกพีล่ ูกนอ้ งของอิมามอชั ชาฟี อียไ์ ดก้ ล่าว วา่ เราจะลงไปละหมาด อิมามอชั ชาฟี อียก์ ็กล่าววา่ ‚เด่ียวพวกเจา้ มานง่ั และพวกเจา้ รอการออกของ วญิ ญาณของฉนั ‛ แลว้ เราก็ลงไปละหมาดหลงั จากน้นั เรากข็ ้ึนมา เราถามวา่ ท่านละหมาดรึยงั ?อิ มามอชั ชาฟี อียต์ อบวา่ ‚ละหมาดแลว้ ‛ หลงั จากน้นั ท่านกไ็ ดข้ อน้า ซ่ึงเวลาน้นั เป็นฤดูหนาว ลูกพ่ลี ูกนอ้ งของท่านกล่าววา่ ใหผ้ สมน้ากบั น้าร้อน อิมามอชั ชาฟี อียต์ อบวา่ ‚ ไมต่ อ้ งแตผ่ สมมนั กบั ซาฟัรญลั นิดนึง‛ แลว้ ท่านกไ็ ดเ้ สียชีวติ ลงหลงั อีซา อรั รอบีอฺ บิน สุไลมาน กล่าววา่ อิมามอชั ชาฟี อีย์ เสียชีวติ คืนวนั ศุกร์ วนั สุดทา้ ย ของเดือนราญบั ในปี 204 ฮิจรียะห์ เมื่ออายทุ า่ น 54 ปี ( Ibn Hajar al-Asqalaniy , 1310 H : 83-84 )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook