Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สพป. เขต 1 ยะลา

กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สพป. เขต 1 ยะลา

Published by Ismail Rao, 2020-06-28 09:19:21

Description: กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สพป. เขต 1 ยะลา

Search

Read the Text Version

(ก) คำนำ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการกาหนด แนวทางในการบริหารจัดการหลักสูตรไว้ ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาว่า “เขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นตัวกลางในการ ประสานความร่วมมือกับในโรงเรียนชุมชน ในการร่วมกันคิดและจัดทากรอบสาระการเรียนรู้ท้อถิ่น เพ่ือให้ สถานศึกษาในเขตพื้นท่ีใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในเร่ืองที่เกี่ยวกับท้องถ่ินในแง่มุมต่างๆ ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ฯลฯ เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้เร่ืองราวของชุมชนท้องถ่ิน ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อม ในชวี ิตจริงของตนเอง…” ดังนั้น บทบาทของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประการหนึ่งคือ การจัดทากรอบหลักสูตรเขตพ้ืนท่ี การศึกษา ซึ่งเป็นกรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ินข้ึน เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดทาหลักสูตร สถานศกึ ษา เอกสารกรอบหลักสูตรเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเล่มน้ี ได้จัดทาขึ้นเพ่ือวัตถุประสงค์ดังกล่าว หวังว่าคงให้ สาระสาคัญทีเ่ ป็นประโยชน์แก่สถานศกึ ษาในการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาตอ่ ไป กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1

(ข) สำรบญั หน้ำ คานา...................................................................................................................................................................... (ก) สารบญั ................................................................................................................................................................... (ข) บทที่ 1 บทนา....................................................................................................................................................... 1 1 ความเป็นมา ...................................................................................................................................... 1 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานจดั ทากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ้ งถิน่ ........................................................ 2 ทิศทางการพฒั นาการศึกษาสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1........... 5 บทที่ 2 เป้าหมาย/จุดเนน้ ในการพัฒนาการการจดั การศกึ ษา....................................................................... 7 บทท่ี 3 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น......................................................................................................................... 7 มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ดั ท่ีเกย่ี วข้องกบั สาระท้องถ่นิ .......................................................... 25 สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ ................................................................................................................... 34 บทท่ี 4 การประเมินคุณภาพการศกึ ษาระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษา................................................................ 38 บทที่ 5 การนากรอบหลกั สตู รระดับทอ้ งถิน่ ไปใชใ้ นการจัดการศกึ ษา ........................................................ คณะทางาน

1 บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำ จากการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สงั คม ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดแนวทางการการบริหารจัดการหลักสูตรระดับ ท้องถิ่น โดยให้สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา/สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา หรือหน่วยงาน ต้นสังกัดอ่ืนๆ ในระดับท้องถ่ิน มีบทบาทสาคัญ ดังน้ี 1) การเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และความต้องการของท้องถิ่นสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา และการจดั การเรียนการสอนใน ชนั้ เรียน 2) ภารกิจหลักในการขับเคลื่อนการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นให้เป็นไปอย่างมคี ุณภาพ และประสิทธิภาพ เพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นไปส่มู าตรฐานการเรียนรู้ ซ่งึ เปน็ เป้าหมายทก่ี าหนดไว้รว่ มกันในระดับชาติตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน และจะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน มีความรัก ภาคภูมิใจในบ้านเกิดเมือง นอนและท้องถ่ินของตนเอง 3) จัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ิน เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอน โดยสอดแทรกเรื่องเก่ียวกับชุมชนและท้องถิ่นตามท่ีกาหนดใน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีเก่ียวข้องกับท้องถ่ิน 4) ส่งเสริมสนับสนุน และช่วยเหลือสถานศึกษาให้จัดทา หลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ 5) พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นาวิชาการ และ พัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนรู้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ขั้นตอนกำรดำเนินงำนจัดทำกรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่น การกาหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น เพื่อให้สถานศึกษานาไปใช้จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้เก่ียวกับท้องถิ่นของตนเอง ทั้งในด้านความสาคัญ ประวัติความเป็นมา สภาพภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพ เศรษฐกิจ สังคม การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา ฯลฯ ตลอดจนสภาพ ปัญหาในชุมชนและสังคมนั้นๆ อันจะทาให้ผู้เรียนเกิดความรัก ความผูกพัน มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน ยินดีทจี่ ะร่วมสบื สานพฒั นาหรือแกไ้ ขปัญหาของท้องถิ่นนั้น สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ไดด้ าเนินการจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ ตามลาดบั ขัน้ ตอน ดังน้ี

2 1. แต่งตง้ั คณะกรรมกำร/คณะทำงำน แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทางาน ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูผู้สอน และผู้แทนชุมชน 2. วเิ ครำะห์ สงั เครำะห์ ขอ้ มลู จำกเอกสำรและแหล่งข้อมลู ตำ่ งๆ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ข้อมลู จากเอกสารและแหล่งข้อมูลตา่ งๆ อาทิ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 รวมทง้ั ศึกษาสภาพ แนวโนม้ การเปลยี่ นแปลง บรบิ ท สภาพปัญหา ความต้องการของ ทอ้ งถิน่ ชมุ ชน ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรยี นในพ้ืนที่ 3. ดำเนนิ กำรจัดทำกรอบหลกั สูตรระดับท้องถิ่น การดาเนนิ การจัดทากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถิน่ ให้มีคณุ ภาพ มีการวางแผนงานที่ชดั เจน เพ่อื ให้ เหน็ ภาพการทางานตลอดแนว ดว้ ยกระบวนการทางานแบบมีส่วนรว่ ม 4. ตรวจสอบกรอบหลกั สูตรระดับท้องถน่ิ การตรวจสอบกรอบหลกั สูตรระดับท้องถน่ิ ไดด้ าเนินการโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ท่ไี ดแ้ ต่งต้งั จากสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1 5. นเิ ทศ ตดิ ตำม ประเมนิ ผล กำรจัดกำรเรยี นรสู้ ำระกำรเรยี นรทู้ ้องถนิ่ การนิเทศ ติดตาม การนากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ้ งถ่นิ ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษายะลา เขต 1 ไปใชใ้ นการพฒั นาสถานศกึ ษา และการจดั การเรียนการสอนในชัน้ เรยี น ทศิ ทำงกำรพัฒนำกำรศกึ ษำ ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 มุ่งม่ัน พัฒนาการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ด้วยการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมบูรณาการ การจัดการศึกษาบนพ้ืนฐานของ ความรับผิดชอบที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การกาหนดทิศทางการจัดการศึกษา เป็นกระบวนการที่ บคุ ลากรทกุ ฝา่ ยตั้งปณธิ าน ที่จะพัฒนาการจดั การศึกษาไปสูความสาเร็จ โดยร่วมกนั ตรวจสอบ ทบทวน กลน่ั กรอง สร้างสรรค์ สภาพท่ีพึงประสงค์ เพื่อการกาหนด เป้าประสงค์ กลยุทธ์ จุดเน้น ให้สอดคลองกับบทบาท อานาจ หนา้ ท่ี ดังน้ี วิสยั ทัศน์ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑ เป็นองคก์ รที่มคี ณุ ภาพในการขับเคลื่อน การจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สมู าตรฐานระดับสากล บนพ้ืนฐานของความเป็นไทย

3 พันธกจิ 1. ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหป้ ระชากรวัยเรียนทกุ คน ไดรับการศึกษาอยา่ งทั่วถึงและมีคุณภาพผู้เรยี น มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสูตร 2. สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รูและบุคลาการทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาให้มอี งค์ความรู ทักษะ และ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานวชิ าชพี 3. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาท่ีเน้นการมสี ว่ นร่วม เพ่ือเสรมิ สร้างความรบั ผิดชอบ ต่อคุณภาพ การศึกษา เปำ้ ประสงค์ 1. นักเรียนกอ่ นระดับประถมศกึ ษามพี ฒั นาการท่ีเหมาะสมตามชว่ งวยั และไดสมดุล และนกั เรียน ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานทุกคน มพี ฒั นาการเหมาะสมตามช่วงวัยและมีคุณภาพ 2. ประชากรวัยเรยี นทุกคนไดรับโอกาสในการศึกษาข้นั พืน้ ฐานอยา่ งทัว่ ถงึ มีคุณภาพ และเสมอภาค 3. ครู ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศึกษาอนื่ มที ักษะทเี่ หมาะสม และมีวฒั นธรรมการ ทางานทม่ี ่งุ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ 4. สถานศึกษาไดรับการพฒั นาหลกั สตู ร พัฒนาผู้เรียน พัฒนาแหลงเรียนรู และสภาพแวดลอ้ มเออ้ื ต่อการเรียนรู้ 5. สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษา มีกลไกบริหารจัดการศกึ ษาท่ีมงุ่ เน้นประสทิ ธภิ าพ มีความเข็มแขง็ ตามหลักธรรมาภบิ าล ทุกภาคสว่ นสงั คมมีส่วนร่วมในการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา เพอ่ื ยกระดบั สูมาตรฐานสากล 6. การจัดการศึกษาในพื้นทีไ่ ดรับการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ตามอตั ลกั ษณ์ วิถีชีวติ และความตอง การเป็นพิเศษ ยุทธศำสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 : จดั การศึกษาเพอ่ื ความมัน่ คง ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนและส่งเสริมการจัดการศึกษา เพอื่ สรา้ งขีดความสามารถใน การแข่งขนั ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 : ส่งเสริมสนบสั นนุ การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรยี นรูอย่างมคี ุณภาพ ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 : จัดการศกึ ษาเพอื่ เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรมิตรกับสง่ิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 : พัฒนาระบบบริหารจดั การและสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา

4 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างความภาคภูมใิ จ ความจงรักภักดี ตอชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ และปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ความเปน็ ไทยและวิถีชีวติ ตามหลกั ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมและส่งิ แวดล้อม กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานตามหลักสูตร และ สงเสรมิ ความสามารถด้านเทคโนโลยี เพอ่ื เป็นเครือ่ งมอื ในการเรียนรู้ กลยุทธ์ท่ี 3 เพ่ิมโอกาสการเขา้ ถึงการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ และลดความเหลอื มล้าทางการศกึ ษา กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาคณุ ภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ กลยุทธ์ที่ 5 พฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทาง การศกึ ษา ตามหลักธรรมาภบิ าล เน้นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ น เพอื่ สนับสนุนการ จัดการศึกษาแบบประชารัฐ กลยุทธ์ท่ี 6 จัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างสันตสิ ุขในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้

5 บทที่ 2 เป้ำหมำย/จดุ เนน้ ในกำรพัฒนำกำรจัดกำรศกึ ษำ สำนักงำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำยะลำ เขต 1 เป้าหมาย/จดุ เนน้ ในการพฒั นาการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ในการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 มี ดังนี้ 1. สถานศกึ ษาทุกโรงจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาท่ีมงุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา 2. สถานศกึ ษาทกุ โรงยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรูและ ทกุ ช้ัน สาหรบั ผลการทดสอบ O-NET ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 และมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู (ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ และผลการทดสอบ NT ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 มี ความสามารถทง้ั 3 ด้าน (ด้านภาษา ดา้ นการคดิ ด้านเหตุผล) เพม่ิ ข้ึนจากฐานเดมิ ร้อยละ ๕ 3. สถานศึกษาทุกโรงมีการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในให้เขม้ แขง็ และมคี วามพรอม ในการรับการประเมนิ ภายนอก 4. สถานศึกษาทุกโรงพลิกโฉมโรงเรยี น นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 อา่ นออกเขียนไดใน 1 ป ตามแนวคิด BBL (Brain – Based Learning) นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน อา่ นออก เขยี นได ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 อ่านคลองเขียนคลอง และชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 อ่านเป็นเขียนเปน็ 5. สถานศึกษาทุกโรงมุ่งพฒั นาผ้เู รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรและปฏิบัติตาม คานยิ มหลกั 12 ประการ 6. สถานศกึ ษาทุกโรง พฒั นาสภาพแวดล้อมทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ให้สะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภยั และเป็นแหลงเรียนรู้ 7. ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคนในสถานศึกษาไดรบั การนเิ ทศ ตดิ ตาม และ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา อย่างน้อย 2 ครง้ั ตอ่ ปี 8. สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาและสถานศึกษาทกุ โรง จัดระบบการบรหิ ารจัดการด้านงบประมาณ ถกู ต้องตามระเบยี บของทางราชการ โปรงใส ตรวจสอบได และยดึ หลักธรรมาภิบาล 9. สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาและสถานศกึ ษารว่ มมือ สง่ เสรมิ และสนบัสนนุ การบรหิ ารจดั การใน ระบบเครอื ข่าย การบรหิ ารแบบกระจายอานาจและการมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง เป็น รปู ธรรมและมคี ุณภาพ 10. เสรมิ สรา้ งขวัญและกาลังใจขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคน ให้สามารถ ปฏบิ ัติงานไดอย่างเต็มศกั ยภาพ และมคี วามสขุ ในการทางาน และสรา้ งสรรค์งานอยา่ งมคี ุณภาพ 11. สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษาทุกโรง มผี ลงานที่เป็นเลศิ (Best Practice) อย่างนอ้ ย 1 กิจกรรม

6 12. สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา ส่งเสริม สนบั สนุนให้ครแู ละบคุ ลากรทางการ ศึกษา ไดรับการพัฒนาตามมาตรฐานวชิ าชพี อยา่ งน้อย 1 ครัง้ ตอ่ ปี

7 บทที่ 3 สำระกำรเรียนรู้ท้องถ่นิ สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน เป็นองค์ความรู้ และทักษะที่เขตพ้ืนที่การศึกษาพิจารณากาหนดและ พัฒนาขึ้น โดยพิจารณาจากสภาพภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การงานอาชีพ ภูมิปัญญาในท้องถ่ิน เพื่อปลกู ฝังผู้เรียนให้รู้จัก เข้าใจ มีความรักและหวงแหน มรดกทางสังคมของบรรพบุรุษมีความเป็นไทย เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม และสามารุดารงชีวิต ประกอบอาชีพ แก้ปัญหาการดาเนินชีวิตและพัฒนาสังคม ชุมชน สาระสาคัญของสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินในบทนี้ จะนาเสนอใน 2 ประการ คอื 1) การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2.) สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ กำรวิเครำะหม์ ำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ตำมหลกั สูตรกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 การวเิ คราะห์ดังกลา่ ว มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ พิจารณามาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด และสาระการเรยี นรู้ แกนกลางในกลุม่ สาระการเรียนรู้ วา่ มมี าตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางใด ไดร้ ะบุ ขอ้ ความเกีย่ วข้องกบั ทอ้ งถ่ินไว้บา้ ง ซ่ึงเป็นจดุ สาคญั ทส่ี ถานศึกษาตอ้ งพจิ ารณากาหนดสาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ สอดแทรก บูรณาการเข้าไป หรอื กาหนดเป็นรายวชิ าเพิม่ เตมิ ในการจัดทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และการจัดการเรยี น การสอน ผลจากการวิเคราะห์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1 ได้พจิ ารณากาหนด “สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน ” ไว้กวา้ งๆ ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง เพื่อเปน็ แนวทางให้สถานศึกษาไปพิจารณากาหนด“สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ ” ของสถานศึกษาในเชิงลึก ให้มคี วาม สอดคล้องกับบริบทการศึกษา และความตอ้ งการของชมุ ชน ในการจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษาและการจดั การเรียน การสอนต่อไป ซ่ึงมีรายละเอียดผลการวเิ คราะห์ เปน็ รายกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดงั นี้

8 1. กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระที่ 1 กำรอ่ำน มำตรฐำน ท1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้ และความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาเนินชีวิต และมวี สิ ัยรกั การอ่าน ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 3 ตัวชี้วดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ อ้ งถิ่น 1. ตั้งคาถามและตอบคาถามเชงิ * การอ่านจับใจความจากส่ือตา่ งๆ - นิทาน/เพลงพน้ื บ้านใน เหตุผลเกยี่ วกบั เร่อื งการอ่าน เชน่ ทอ้ งถ่ินทโ่ี รงเรยี นตงั้ อยู่ 2. ลาดาเหตุการณ์และคาดคะเน - นิทานเรื่องกบั ทอ้ งถิน่ - ชวี ิตประจาวันในท้องถิ่นเชน่ เหตุการณ์จากเรือ่ งทอี่ ่านโดย - เรอ่ื งเล่าสนั้ ๆ อาชพี ความเป็นอยู่ อาหาร ระบุเหตุผลประกอบ - บทเพลงและบทร้อยกอง การกิน งานประเพณี วัน 3. สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จาก - บทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สาคญั เรอื่ งท่ีอ่านไปใช้ชวี ติ ประจาวนั อืน่ - ขา่ วและเหตุการณ์ใน ชีวิตประจาวันในทอ้ งถ่นิ และชุมชน ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 6 ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถน่ิ - อา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คาสง่ั - การอ่านเขยี นเชิงอธิบาย คาส่งั - ขอ้ ตกลงในอยรู่ ่วมกันใน ขอ้ แนะนา และปฏิบัตติ าม ขอ้ เสนอแนะ และปฏิบัติตาม โรงเรียน - การใช้พจนานกุ รม - ข้อตกลงในการใชส้ ถานที่ - การปฏบิ ตั ติ นในการร่วมกนั ใน สาธารณะในชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน สงั คม - ขอ้ ตกลงในการอยู่ร่วมกนั ใน โรงเรยี น และการใชส้ ถานที่ สาธารณะในชมุ ชนและทอ้ งถิ่น

9 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระท่ี 3 กำรฟัง / กำรดู /กำรพูด มำตรฐำน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดง ความรู้ ความคิด และความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถน่ิ 1. พดู รายงานหรือประเด็นที่ * พดู รายงานการศกึ ษาค้นคว้า ความรูจ้ ากแหล่งเรียนรใู้ นชุมชนและ นักศึกษาจากการคน้ คว้าจากการ จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆในชมุ ชน ท้องถิ่น เช่น กานทาเสือ่ การทาสวน ฟงั การดู และการสนทาน และท้องถ่ินของตน ยาง เป็นต้น ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 3 ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ 1. พดู รายงานหรอื ประเดน็ ที่ * พดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ - ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินในท้องถน่ิ ที่ นักศึกษาจากการคน้ ควา้ จากการ เก่ยี วกับภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ โรงเรยี นต้งั อยู่ ฟัง การดู และการสนทาน - ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินในจงั หวดั ยะลา มำตรฐำนกำรเรียนรู้ : สำระท่ี 4 หลักกำรใชภ้ ำษำไทย มำตรฐำน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 3 ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถ่นิ 1. เลอื กใช้ภาษาไทยและภาษา * ภาษาไทยมาตรฐาน -โอกาสในการใช้ภาษาใต/้ ภาษา ถน่ิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ * ภาษาถิ่น มลายูท้องถิน่ ท่ีเหมาะสม ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 4 ตัวช้ีวัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ 1. เปรียบเทียบภาษาไทย * ภาษาไทยมาตรฐาน - การเปรยี บเทยี บการใชภ้ าษาไทย มาตรฐานกับภาษาถ่ินได้ * ภาษาถนิ่ กบั มลายูท้องถนิ่ ภาษาจนี ภาษาใต้

10 ตัวชี้วัด ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ 5 สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ 1. เปรยี บเทียบภาษาไทย สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง - การเปรียบเทียบการใช้ภาษาไทย มาตรฐานกับภาษาถิน่ * ภาษาไทยมาตรฐาน กับมลายูท้องถิน่ ฯลฯ * ภาษาถิน่ ตัวชี้วดั สำระกำรเรียนรทู้ ้องถน่ิ 1. ใชค้ าได้เหมาะสมกับ ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 6 - โอกาสในการใชภ้ าษาใต/้ ภาษา กาลเทศะและบุคคล สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง มลายทู ้องถ่ินทเ่ี หมาะสม * คาราชาศัพท์ * ระดบั ภาษา * ภาษาถน่ิ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระที่ 5 วรรณคดี และวรรณกรรม มำตรฐำน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง ตัวช้วี ัด ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 2 สำระกำรเรียนรูท้ ้องถน่ิ 1. รอ้ งบทรอ้ งเล่นสาหรบั เด็กใน สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง - บทรอ้ งเลน่ ในท้องถ่ินทโ่ี รงเรียน ทอ้ งถ่ิน * บทรอ้ งเลน่ ท่ีมีคุณค่า ตง้ั อยู่ - บทร้องเล่นในท้องถ่นิ - บทร้องเล่นในการละเลน่ ของ เด็กไทย

11 ช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถิ่น 1. ระบุขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอา่ น * วรรณคดี วรรณกรรม และ - นทิ านพ้ืนบ้าน วรรณกรรม เพื่อนาไปใชใ้ น เพลงพืน้ บา้ น - เพลงพ้นื บ้าน ชวี ิตประจาวนั - นิทานหรอื เร่อื งในท้องถ่ิน - วรรณกรรม 2. รจู้ กั เพลงพ้นื บ้านและเพลง - เรือ่ งส้ันต่างๆปริศนา คาทาย - ในทอ้ งถิ่นทโี่ รงเรยี นตั้งอยู่ หรือของ กลอ่ มเด็ก เพื่อปลกู ฝังตามช่นื - บทรอ้ ยกรอง จงั หวัดยะลา ชมุ วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ - เพลงพน้ื บ้าน 3.แสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั - เพลงกลอ่ มเด็ก วรรณคดที ี่อ่าน - วรรณกรรม และวรรณคดี ใน บทเรียน และตามความสนใจ ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 ตวั ช้วี ดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถน่ิ 1. แสดงความคิดเหน็ จาก * วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่ - นิทานพ้ืนบ้าน วรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอา่ น - นิทานพน้ื บ้านท้องถ่ินของ - บทร้อยกรองพน้ื บ้าน 2. เล่านิทานพน้ื บ้านท้องถ่นิ ของ ตนเองและท้องถิน่ (ในท้องถิน่ ทโ่ี รงเรียนต้ังอยู่หรือของ ตนเองและนทิ านพื้นบา้ นของ - นทิ านคตธิ รรม จังหวดั ยะลา) ท้องถ่นิ อืน่ - เพลงพน้ื บ้าน 3. อธบิ าย คณุ คา่ ของวรรรณคดี - วรรณคดี และวรรณกรรมใน และวรรณกรรมท่ีอา่ นและนาไป บทเรียนตามความสนใจบท ประยุกต์ใช้ไดใ้ นชีวิตจรงิ อาขยาน และบทร้อยกรองที่มี 4. ท่องจาบทอาขยานตามท่ี คณุ ค่า กาหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมี - บทอาขยานตามท่ีกาหนด คุณค่าตามสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ 1. สรุปเนอื้ หา วรรณคดแี ละ * วรรณคดี และวรรณกรรม - วรรณกรรมในทอ้ งถนิ่ ที่โรงเรยี น วรรณกรรมท่ีอา่ น เก่ียวกับ ตง้ั อยู่ - ศาสนา/ประเพณี/พิธีกรรม/ สุภาษติ คาสอน/เหตุการณ์ ประวตั ศิ าสตร์/บนั เทิงคดี/ บนั ทึกการเดนิ ทาง/วรรณกรรม ทอ้ งถ่ิน

12 ตัวชว้ี ัด ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 2 สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ 1. วิเคราะห์วิจารณว์ รรณคดี สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง - วิเคราะห์คณุ ค่าวรรณกรรมทอ้ งถิ่น และวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ท่ีอา่ น * วิเคราะห์คุณคา่ และข้อคดิ พร้อมยกเหตุผลประกอบ จากวรรณคดวี รรณกรรมและ วรรณกรรมท้องถนิ่ ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี 3 ตัวช้วี ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ 1. สรุปเนือ้ หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรม * วรรณคดวี รรณกรรมและ - วรรณกรรมท้องถิ่นทโี่ รงเรียนต้งั อยู่ ทอ้ งถน่ิ ในระดบั ยายยง่ิ ขึ้น วรรณกรรมท้องถิ่นเก่ียวกับ หรือของจังหวัดยะลา -ศาสนา/ประเพณี/พธิ กี รรม/ สภุ าษติ คาสอน/เหตุการณ์ ประวัติศาสตร/์ บนั เทิงคดี/ บนั ทกึ การเดนิ ทาง/วรรณกรรม ทอ้ งถน่ิ

13 2. กลมุ่ สำระกำรเรียนรสู้ ังคม ศำสนำ และวฒั นธรรม มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระท่ี 1 ศำสนำ ศีลธรรม จริยธรรม มำตรฐำน ส 1.1 ร้เู ขา้ ใจประวตั ิความ สาคญั ศาสนา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือ มีความศรัทธา ทถี่ ูกตอ้ ง ยดึ มนั่ และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมเพื่อ อยูร่ ่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุข ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 1 ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถ่นิ 1. วิเคราะหก์ ารกระทาของ * ตัวอยา่ งบคุ คลในท้องถิน่ หรือ - บุคคลสาคัญในท้องถิ่น/ในจังหวัด บคุ คลท่เี ปน็ แบบอยา่ งดา้ น ประเทศทป่ี ฏบิ ตั ิบัติตนเป็น ยะลา ศาสนา สมั พันธ์ และนาเสนอ แบบอย่างด้านศาสนาสัมพันธ์ แนวทางการปฏิบตั ิของตนเอง หรอื มผี ลงานดา้ นศาสนา สัมพันธ์ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ : สำระท่ี 2 หนำ้ ทพี่ ลเมืองวัฒนธรรม และกำรดำเนินชีวติ ในสังคม มำตรฐำน ส2.1 เข้าใจและปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมืองดีมคี ่านิยมที่ดีงาม และธารงรกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทยดารงชวี ิตอยู่รว่ มกนั ในสงั คมและสังคมโลก อยา่ งสนั ตสิ ขุ ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 3 ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ ้องถ่ิน 1. สรปุ ประโยชนแ์ ละปฏิบตั ิบัติ * ประเพณีและวฒั นธรรมใน - ประเพณี/วฒั นธรรม ตนตามประเพณี และวฒั นธรรม ครอบครัว เช่น การแสดงความ ในครอบครวั ในท้องถิ่น เชน่ ประเพณี ในครอบครวั และท้องถิ่น เคารพและการเช่ือฟังผู้ใหญก่ าร ทางศาสนาอิสลาม กระทากจิ กรรมรว่ มกันใน ครอบครวั * ประเพณีและวฒั นธรรมใน ทอ้ งถ่นิ เชน่ การเข้ารว่ ม ประเพณที างศาสนาประเพณี เกย่ี วกบั การดาเนนิ ชวี ติ ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิตน ตามประเพณีและวัฒนธรรมใน ครอบครวั และท้องถ่นิ

14 ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ ้องถิ่น 2. บอกพฤตกิ รรมการดาเนนิ ชีวิต * พฤตกิ รรมของตนเองและเพ่ือน ๆ - การปฏบิ ัตติ นตามวิถชี ีวติ ของตอนเอง และผู้อน่ื ที่อย่ใู นกระแส ในชีวิตประจาวัน เชน่ การทักทาย ในท้องถ่นิ วัฒนธรรมทหี่ ลากหลาย การทาความเคารพ การปฏบิ ัติ ตามศาสนพธิ ี การรบั ประทาน อาหาร การใชภ้ าษา (ภาษาถิ่นกบั ภาษาราชการและภาษาอ่ืนๆ) * สาเหตทุ ท่ี าใหพ้ ฤติกรรมการ 3. ยกตัวอยา่ งบคุ คลซึง่ มีผลงานที่ ดาเนนิ ชวี ิตในปจั จุบนั ของนักเรียน เป็นประโยชนแ์ ก่ชุมชนและท้องถิ่น กับผอู้ นื่ แตกตา่ งกนั * บุคคลทีม่ ีผลงานเป็นประโยชน์แก่ - บุคคลที่มผี ลงานทีเ่ ป็น 4. อธิบายความแตกตา่ งทางง ชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ ของตนลักษณะ ประโยชน์แกส่ ่วนรว่ มใน วัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถนิ่ ผลทเี่ ป็นประโยชน์แก่ชมุ ชนและ ทอ้ งถิ่น ทอ้ งถนิ่ * วัฒนธรรมในภาคต่าง ๆ ของไทย - วัฒนาธรรมของจังหวดั ทแ่ี ตกตา่ งกนั เช่น การแต่งกาย ยะลา ภาษา อาหาร ช้ันประถมศึกษำปีที่ 5 ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ ้องถ่ิน 1. สว่ นรว่ มอนุรักษแ์ ละเผยแพร่ภูมิ ความสาคญั ของภมู ิปัญญาท้องถ่นิ - ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินดา้ นตา่ ง ปญั ญา ท้องถ่นิ ของชุมชน - ตวั อยา่ งภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ใน ๆ เชน่ การเกษตร ชมุ ชน หตั ถกรรม เป็นตน้ - การอนรุ ักษแ์ ละเผยแพร่ภูมิ ปัญญาท้องถน่ิ ของชมุ ชน

15 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระที่ 2 หนำ้ ทพ่ี ลเมืองวัฒนธรรม และกำรดำเนินชีวิตในสงั คม มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจบุ ันยึดม่นั ศรทั ธา และธารงไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 2 ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น 2. ระบุมีบทบาท อานาจในการ * ผู้มีบทบาทอานาจในการ - บทบาทผ้นู าในท้องถนิ่ ตัดสินใจ ในโรงเรยี นและชุมชน ตัดสินใจ ในโรงเรยี นและชมุ ชน เช่น ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ผ้นู า ทอ้ งถนิ่ กานนั ผใู้ หญ่บา้ น ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 5 ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ 1. อธบิ ายโครงสรา้ ง อานาจ * โครงสร้างการปกครองใน - โครงสร้างการปกครองท้องถ่ินและ หนา้ ทแี่ ละความสาคญั ของการ ทอ้ งถน่ิ เชน่ อบต. อบจ. อานาจหนา้ ท่ีการเข้าดารงตาแหนง่ ปกครองสว่ นท้องถ่นิ เทศบาล และการปกครอง ของผบู้ รหิ ารในทอ้ งถิ่น พิเศษเช่น พทั ยา กรุงเทพมหานคร * อานาจหน้าทแี่ ละความสาคัญ ของการปกครองสว่ นท้องถิน่ 2. ระบบุ ทบาท หนา้ ท่ีและ * บทบาท หน้าทแ่ี ละวธิ ีการเขา้ - การเข้าดารงตาแหน่งของผู้บรหิ าร วธิ กี ารเข้าดารงตาแหน่งของ ดารงตาแหน่งของผู้บรหิ าร ในท้องถ่ิน ผู้บริหารท้องถ่ิน ทอ้ งถนิ่ เชน่ นายก อบต. นายกเทศมนตรี นายก อบจ. ผ้วู า่ ราชการ กทม. 3. วิเคราะหป์ ระโยชน์ทชี่ ุมชนจะ * องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ - องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ได้รบั จากองค์กรปกครองสว่ น กบั บริการสาธารณประโยชนใ์ น ทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน

16 ตวั ชว้ี ัด ช้นั ประถมศึกษำปที ่ี 6 สำระกำรเรียนรูท้ อ้ งถิ่น สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง 1. เปรียบเทยี บ บทบาทหนา้ ท่ขี อง - บทบาทหน้าที่องค์กร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ * บทบาทหน้าท่ีขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ิน เชน่ รฐั บาล ปกครองส่วนท้องถ่ิน และรัฐบาล สภาตาบล 2. มสี ่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่ - ประชาธิปไตยในท้องถน่ิ สง่ เสริมประชาธปิ ไตยในส่วนท้องถ่ิน * กิจกรรมต่างๆ เพ่ือสง่ เสริม และประเทศ ประชาธิปไตยในสว่ นท้องถนิ่ และ ประเทศ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ : สำระที่ 3 เศรษฐศำสตร์ มำตรฐำน ส3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลติ และบริโภค การใช้ ทรพั ยากรที่มีอยจู่ ากัดได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและคุม่ คา่ รวมทั้งเข้าใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื การ ดารงชีวติ อย่างมดี ลุ ยภาพ ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 5 ตัวช้วี ัด ตัวชว้ี ัด ตวั ชว้ี ดั 1. อธิบายการผลติ สินคา้ และ * ตวั อย่างการผลติ สินคา้ และ บรกิ าร บรกิ ารท่ีมีอยู่ในท้องถ่ิน หรอื แหลง่ ผลติ สินคา้ และบริการใน ชมุ ชน 2. ประยกุ ต์ใช้แนวคดิ ของ * การประยุกตใ์ ช้ปรัชญาของ - การผลิตและบริการสินค้าใน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการ เศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรม ทอ้ งถ่ิน ทากิจกรรมต่างๆ ของครอบครัว ตา่ งๆของครอบครวั โรงเรยี น - การใชภ้ ูมิปญั ญาท้องถ่ิน โรงเรียนและชุมชน และชุมชน เชน่ การประหยัด พลงั งาน และ ค่าใช้จา่ ยในบ้าน โรงเรยี นการวางแผนการผลติ สนิ คา้ และบริการเพื่อลดความ สูญเสียทุกประเภท การใช้ภมู ิ ปัญญาท้องถน่ิ ตัวอย่างเชน่ การ ผลติ สนิ คา้ และบริการในชุมชน เช่น หนึ่งตาบลหน่ึงผลติ ภณั ฑ์ หรอื OTOP

17 ตัวชว้ี ัด ชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ 2 สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน 1. อธบิ ายปัจจัยการผลิตสนิ ค้า - การผลติ สนิ ค้าในท้องถน่ิ และ บริการและปจั จยั ท่ีมี สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง อทิ ธพิ ลต่อการผลติ สนิ คา้ และ - ปัญหาการผลติ และบรกิ ารสนิ คา้ บริการ * ความหมายความสาคัญและ ในทอ้ งถิน่ หลักการผลติ สนิ ค้าและบริการ 2. เสนอแนวทางการพฒั นาการ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถ่ิน ผลติ ในท้องถ่ิน ตามปรชั ญาของ * สารวจการผลิตสินคา้ ใน - สภาพปัญหาในท้องถิน่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ท้องถ่ินว่ามอี ะไรบ้างใชว้ ธิ ีการ ผลติ อย่างไรมีปญั หาใดบา้ ง ตวั ชว้ี ัด * มกี ารนาเทคโนโลยีอะไรมาใช้ 1. มสี ่วนรว่ มในการแกป้ ญั หา ทมี่ ีผลต่อการผลติ สนิ คา้ และ และพฒั นาท้องถ่ิน ทัง้ ทางด้าน บรกิ าร สงั คมเศรษฐกจิ และสิ่งแวดล้อม * นาหลักการผลิตสินคา้ และ บรกิ ารในท้องถิ่น ทั้งดา่ น เศรษฐกจิ สังคมและสง่ิ แวดล้อม * หลักการและเป้าหมายของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สารวจและวิเคราะหป์ ัญหาการ ผลติ สนิ คา้ และบริการในท้องถิ่น * ประยกุ ต์ใช้ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียงในการผลติ สินคา้ ชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี 3 สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง * สารวจสภาพปจั จุบนั ปญั หา ท้องถน่ิ ท้ังทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดล้อม * วเิ คราะห์ปัญหาท้องถน่ิ โดย ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง * ทางแก้ไขและพัฒนาทอ้ งถิ่น ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

18 3. กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ สุขศึกษำ และพลศกึ ษำ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ : สำระที่ 3 กำรเคล่ือนไหว กำรออกกำลงั กำย กำรเล่นเกม กฬี ำไทย และกฬี ำสำกล มำตรฐำน พ. 3.2 รกั การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจา อยา่ งสม่าเสมอ มวี นิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีนา้ ใจนกั กีฬา มีจิตวญิ ญาณในการแขง่ ขนั และช่นื ชมใน การ สนุ ทรยี ภาพของการกีฬา ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ 3 ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถ่นิ 1. เลือกการออกกาลังกาย * แนวทางการเลอื กออกกาลงั - การละเลน่ พน้ื เมอื ง การละเล่นพ้นื เมอื ง และการเล่น กาย การละเล่นพืน้ เมือง และ เกมที่เหมาะกบั จุดเดน่ จดุ ด้อย เล่นเกมท่ีเหมาะสมกับจดุ เด่น และข้อจากดั ของตนเอง จุดดอ้ ย และข้อจากัดของแตล่ ะ บุคคล 2. ปฏิบัติตามกฎ กตกิ า และ * การออกกาลงั กาย เกม และ - การละเล่นพืน้ เมือง ข้อตกลงการออกกาลังกาย การ การละเล่นพ้นื เมือง เลน่ เกม การละเลน่ เกม * กฎ กตกิ า และขอ้ ตกลงในการ การละเลน่ พนื้ เมืองได้ด้วยตนเอง ออกกาลงั กาย การเล่นเกม และ การละเล่นพนื้ เมือง ช้นั ประถมศึกษำปีที่ 5 ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรทู้ อ้ งถิ่น - การละเลน่ พืน้ เมือง 1. ออกกาลังกายอย่างมี * หลักการรูปแบบการออกกาลงั รูปแบบเลน่ เกมที่ใชท้ กั ษะคดิ กาย และตัดสินใจ * การออกกาลงั กายและการเล่น เกม เช่น เกมเบด็ เตล็ด เกมเลียบ แบบ เกมนา และการละเล่น พ้ืนเมือง

19 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระท่ี 4 กำรสร้ำงเสริมสขุ ภำพ สมรรถภำพและกำรป้องกันโรค มำตรฐำน พ4.1 เหน็ คุณคา่ และมีทักษะในการสรา้ งเสรมิ สนทรียภ์ าพ การดารงสุขภาพ การ ปอ้ งกันโรค และการเสริมสมรรถภาพเพอื่ สขุ ภาพ ช้นั มธั ยมศึกษำปที ี่ 3 ตวั ชว้ี ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่นิ 1. รวบรวมขอ้ มลู และเสนอ * ปญั หาสุขภาพในชมุ ชน - ปญั หาสุขภาพในชมุ ชนทโ่ี รงเรียน ตั้งอยู่ แนวทางแก้ไขปัญหาสขุ ภาพ * แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพใน ในชุมชน ชมุ ชน

20 มำตรฐำนกำรเรียนรู้ : สำระท่1ี ทัศนศิลป์ มำตรฐำน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมเห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ สากล ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ 2 ตัวชี้วดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่ิน 1. อภปิ รายเกี่ยวกบั งานทัศนศลิ ป์ * งานทศั นศลิ ปใ์ นทอ้ งถนิ่ - ศลิ ปะในท้องถิ่น ประเภทต่างๆ ในทอ้ งถ่นิ โดยเนน้ ถงึ วิธกี ารสร้างงานและวัสดุ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 1 ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ 1. ระบแุ ละบรรยายเกี่ยวกบั * ลกั ษณะ รูปแบบงาน ทัศนศลิ ป์ - ศลิ ปะในท้องถิ่น ลกั ษณะรปู แบบงานทัศนศลิ ป์ของ ของชาติและท้องถ่นิ ชาตแิ ละท้องถน่ิ ตนเองจากอดีต จนถงึ ปัจจุบนั 4. กลมุ่ สำระกำรเรียนศิลปะ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระท่ี 2 ดนตรี มำตรฐำน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรปี ระวตั ศิ าสตร์ และ วฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ตัวชว้ี ดั ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ 1 สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถนิ่ สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง

21 1. เล่าถงึ เพลงในทอ้ งถ่ิน * ทีม่ าขอชงบัน้ ทปเรพะลถงมใศนกึทษอ้ ำงถป่นิีท่ี 2 - เพลงในทอ้ งถ่นิ 2. ระบสุ ่งิ ทต่ีชัวน่ื ชชว้ี อัดบในดนตรี * ความนา่สสำนรใะจกขำอรงเรบยี ทนเพรู้แลกงนกลำง - เพลงสใำนรทะ้อกงำถรนิ่เรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ 1.มอทบอ้ คงถวนิ่ามสัมพันธ์ของเสยี งร้อง * บทบาทในท้องถ่นิ เพลงในท้องถน่ิ เสียงเครือ่ งดนตรีในเพลงทอ้ งถิน่ โดย - ลักษณะของเสียงร้องในบทเพลง ใชค้ างา่ ย ๆ - ลักษณะของเสียงเครื่องดนตรีท่ีใช้ ในบทเพลง ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ 3 ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถน่ิ 1. ระบุลักษณะเดน่ และเอกลักษณ์ * เอกลกั ษณ์ในท้องถิ่น - ดนตรีและเพลงในท้องถ่นิ ของดนตรีในท้องถ่นิ - ลกั ษณะเสียงร้องดนตรีในท้องถนิ่ - ดนตรแี ละเพลงในท้องถน่ิ - เครอ่ื งดนตรแี ละวงดนตรีในท้องถ่นิ 2. ระบุความสาคญั และประโยชน์ * ดนตรีกับการดาเนนิ ชีวิตในทอ้ งถน่ิ ของดนตรีตอ่ การดาเนินชีวติ ของคน - ดนตรใี นชวี ติ ประจาวัน ในทอ้ งถนิ่ - ดนตรใี นวาระสาคญั ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี 4 ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถน่ิ 1. บอกแหลง่ ท่ีมาและความสัมพันธ์ * ความสมั พนั ธ์ของวถิ ชี วี ติ กับผลงาน - ดนตรแี ละเพลงในทอ้ งถน่ิ ของวถิ ชี ีวติ ไทยท่ีสะทอ้ งในดนตรี ดนตรี และเพลงทอ้ งถ่นิ - เนอ้ื หาเร่ืองราวในบทเพลงกับวิถี สำระกำรเรยี นรู้ท้องถน่ิ ชวี ติ - ดนตรีและเพลงในทอ้ งถน่ิ ตวั ช้วี ัด - โอกาสในการบรรเลงดนตรี 1. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่าง ดนตรกี ับประเพณีในต่างวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 5 ตา่ ง ๆ สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง * ดนตรกี บั งานประเพณี - บทเพลงฝนงานประเพณใี นทอ้ งถิ่น - บทบาทของดนตรีแตล่ ะประเพณี

22 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระท่ี 3 นำฏศลิ ป์ มำตรฐำน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสร้างสรรคว์ เิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลปถ์ า่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอิสระช่ืนชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 4 ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ 1. แสดงการเคล่ือนไหวใน * การประดิษฐ์ทา่ ทางหรือทา่ รา - นาฏศลิ ปใ์ นท้องถ่ิน จงั หวะตา่ งๆตามความคดิ ของ ประกอบจังหวะพน้ื เมือง มตำนตรฐำนกำรเรียนรู้ : สำระท่ี 3 นำฏศลิ ป์ ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี 6 ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถิน่ 1. สรา้ งสรรค์ความเคล่ือนไหว * การประดิษฐ์ท่าทางประกอบ - นาฏศิลปใ์ นท้องถิน่ และการแสดงโดยเนน้ การ เพลงปลุกใจ หรือเพลงพ้นื เมือง ถา่ ยทอดลลี า หรืออารมณ์ หรือท้องถิน่ เนน้ ลีลาหรอื อารมณ์ มำตรฐำน ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติสาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เหน็ คุณค่าของ นาฏศลิ ป์ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ภมู ิปัญญาไทย และสากล ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 2 ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถน่ิ 1. ระบุและเลน่ การละเล่น - การละเล่นพื้นบา้ น - การละเล่นในท้องถนิ่ พ้ืนเมือง - วธิ ีการเล่น - กติกา 2. เชอื่ มโยงสิง่ ทพี่ บเหน็ ใน * ทีม่ าของการละเล่นพ้นื บา้ น - การละเล่นในท้องถิ่น การละเลน่ พ้นื บ้านกับส่งิ ที่พบ เหน็ ในการดารงชวี ติ ของคนไทย 3. ระบุส่ิงทช่ี นื่ ชอบและ * การละเล่นพน้ื บ้าน - การละเลน่ พืน้ บา้ น ภาคภูมใิ จในการละเล่นพืน้ บ้าน

23 ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี 3 ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถน่ิ 1. เล่าการแสดงนาฏศลิ ป์ทีเ่ คย เห็นในท้องถน่ิ * การแสดงนาฏศลิ ป์พ้ืนบ้าน - นาฏศลิ ปใ์ นทอ้ งถ่ิน หรือทอ้ งถิ่นของตน ตวั ชว้ี ัด ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 4 สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถิ่น 1. เปรียบเทยี บการแสดง สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง - นาฏศลิ ป์ในทอ้ งถิ่น นาฏศลิ ป์กบั การแสดงท่ีมาจาก * การชมการแสดง วัฒนธรรมอืน่ - นาฏศิลป์ - การแสดงทอ้ งถนิ่ ตัวชว้ี ัด ชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ 5 สำระกำรเรียนรูท้ อ้ งถน่ิ 1. เปรียบเทยี บการแสดง สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง - นาฏศิลป์ในท้องถิ่น ประเภทต่างๆของไทยในแตล่ ะ * การแสดงนาฏศลิ ปป์ ระเภท ท้องถ่ิน ตา่ งๆ - การแสดงพน้ื บา้ น ตัวชว้ี ัด ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง - นาฏศิลปใ์ นทอ้ งถิ่น 1. ระบปุ จั จยั ท่มี ผี ลต่อการ * ปัจจัยท่ีมีผลต่อการ เปลย่ี นแปลงของนาฏศลิ ป์ เปลี่ยนแปลงของ นาฏศิลป์ พน้ื บ้าน ละครไทย และละคร พน้ื บ้าน ละครไทยและละคร พ้ืนบา้ น พ้นื บ้าน ตัวชีว้ ดั ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 2 สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ 1. เปรียบเทยี บลกั ษณะเฉพาะ สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง - นาฏศลิ ปใ์ นทอ้ งถนิ่ ของการแสดงนาฏศลิ ปจ์ าก * นาฏศลิ ปพ์ ้ืนเมือง วัฒนธรรมตา่ งๆ - ความหมาย ท่มี า วฒั นธรรม ลกั ษณะเฉพาะ

24 5. กลุม่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำต่ำงประเทศ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ : สำระที่ 4 ภำษำกบั ควำมสัมพนั ธ์กับชมุ ชนและโลก มำตรฐำน ต 4.2 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเปน็ เคร่ืองมือพน้ื ฐานในการศกึ ษาต่อการ ประกอบอาชีพ และการแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับสังคมโลก ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 3,ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี 6 ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถิน่ 1. เผยแพร/่ ประชาสมั พนั ธ์ * การใชภ้ าษาตา่ งประเทศใน - การเผยแพร่ / ประชาสมั พันธส์ ง่ิ ข้อมูลข่าวสารในโรงเรยี นชมุ ชน การเผยแพร่ / ประชาสมั พันธ์ ตา่ งๆในท้องถน่ิ เป็น และท้องถ่ินเป็น ขอ้ มูลขา่ วสารในโรงเรยี นชมุ ชน ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ และท้องถน่ิ เชน่ การทาหนงั สือ เล่มเลก็ แนะนารงเรียนชุมชน และท้องถ่นิ การทาแผ่นปลิว ปา้ ยคาขวัญ คาเชญิ ชวนแนะนา โรงเรียน และสถานทสี่ าคัญใน ชมุ ชนละท้องถิ่น การนาเสนอ ขอ้ มลู ขา่ วสารในโรงเรยี นชมุ ชน และท้องถ่ินเป็นภาษาอังกฤษ

25 สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถ่นิ 1. ภมู ศิ ำสตรจ์ งั หวัดยะลำ 1.1 สภำพภมู ศิ ำสตรท์ ่วั ไป พ้นื ที่ส่วนใหญ่ของจังหวดั ยะลา มลี ักษณะเป็นภเู ขา เนินเขา หุบเขาต้งั แตต่ อนกลางจนถึงตอนใต้สุด ของจังหวัด มีทร่ี าบบางส่วนทางตอนเหนือของจังหวัด ได้แก่ บริเวณทร่ี าบแมน่ ้าปัตตานี และแม่น้าสายบุรีไหลผ่าน พ้นื ท่ีอยูส่ งู กวา่ ระดับนา้ ทะเลปานกลางถึงสูงมาก พน้ื ที่ส่วนใหญ่ปกคลุ่มดว้ ยปา่ ดงดิบ และสวนยางพารา 1.2 ภมู อิ ำกำศ จังหวัดยะลาต้ังอยู่ในเขตมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ มีสภาพอากาศ ร้อนช้ิน มฤี ดู 2 ฤดู ได้แก่ ฤดรู อ้ นและฤดูฝน 1.3 ภเู ขำ จงั หวดั ยะลา มเี ทอื กเขาสาคัญอยู่ 2 เทือกเขา คอื 1.3.1 เทือกเขำสันกำลครี ี เริม่ ตน้ จากอาเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปตั ตานี ผ่านอาเภอยะหา อาเภอ บนั นงั สตา อาเภอธารโต และอาเภอเบตง จังหวดั ยะลา ลกั ษณะเป็นสันเขาแนวยาวกน้ั พรมแดนระหวา่ งประเทศไทย กบั ประเทศมาเลเซยี 1.3.2 เทือกเขำปโิ ล อยู่ระหว่างตาบลบดุ ี ตาบลบนั นังสาเรง และตาบลกรงปีนงั อาเภอเมอื ง ยะลา จังหวดั ยะลา ลักษณะเป็นเทอื กเขาตดิ ต่อกบั อาเภอรามนั 1.4 แมน่ ้ำ มีแม่นา้ สาคัญไหลผ่านจังหวัดยะลา ได้แก่ 1.4.1 แมน่ ้ำปัตตำนี ต้นนา้ เร่มิ จากเขตอาเภอเบตง ไหลผ่านอาเภอธารโต อาเภอบนั นงั สตา และ อาเภอเมอื งยะลา ไหลผา่ นอาเภอยะรัง อาเภอหนองจิก ลงสู่ทะเลปากอา่ วทีอ่ าเภอเมอื งปัตตานี มคี วามยาว 190 กิโลเมตร และเนื่องจากบรเิ วณพื้นทีอ่ าเภอเบตง อาเภอบนั นงั สตา และอาเภอธารโต ท่ีแม่น้าปตั ตานีไหลผา่ น มีภูมิ ประเทศทเ่ี ป็นภูเขาสูงสลับซบั ซ้อน การไฟฟา้ ผลติ แห่งประเทศไทย จงึ ไดก้ ่อสร้างเขอ่ื นบางลาง ข้ึนทตี่ าบลบาเจาะ อาเภอบันนงั สตา จงั หวัดยะลา 1.4.2 แมน่ ำ้ สำยบรุ ี ต้นน้าเกดิ จากภูเขาสันกาลาคีรีก้นั พรนแดนระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศ มาเลเซีย ไหลผ่านอาเภอรอื เสาะ จังหวัดนราธวิ าส ผ่านอาเภอรามัน จังหวดั ยะลา ลงสทู่ ะเลท่ีอาเภอสายบรุ คี วาม ยาว 170 กโิ ลเมตร 1.5 ทรัพยำกรธรรมชำติ ทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ าคญั ของจงั หวดั ยะลา เช่น หนิ อ่อน แร่วลุ แฟรม ป่าไม้ เป็นต้น

26 2. ประวตั ิศำสตรจ์ ังหวัดยะลำ คาว่า “ยะลา” มาจากภาษาพน้ื เมืองเดิมวา่ “ยะลอ” เพราะสถานท่ีตั้งเมอื งเดิม คือ บา้ นยะลอ ต่อมาได้มี การย้ายมาต้ังเมอื งใหม่หลายครงั้ ในท่ีสุดมาต้ังบ้านนิบง ตาบลสะเตง อาเภอเมืองยะลา ตราบเท่าทุกวนั นี้ ดนิ แดน อันเป็นทตี่ ้งั ของจงั หวดั ยะลาในปัจจุบัน แตเ่ ดิมจะเป็นท้องท่ีบรเิ วณหนึง่ ของเมอื งปัตตานีซ่ึงในปลายปี พ.ศ. 22475 ได้ประกาศยกเลิกมณฑลปัตตานี และได้มีการปรับปรุงการปกครองหัวเมืองตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475 จัดบริหารราชการส่วนภูมภิ าคออกเปน็ จงั หวดั และอาเภอ มขี า้ หลวงประจาจังหวัด และกรมการจังหวดั เปน็ ผู้บรหิ ารในฐานะจงั หวดั หนงึ่ ของประเทศไทยสบื ทอดมาจนถึงปจั จุบนั 3. เศรษฐกิจจังหวดั ยะลำ จังหวัดยะลา เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไทย ไม่มีพ้ืนที่ติดทะเล ไม่มีพื้นท่ีติดทะเล ภาวะด้าน เศรษฐกิจข้ึนอยู่กับผลิตผลด้านการเกษตรกรรมเป็นสาคัญ รองลงมา คือ การปศุสัตว์ การประมงน้าจืด การ อตุ สาหกรรม และการคา้ ชายแดน 3.1 กำรเกษตรกรรม พชื เศรษฐกิจทส่ี าคญั คือ ยางพารา ทุเรียน ลองกอง นอกจากนีย้ ังมีการปลูกไม้ ผลอื่นๆ พืชผักสวนครวั และการทานา 3.2 กำรเล้ียงสตั ว์ มกี ารเลยี้ งโค กระบอื ไก่ แพะ แกะ ด้านการประมง มีการจบั สตั วน์ า้ ที่เป็นแหลง่ สาคัญ คอื อา่ งเกบ็ นา้ เข่ือนบางลาง สาหรบั การเลย้ี งปลา มกี ารเลีย้ งปลาทง้ั ในบอ่ และในกระชงั 3.3. กำรอุตสำหกรรม ส่วนใหญ่เปน็ อุตสาหกรรมขนาดกลาง เชน่ การแปรรูปไมย้ างพารา โรงงานน้า ยางดิน โรงรมควันยาง โรงงานหล่อโลหะ โรงโม่หิน โรงงานหนิ ออ่ น 3.4 กำรค้ำชำยแดนไทย-มำเลเซีย มีการค้าขายแดนไทย-มาเลเซยี สนิ ค้าสง่ ออกสาคญั คือ ยางแผน่ รมควัน นา้ ยางข้น ไมย้ างพาราแปรรูป และผลไม้ สนิ คา้ นาเขา้ เช่น เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ์ไม้แปรรูปชนดิ ต่างๆ 3.5 กำรทอ่ งเที่ยว การท่องเท่ียวของจงั หวดั ยะลา นักท่องเท่ยี วส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลเซยี สิงคโปร์ 4. อำชพี ทำงกำรเกษตร อาชพี เฉพาะทส่ี าคัญๆ ในจังหวัดยะลา มีดังนี้ 4.1 อำชีพทำงกำรเกษตร อาชพี ทางการเกษตรเปน็ อาชพี หลกั ของชาวจังหวัดยะลา ส่วนใหญม่ ี อาชพี ทาสว่ น เชน่ สวนยางพารา สวนผลไม้ เชน่ ลองกอง ทุเรยี น มังคุด สว่ นอาชพี ทางการเกษตรอน่ื ๆ เช่น การ เลี้ยงสตั ว์ 4.2 อำชพี คำ้ ขำย อาชีพค้าขายสว่ นใหญ่ เป็นธุรกจิ คา้ ขายขนาดกลาง และขนาดเลก็ 4.3 อำชพี อตุ สำหกรรม ส่วนใหญเ่ ปน็ การประกอบธรุ กิจขนาดกลาง และขนาดเลก็ และเป็นการ ประกอบธรุ กจิ ภายในครัวเรือนเปน็ ส่วนใหญ่

27 5. สถำนทีส่ ำคัญจังหวดั ยะลำ สถานท่ีสาคัญในจังหวัดยะลา ที่ควรนามาจัดเป็นสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินให้นักเรียนได้เรียนรู้ควรเป็น สถานทท่ี ่มี คี วามสาคญั ในการดารงชวี ิต ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีสาคัญสาคัญๆ หรือกล่าววา่ เป็นสถานทที่ ่สี ง่ ผล ให้การดาเนินชีวิตของคนในชุมชนเป็นไปในทางที่ดี มีความสงบสุขในชีวิต ครอบครัว ชุมชน โดยส่วนรวมตั้งแต่ใน ระดบั หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และจงั หวดั ที่ ทนี่ าเสนอในท่นี ่ีเปน็ เพียงตัวอย่างหนงึ่ เปน็ แนวทางแกโรงเรียน ดังนี้ 5.1 ศำลเจ้ำพ่อหลักเมือง ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองยะลา ต้ังอยู่ในกลางวงเวียนหน้าศาลากลางจังหวัด เป็นท่ีสักกาบูชา เคารพนับถือของชาวจังหวัดยะลา โดยประมาณปลายเดือน พฤษภาคม มีงานสมโภชเจ้าพ่อหลัก เมอื ง ซ่ึงเปน็ งานเทศกาลประจาปีงานหนงึ่ ของภาคใต้ นอกจากนี้ศาลเจ้าพอ่ หลกั เมืองยะลายังเปน็ จุดศูนย์กลางของ ผังเมืองรปู ใยแมงมมุ ซงึ่ มีคาว่าเมืองยะลา เป็นเมืองท่ีมผี งเมอื งสวยที่สดุ ในประเทศ 5.2 วัดคูหำภิมุข เป็นวัดเก่าแก่ สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2399 มีปูชนียวัตถุสาคัญ คือ พระ พทุ ธไสยาสน์องค์ใหญ่ สร้างสมยั ศรีวชิ ัย ประมาณ 1.300 ปีเศษ ประดิษฐ์ฐานอยู่ในถา้ เป็นปูชนียวัตถุสาคัญที่เป็น ที่เคารพสักการะของประชาชนใน 4 จังหวดั ภาคใต้ และจังหวดั ใกลเ้ คยี ง 5.3 วัดพุธภูมิ เป็นวัดที่สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2474 ได้รับพระราชทานเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2523 เป็นวดั คเู่ มอื งของจังหวัดยะลา 5.4 ถ้ำศิลป์ ตั้งอยู่ในภูเขาบ้านบันนังลูวา ตาบลหน้าถ้า อาเภอเมืองยะลา ห่างจากวัดคูหาภิมุขไป ประมาณ 500 เมตร ภายในถา้ มีภาพเขยี นสีนา้ มันทฝี่ าผนงั ถ้า และเพดานถา้ เปน็ ศลิ ปะ โปราณสมยั ศรวี ิชยั 5.5 พระมหำธำตุเจดีย์พระพุทธประกำศ ต้ังอยู่บนเนินเขาในตัวเมืองเบตง บริเวณวัดพุทธาธิวาส ถนนรัตนกจิ ลักษณะเจดีย์ก่อสร้างแบบศรีวิชัยประยุกต์ สีทองอรา่ ม สูง 39.9 เมตร บรรจุพระบรมสารีริกธาติสร้าง ขน้ึ เพ่ือเฉลิมฉลองถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสพระชนมายุครบ 60 พรรษา จากเจดีย์ สามารถมองเหน็ ทศั นียภาพของวัดและเมืองเบตงอีกมุมหนึ่งไดส้ วยงาม 5.6 มัสยิดกลำงจังหวัดยะลำ มัสยิดกลางจังหวัดยะลา มีประวัติการก่อสร้างเม่ือ พ.ศ. 2497 โดย นายอุสมาน ดอเหะ ได้บริจาคที่ดิน 3,125 ตารางวา ให้สร้างมัสยิดขึ้นที่บ้านตลาดเก่า ถนน สิโรรส อาเภอเมือง อาเภอเมืองยะลา แล้วตัง้ ใหห้ ะยีอับดุลซอมดั ทาหน้าทอี่ ิหมา่ น ตั้งช่ือว่า “มัสยิดเราฎอตลุ ยนั นะห์” เปน็ อาคารช้ัน เดียว ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 รัฐบาลให้เงินสนับสนุนร่วมกับการบริจาคของประชาชนขยายมัสยิดให้ใช้พ้ืนที่ได้มาก ข้นึ และในปี พ.ศ. 2522 ได้รัฐบาลได้ให้งบประมาณแผ่นดิน ซ้ือท่ีดินเพ่ิมอีก 300 ตาราง มัสยิดกลางจังหวัดยะลา เปิดใชป้ ระกอบพธิ ีทางศาสนาของประชากรไทยมสุ ลิมในปี พ.ศ. 2526 เปน็ ตน้ มา 5.7 มัสยดิ อัลนูร-มัรกสั ยะลำ มัสยิดอัลนรู -มรั กัสยะลา ตัง้ อยู่หมู่ท่ี 3 ตาบลสะเตงนอก อาเภอเมือง จงั หวัดยะลา เปน็ ศูนย์กลางการบรหิ ารของกลุ่มดะวะหใ์ นจงั หวัดชายแดนใต้ของไทยจัดตงั้ ข้ึนในปี พ.ศ. 2536 5.8 ถ้ำแม่นำงมณโฑ อยู่ห่างจากตัวเมืองยะลาประมาณ 6 กิโลเมตร บนถนนสายยะลา-ยะหา หรือ ถึงก่อนวัดถ้าคูหาภิมุขเพียง 1 กิโลเมตร สามารถติดต่อคนนาทางได้ท่ีเชิงเขา และเดินเท้าขึ้นเขาผ่านป่าละเมาะ และเหมืองหินอ่อนไปยังถ้าราว 15 นาที ภายในถ้าคล้ายห้องโถงใหญ่มีทางเดินทะลุกันได้ บางช่วงมืดมากจึง

28 จาเป็นต้องนาไฟฉายติดตัวไปด้วย จุดเด่นอยู่ท่ีสุดปลายถ้า ซึ่งมีหินงอกขนาดสูงใหญ่ มีลักษณะคล้ายผู้หญิงน่ัง สมาธิ ซง่ึ เป็นท่ีมาของชือ่ ถ้าแหง่ น้ี 5.9 ตลำดท่ำแพ ท่ำสำป มาเที่ยวชมและจับจ่ายซื้อสินค้าในตลาด ภายใต้คอนเสป \"เดินฟิน กิน เพลิน ตลาดท่าแพ ท่าสาป\" ซ่ึงเป็นตลาดที่น่าจับตามองมากท่ีสุดในขณะน้ี ด้วยรูปแบบการจัดท่ีเป็นเอกลักษณ์ ดึงดูดนกั ท่องเท่ียวด้วยการแต่งชุดประจาถ่ินของพอ่ ค้าแม่ขาย และจัดตกแต่งสถานทใ่ี นสไตลย์ ้อนยุค เป็นการพลิก ฟนื้ นาอดีตทที่ รงคุณคา่ กลับคืนมาสู่ชาวทา่ สาปจงั หวดั ยะลาอย่างเปน็ รูปธรรม และเปน็ อนรุ กั ษ์ประเพณีวัฒนธรรม ของทอ้ งถ่ินจากชุมชน 3 วัฒนธรรม พุทธ จีน และมุสลมิ ทส่ี ามารถอยู่ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ตลาดแห่งนจี้ งึ เปน็ สถานท่ีท่องเท่ียวแห่งใหม่ของจังหวัดยะลาที่มีประชาชนในพ้ืนที่ และนอกพื้นที่ให้ความสนใจเดินทางมาท่องเที่ยว จับจ่ายซื้อสนิ ค้า และมารว่ มบันทึกภาพความทรงจาในมุมเซลฟสี่ วยๆ ของตลาดแห่งนอ้ี กี ด้วย 5.10 ท่งุ กำโล จากตัวเมืองยะลาไปประมาณ 4 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 409 เมื่อถงึ ตาบลท่าสาปเลี้ยวซ้าย ไปประมาณ 500 เมตร ถึงบริเวณทุ่งกาโล แต่เดิมเป็นท่งุ เล้ียงสัตว์ของชาวบา้ นตาบลท่าสาปและหน้าถ้า พ้ืนท่ีมีโคก อิฐเนนิ ดนิ ปรากฏอยู่เรียงรายเม่อื ชาวบ้านขุดไถเป็นท่ีทากนิ มักจะพบเคร่ืองถ้วยชาม เครอื่ งป้ันดนิ เผาที่ยังสมบูรณ์ อยบู่ ้าง เป็นเศษชารุดบา้ ง บางส่วนกเ็ ป็นป่าชา้ ประจาหมู่บา้ นแห่งนี้ ในราวปี พ.ศ.2472 ได้มีการขุดหลุมเพ่อื ฝังศพ ของชาวมุสลิมได้พบพระ พุทธรูปบ้าง เทวรูปบ้าง ต่อมาในปีพ.ศ.2500 ทางราชการได้ขุดไถทุ่งกาโล เพ่ือปรับ สถานท่เี ป็นสนามบินท่าสาป การขดุ ไถครั้งน้ีได้ทาลายโคกอฐิ เนนิ ดินเสยี เปน็ จานวนมากบางสว่ นยงั สามารถเห็นได้ ชดั เจนว่าเป็นซากกาแพงเมือง มกี ารค้นพบเคร่ืองถว้ ยชามฝังดินอยไู่ มน่ ้อย 6. แหล่งท่องเทย่ี ว 6.1 เข่ือนบำงลำง ตั้งอยู่ท่ีตาบลบาเจาะ อาเภอบันนังสตา สร้างข้ึนตามโครงการสร้างเข่ือนไฟฟ้า พลังน้าแม่น้าปตั ตานี มที วิ ทัศสวยงาม มีทะเลสาบท่เี กดิ จากการสรา้ งเขอ่ื นอยู่เหนือเขอ่ื น 6.2 ถ้ำกระแซง อยู่เขตอาเภอบันนังสตา ห่างตังเมืองยะลา 51 กิโลเมตร เป็นถ้ามีลักษณะคล้าย ประทนุ เรอื มธี ารน้าไหลลอดถ้าและมหี นิ งอกหนิ ย้อยสวยงาม 6.3 น้ำตกต่ำงๆ เช่น น้าตกบูเก๊ะปิโล (อาเภอเมืองยะลา) น้าตกตะวันรัศมี (อาเภอรามัน) น้าตก สทุ ธาลัย (อาเภอบันนังสตา) น้าตกกละอองรุง้ (อาเภอเบตง) 6.4 บ่อน้ำร้อนเบตง ต้ังอยู่หมู่ท่ี 2 ตาบลตาเนาะแมเราะ อาเภอเบตง เป็นบ่อน้าพุร้อนธรรมชาติ ความรอ้ นของน้าสามารถต้มไข่สุก ภายใน 15 นาที เป็นสถานท่ีทอ่ งเทีย่ วท่ีเปน็ ทนี่ ิยมของประชาชนในประเทศและ ต่างประเทศ 6.5 ปำ่ ลำลำ-ฮำลำ เปน็ ป่าธรรมชาตทิ สี่ มบรู ณท์ ่ีสุดแห่งหน่งึ ในภาคใต้ อย่ใู นเขตอาเภอเบตงและธาร โต เป็นพ้ืนท่ีขนาดใหญร่ อยต่อระหว่างจังหวดั ยะลา และนราธิวาส เป็นป่าดิบท่ีอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพรรณ สัตว์ ปา่ และนกหายากนานาชนิด และเป็นที่อาศัยของคนป่าเผ่าซาไก เป็นป่าท่ีเป็นต้นกาเนิดของแหล่งน้าในเขื่อนบาง ลาง

29 6.7 อุโมงค์เบตง ต้ังอยู่ทหี่ มบู่ ้านปยิ มติ ร ตาบลตาเนาะแมเราะ อาเภอเบตง เปน็ อโุ มงคข์ องอดีตโจร จีนคอมมิวนิสต์ เปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ 6.8 ตู้ไปรษณีย์ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย ตู้เดิมตั้งอยู่ที่บริเวณสี่แยกหอนาฬิกา ใจกลางเมืองเบตง สร้างขนึ้ เมื่อ พ.ศ. 2467 ตั้งแต่ก่อนสมยั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 จุดประสงคท์ ่ีสร้างไว้ในครั้งแรก ก็เพ่อื ใช้เป็นทก่ี ระจาย ข่าวสารบ้านเมืองให้ชาวเมอื งเบตงได้รับรับฟัง จากวิทยุที่ฝังอยู่ส่วนบนของตู้ไปรษณีย์มาจนทุกวันนี้ ปัจจุบันได้มี การสร้างตู้ไปรษณีย์ขึ้นใหม่กว่าเดิมท่ีบริเวณศาลาประชาคม ถนน สุขยางค์มีความสูงสูงประมาณ 9 เมตร เป็น จุดเด่นทนี่ กั ท่องเท่ยี วแวะมาเย่ยี มชมและถ่ายรปู เปน็ ทรี่ ะลกึ 6.9 ทะเลสำบธำรโต เป็นทะเลสาบบนภเู ขาแหง่ แรกของภาคใต้ เกิดจากการสร้างเข่อื นบางลางกนั้ น้า ทาใหเ้ กดิ พื้นที่น้ากว้างไกลเป็นทะเลสาบ เป็นแหล่งกาเนิดสัตว์น้าและพลังงานไฟฟ้าในจังหวัดชายแดนใต้ สามารถ ลอ่ งเรอื หรอื แพสมั ผสั กบั ความงามของผืนนา้ ทวิ เขา และเกาะแก่งตา่ งๆ 6.10 สวนขวัญเมือง (พรุบำโกย) ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล 1 เขตเทศบาลนครยะลา ห่างจาก ศาลหลักเมืองยะลาประมาณ 300 เมตร เป็นสวนสาธารณะของเทศบาลนครยะลา พื้นที่รวมทัง้ ส้นิ ประมาณ 207 ไร่ ปรับปรุงข้ึนจากพรุบาโกยโดยจัดให้มีสวนกีฬา สนามแข่งขันนกเขาชวาเสียง ซึ่งเป็นสนามมาตรฐานที่ใหญ่ท่ีสุดใน ภาคใต้ และชายหาดจาลอง สวนแห่งน้ีสร้างขึ้นในสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ซ่ึง ไดเ้ ดินทางมาทาพธิ ีเปดิ ปา้ ยชอ่ื \"สวนขวัญเมือง\" เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 6.11 สวนสำธำรณะสนำมช้ำงเผอื ก (สนำมโรงพิธชี ้ำงเผอื ก) อยูถ่ นนพิพิธภักดี มีพื้นที่ 80 ไร่ เคย ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีน้อมเกล้าฯ ถวายช้างเผือก \"พระเศวตสุรคชาธาร\" แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดช เมื่อวันท่ี 9 มนี าคม 2511 ภายในสวนสาธารณะมีศาลากลางน้า รูปปั้นสัตว์ต่างๆ และเปน็ สถานที่จัด กจิ กรรมของจงั หวดั 6.12 ถ้ำบำตูฆอ ต้ังอยู่ หมู่ท่ี 4 บ้านควนนางา ตาบลห้วยกระทิง อาเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ลักษณะของถ้าเป็นภูเขาลูกเดียว ความสูงเหนือระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 184 เมตร ต่อด้วยถ้าน้าลอดบา ตฆู อ - บริเวณทางออก มหี นิ งอกหนิ 7. อำหำรพนื้ เมืองยะลำ อาหารพืน้ เมอื งที่ข้ึนชอื่ ของจงั หวดั ยะลา ท่ผี มู้ าเยือนจะต้องหาโอกาสรับประทาน มีดงั นี้ 7.1 นำซกิ ำบู นาซิกาบู หรอื ภาษาไทยเรียกว่า ข้าวยา เปน็ อาหารพ้ืนเมืองท่ีหุงขา้ วกับน้าใบยอ ปรุง ด้วยน้าบดู ู มะพรา้ วคั่ว กงุ้ หรอื ปลาปน่ และผกั พื้นเมืองต่างๆ เชน่ ตะไคร์ ใบมะกรูด ดอกกาหลา ถวั่ ฝักยาว ถั่วงอก พริกปน่ มะนาว ฯลฯ 7.2 นำซิลือเมำะ เป็นข้าวมันที่หุงด้วยกะทิ รับประทานกับแกงไก่ หรือแกงเนื้อ และมีอาจาดเป็น เครื่องเคียง 7.3 นำซิดำแฆ เป็นข้าวท่ีหุงโดยใช้ข้าวเจ้าผสมกับข้าวเหนียว โดยใช้น้ากะทิผสมด้วยขิงสด และ เครือ่ งเทศชนดิ หนึ่ง รบั ประทานกบั แกงไก่ แกงไก่ แกงไข่ หรอื แกงปลาทนู ่า

30 7.4 นำซิติเนะ เป็นอาหารที่ทาจากข้าว นามาหุงจนสุกเละ แล้วนามาเทใส่ภาชนะ ใช้ใบตองปิด ดา้ นบน และใชข้ องหนักๆ วางทับอกี ช้นั หนงึ่ ทง้ิ ไว้ 1 คืน แลว้ นามาตดั เป็นชิ้นๆ รับประทานกับเนื้อสะเตะ๊ หรอื แกง 7.5 ละแซ-ซอเลำะ เป็นอาหารท่ีทาจากแป้งโดยการน่ึงเป็นแผ่น แล้วนามาม้วนก่อนตัดเป็นช้ินๆ พอดีคา เวลารับประทานอาหารใส่น้าแก่งกะทิที่ปรุงจากปลา ราดบนละแซ เหมือนขนมจีนราดน้าแกง แล้ว รบั ประทานกบั ผกั 7.6 โรตี เป็นอาหารพื้นเมืองท่ีทาจากแป้ง นามานวดแผ่เป็นแผ่นบางๆ แล้วทอดในกระทะแบนๆ แล้วโรยดว้ ยนมขน้ หวานหรือนา้ ตาล หรอื บางครั้งใช้จิ้มน้าแกง นิยมรับประทานกับ น้าชา 7.7 ตูปะซูตง เป็นอาหารหวานท่ีนาปลาหมึกมายัดข้าวเหนียวลงท้อง จากนั้นต้มด้วยกะทิและปรุง รสด้วยน้าตาลแว่นและเกลือ เป็นขนมหวานท่ีนบั วนั จะหาซ้อื ได้ยาก จะหาซื้อกนิ ทกี ็ต้องรอช่วงเทศกาลถือศลิ อด 8. สนิ คำ้ พื้นเมอื งและสนิ คำ้ OTOP ของทรี ะลึกจังหวัดยะลำ 8.1 กำรแปรรูปกลว้ ยหิน การแปรรปู กล้วยหิน เชน่ กล้วยฉาบบรรจุภณั ฑ์ แหล่งผลิตท่ที ากับมาก คือ ตาบลถา้ ทะลุ อาเภอบนั นังสตา จังหวัดยะลา 8.2 กำรทำผ้ำคลมุ ผมสตรี มีแหล่งผลิตหลายแหง่ เชน่ ตาบลบาลอ อาเภอรามัน จงั หวัดยะลา 8.3 กำรทำแหวนประดับอญั มณี มีการทาท่ีตาบลบาโงย อาเภอรามนั จงั หวดั ยะลา 8.4 กำรทำหวั กรงนก มีการทาท่ีตาบลท่าสาป อาเภอเมอื งยะลา จงั หวดั ยะลา 8.5 กำรทำไม้กวำดดอกหญ้ำ มีการทาในหลายตาบลในอาเภอธารโต และอาเภอบนั งั สตา จงั หวัดยะลา 8.6 กำรทำผลติ ภัณฑย์ ำงพำรำ เชน่ ทาดอกไม้ ของชาร่วย มกี ารทามากในเขตเทศบาลนครยะลา 8.7 กำรทำผ้ำบำตกิ มกี ารทากนั มากในหลายอาเภอ เชน่ ตาบลกาตอง อาเภอยะหา ตาบล ทา่ สาป อาเภอเมอื งยะลา ภายในเขตเทศบาลนครยะลา 8.8 กำรทำกำแฟโบรำณ มกี ารทากนั มากในหลายอาเภอเขตเทศบาลตาบลเบตง จังหวดั ยะลา 8.9 กำรทำกรซิ มกี ารทาในตาบลลิดล อาเภอเมอื งยะลา และตาบลอาซ่อง อาเภอรามนั จังหวดั ยะลา 8.10 กำรทำผลติ ภัณฑจ์ ำกหนิ ออ่ น เช่น นาฬิกา ทที่ ับกระดาษจากเนอื้ หนิ อ่อนสีชมพู ในตาบลหน้าถา้ อาเภอเมอื งยะลา จังหวดั ยะลา 8.11 ปลำสม้ เปน็ การถนอมอาหารประเภทหน่งึ โดยนาปลาจากทะเลสาบธารโต มาทาเปน็ ปลาส้มบรรจุ ภัณฑอ์ อกจาหน่าย ทากันมากที่บ้านคอกช้าง อาเภอธารโต 9. พชื ผกั ผลไม้ สำคญั ของยะลำ พ้ืนผกั พ้นื บา้ น และผลไมส้ าคัญของจังหวัดยะลา ท่ีใช้ในการบริโภค และเป็นสนิ คา้ ของจังหวัดยะลา เชน่ สะตอ ลูกเนียง ส้มโชกุน ลองกอง มงั คดุ ส้มแขก ผกั น้า กล้วยหิน

31 10. กำรละเลน่ พื้นบำ้ น 10.1 ลิเกฮูลู ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านจังหวัดยะลา เช่นเดี่ยวกับจังหวัด ปัตตานีและนราธิวาส ลิเกฮูลูมีผู้แสดงประมาณ 10 คน มีผู้ร้องนา 2-3 คน ที่เหลือเป็นลูกคู่ ทาหน้าที่รองรับ เรียกว่า บันตุนหรือปาตง ปัจจุบันนิยมนาเพลงยอดนิยมมาแต่งเน้ือหาร้องเป็นภาษามลายู ผสมผสาน ไปกับ เร่ืองราวท่ีผู้แสดงต้องการนาเสนอคนตรีท่ีใช้ประกอบการแสดงลิเกฮูลูมีเพียงรามะนา หรือรือบานา หรือรือบานา ฆ้องและขลุ่ยจังหวะท่ีนามาใช้ในการเล่น คือ การตบมือ และโยกตัวให้เข้ากับจังหวะของเคร่ืองดนตรีประกอบกับ จังหวะการรบั ของลกู คู่ 10.2 มะโย่ง มะโย่งละครพื้นบ้านท้องถิ่นจังหวัดชายแดนใต้ ในจังหวัดยะลา นิยมแสดงกันอาเภอ บันนังสตา อาเภอยะหา และอาเภอรามัน มะโย่งมีลักษณะคล้ายมโนราห์ เรื่องราวที่แสดงส่วนใหญ่จะเป็นตานาน เก่าแก่เก่ียวกับความรัก นิยมแสดงในงานเฉลิมฉลอง งานเทศกาล งานร่ืนเริง และการแสดงแก้บนปัจจุบันหาดูมะ โย่งยาก เพราะไม่เป็นที่นิยมเหมือนในสมัยก่อน มะโย่งแต่ละคณะมีผู้แสดงประมาณ 20-30 คน เป็นลูกคู่และนัก ดนตรี ประมาณ 5-7 คน นอกจากน้ันเป็นตัวละคร ประกอบด้วย พระเอก นางเอก ตัวตลก นิยมใช้ผู้หญิงเล่นเป็น พระเอก ตัวละครที่สาคัญมี 4 ตัว คือ ปะโย่ง หรอื เปาะโย่ง แสดงเป็นนางเอกมีฐานะเป็นเจ้าหญิงบือรนั มูดอ แสดง เป็นตัวตลกที่ 1 และบอื รนั ดวู อ แสดงเปน็ ตัวตลกที่ 2 มีฐานะเปน็ เสนาคนสนทิ ของปะโย่ง 10.3 ซีละ ซีละเป็นการร่ายราที่ใช้ในการต่อสู่ป้องกันของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้ของ ไทย ลลี าการรา่ ยราซีละ จะมีลักษณะออ่ นช้อยผสมผสานกบั ความแข็งแกร่งของทา่ การตอ่ สู้ นยิ มแสดงกันในโอกาส สาคัญเท่านั้น การต่อสู้โดยศิลปะการ่ายราแบบซีละ มีสอนลักษณะ คือ การ่ายรามือเปล่าใช้เฉพาะมือ แขน ขา เคลื่อนไหว ปัดป้อง และทาร้ายคู่ต่อสู้ด้วยการตบ จับแขน จับขาของคู่ต่อสู้ เพ่ือฟัดเหว่ียงให้ล้ม อีกลักษณะหนึ่ง เป็นการร่ายราซีละกริซ โดยท้ังสองฝ่ายจะถือกริซคนละเล่มหรืออาจถือไม้ไผ่เหลาลักษณะเบาๆ ยาวประมาณ 1 เมตร คนละอัน การต่อสู้แสดงท่าทางขืนขัง จริงจังกว่าซีละมือเปล่ามีการวางท่า แสดงการแทง การหลบหลีก ปัด ป้อง ถีบรับ และการทาลายกล้ามเนื้อของคู่ต่อสู้ การแสดงซีละท้ังสองอย่างมีดนตรีประกอบเพียง 3 ชิ้น ได้แก่ กลองแขก ฆ้อง และป่ี 10.4 รองแงง็ รองแง็งเป็นการแสดงท่าร่ายราที่นิยมกันมากในพื้นทจ่ี ังหวัดชายแดนภาคใต้ การเต้น รองแง็งมีลีลาสวบงามและอ่อนช้อย เพราะเป็นการเคลื่อนไหวของมือ เท้า ลาตัวไปพร้อมๆ กันกาเต้นรองแง็งเป็น ศิลปะการแสดงหมู่ ประกอบด้วย ผเู้ ต้นชายหญิงจับคู่กัน จานวนคูข่ ้ึนอยกู่ ับความเหมาะสมของสถานท่ี แต่นิยมกัน เต้นกันไม่ต่ากว่า 5 คู่ เพลงท่ีใช้ประกอบการเต้นมี 13 เพลง เช่น ลากูคอวอ จนิ ตาซาซายัง ปูโละปีซัง เมาะอีลังลา มา บุหงาราไป เป็นต้น จังหวะของเพลงท่ีมีเสียงไวโอลิน รามะนา และฆ้อง เร่งเร้าให้ลีลาการเต้นรองแง็งเป็นไป อย่างสวยงาม ประกอบกับการแต่งกายท่ีสวยงามแบบมลายูด้วยแล้ว ทาให้รองแง็งโดเด่นมากกว่า การละเล่นอ่ืนๆ จนกลายเปน็ ศลิ ปะการแสดงทแ่ี พร่หลายมากที่สุด 11.5 หนงั ตะลงุ หนังตะลงุ ในจงั หวัดยะลา มีอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ หนงั ตะลุงไทย หนังตะลุงพื้นเมือง และหนังตะลุงชวา ปัจจุบันหนังตะลุงชวาหรือวายังยาวอ หาดูไม่ได้แล้ว จะเล่นกันในโอกาสท่ีแก้บนเท่าน้ัน เร่ืองราวท่ีแสดงมักเป็นเร่ืองอิเหนา ภายหลังได้มีการดัดแปลงเป็นหนังตะลุงพ้ืนเมอื งหรือวายงั กูเละ นยิ มแสดงกัน

32 ในสามจังหวัดชายแดนใต้ วายังกูเละหนึ่งโรง ประกอบด้วย ดาแล หรือนายหนัง รูปหนังเรื่องท่ีแสดง เคร่ืองคนตรี ลูกคู่ ฉาก และองค์ประกอบอ่ืนๆ ดาแลหรือนายหนัง จะเป็นผู้เชิดรูปหนัง และพากษ์เสียงตัวละครทุกตัว ท้ังเสียง ผู้ชาย ผู้หญิง คนแก่ ยักษ์ เสนา รูปหนังหรือวอแย ทาจากหนังวัวหรือหนังควาย ระบายสิสันสวยงาม ลักษณะ รูปร่างจะแตกต่างไปจากหนังตะลุงไทยในภาคใต้ตอนบน เคร่ืองดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงมีปี่ชวา ทับ ฉิ่งหรือ ฉาบเล็ก ฆ้องคู่ โหม่ง และไม้เคาะจังหวะ หนังตะลุงหรือวายังกูและท่ีมีช่ือเสียงของจังหวะยะลา คือ หนังตะลุง คณะเดะแม แห่งบ้านท่าสาป อาเภอเมืองยะลา จงั หวดั ยะลา ส่วนหนังตะลุงไทยมีบ้างประปรายแต่ไม่ได้ยึดถือเป็น อาชพี เหมือนในจงั หวัดอ่ืนๆ 11. ประเพณี และวัฒนธรรม ประเพณีและวัฒนธรมในทอ้ งถิ่นที่มคี วามหมายหลายแตกต่างกนั เช่น ของไทยพุทธ ไทยอิสลาม ไทยเชือ้ สายจีน ท่ีสาคญั ๆ ในจังหวัดยะลา เชน่ 11.1 ประเพณีทเ่ี กี่ยวกับ การเกิด การแตง่ งาน การเจ็บป่วย การตาย 11.2 งำนพธิ ีกรรมตำ่ งๆ ตามความเชือ่ ของบรรพบุรุษ ความเช่อื ทางศาสนา 11.3 งำนประเพณวี นั สำคัญทำงศำสนำ เช่น การทาบุญเดอื นสบิ การกวนอาซูรอ การเขา้ สุหนตั เปน็ ต้น 12. บุคคลสำคญั บุคคลสาคัญของจังหวัดยะลาท่ีควรนามาเป็นสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินของสถานศึกษา ควรมุ่งเน้น บุคคลท่ีสร้างประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติบ้านเมือง หรือจังหวัดยะลาหรือสร้างประโยชน์ให้แก่ประชาชนชาวไทย สร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม และเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป เร่ิมตั้งแต่บุคคลที่เป็นตัวอย่างที่ดีในสังคมที่ โรงเรียนตั้งอยู่ไปจนถึงระดับอาเภอ และจังหวัด ซึ่งโรงเรียนสามารถศึกษาค้นคว้ารายละเอียดมาให้นักเรียนได้ เรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความเป็นแบบอย่างของคนดีในสังคมท่ีสร้างประโยชน์เพื่อส่วนรวม อย่างเช่น พ.ต.อ. (พิเศษ) ศิริ คชหริ ัญ, พระเทพศีลวิสุทธิ์ (ท่านฉิ้น), นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา, ดร.รงุ่ แก้วแดง, พระยาณรงค์ ฤทธ์ิศรีประเทศวิเศษวังษา (ต่วนสุไลมาน), นายหะมะ แบลือแบ, นายเดะแบ สาแม, ดร.หะยีฮารน สุหลง ผู้ว่า ราชการจังหวดั นายกองคก์ ารบริหารจังหวดั นายกองค์การบริหารตาบล นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญบ่ า้ น โต๊ะอีหม่าม และพระสงฆ์ เป็นตน้

33 13. ครภู ูมิปัญญำไทย ตัวอยา่ งครภู ูมปิ ัญญาไทยทีค่ วรบรรจุเป็นสาระการเรียนรูท้ อ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ 13.1 อำเภอเมอื ง นางบุตรธิกรณ์ จุลพล ด้านประดิษฐ์ งานดอกไมส้ ดตาบลสะเตง นางวราภรณ์ คณานรุ กั ษ์ ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ตาบลสะเตง นางสาวฮสั สเื มาะ ดอเมาะ ดา้ นการทาผ้าบาติก ตาบลสะเตง นางนิกรรดา เจะสะนอ ดา้ นการแกะสลกั ตาบลพร่อน นายมะกาเซง็ ดือรามะ ด้านการทาหวั กรงนก ตาบลทา่ สาป นางเพ็ญประภา แก้วอิน ด้านการประดษิ ฐด์ อกไม้ใยบวั ตาบลสะเตง นายสมเกยี รติ บุญสนอง ด้านการเพาะเหด็ แบบครบวงจร ตาบลสะเตงนอ นางอรุณี สุพงษ์ ดา้ นการทาอาหาร ตาบลยุโป นายอับดลุ เลา๊ ะ มูซอ ด้านการแกะสลกั ไม้ ตาบลยะลา นายประยรู เฉียบแหลม ดา้ นการทากลองยาว ตาบลหนา้ ถ้า นางแมะมูเน๊าะ ซาและ ด้านการทาบหุ งาซเี ระห์ ตาบลบนั นังสาเรง นางธนากร คงคนื ดา้ นการทาเคร่ืองจักรสาร ตาบลตาเซะ นางสาวพารีด๊ะ แวนะไล ด้านการทาอาหาร ตาบลเปาะเส้ง นางเตอื นใจ โกศล ด้านการทาดอกไมจ้ ันทน์ ตาบลลาใหม่ นายอาแว ยะวาย ดา้ นแพทยแ์ ผนไทย ตาบลบุดี นายวาหะ มะมิง ดา้ นแพทย์แผนไทย ตาบลลาพะยา นายการิง มะมงิ ดา้ นการแสดงลิแกฮลู ู ตาบลลิดล 13.2 อำเภอรำมัน นายตีพะลี อะตะบู ด้านการทากรซิ ตาบลตะโละหาลอ ตาบลบาโงย นางสาวบีเดาะ สามะ ด้านงานจักสาน ตาบลบาโงย ตาบลบาโงย นางตเี ยาะ อาบคู อลา ดา้ นหมอตาแย ตาบลบาโงย นายสการี เดง็ ระเม็ง ด้านหมองู นายบือราเฮง เฮาะมะสะเอะ ดา้ นหมอนว่ิ 13.3 อำเภอกรงปนิ งั ด้านการรกั ษาพษิ งูด้วยสมุนไพร ตาบลกรงปนิ งั นายเฮาะ มะลาเฮง ด้านการทาฝาไม้ไผข่ ดั แตะ ตาบลกรงปินงั นางอามีเน๊าะ ลมมา ดา้ นการเกษตรตัวอย่าง ตาบลกรงปนิ ัง นายยโู ซะ๊ ดอเลาะบองอ

34 ส่วนท่ี 4 กำรประเมนิ คณุ ภำพผเู้ รยี นระดบั ท้องถน่ิ การประเมินคุณภาพสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น นับเป็นภารกิจสาคัญในการวัดและประเมินให้ สอดคล้องและครอบคลุมกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (ด้านความรู้ทักษะ และคุณลักษณะ) และธรรมชาติของเน้ือหา สาระ เพื่อให้ผลการประเมินให้ชัดเจนมีความเป็นไปได้และเหมาะสมกบั ศักยภาพผู้เรยี นโดยเฉพาะวัดและประเมิน ควบคไู่ ปกับการจัดการเรียนร้ตู ามสภาพจริงให้ทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วมและนาผลการประเมินมาวิเคราะห์ซ่อมเสริม และ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยมีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นแนวทางกาหนดกรอบ การประเมนิ คณุ ภาพ แนวทำงกำรวดั และประเมินผล 1. กำรประเมนิ ผลก่อนเรียน การประเมินผลก่อนเรียน เป็นหน้าท่ีของครูผู้สอนในแต่ละวิชาทุกกลุ่มสาระที่ต้องประเมินโดยมี จดุ มุ่งหมายเพ่อื ตรวจสอบสารสนเทศของผูเ้ รยี นในเบือ้ งต้นสาหรับการนาไปใช้จัดกระบวนการเรยี นรู้ 2. กำรประเมินระหว่ำงเรยี น การประเมินระหวา่ งเรียนเป็นการประเมินเพื่อมงุ่ ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรยี นวา่ บรรลุตามผลการ เรียนรู้ที่คาดหวังในการสอนตามแผนการจัดการเรียนที่ครูไว้วางแผนไว้หรือไม่ ท้งั นี้สารสนเทศทไี่ ด้จากการประเมิน นาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถให้เกิดพัฒนาการ สงู สุดตามศกั ยภาพ ไดแ้ ก่ 2.1 กำรประเมนิ ด้วยกำรสอ่ื สำรสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ 2.1.1 การถามตอบระหวา่ งทากิจกรรมการเรยี นรู้ 2.1.2 การสนทนาพบปะพดู คยุ กับผเู้ รียน 2.1.3 การสนทนาพบปะพดู คยุ กับผูเ้ รยี นกับผู้เกย่ี วขอ้ งกบั ผเู้ รียน 2.1.4 การสอบปากเปลา่ เพ่ือประเมนิ ความรู้ 2.1.5 การอ่านบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ของผู้เรียน 2.1.6 การตรวจแบบฝกึ หัดและการบา้ นพร้อมให้ข้อมูลยอ้ นกลับแกผ่ เู้ รยี น

35 2.2 กำรประเมนิ จำกกำรปฏิบตั ิ (Performance Assessment) เป็นวิธกี ารประเมนิ ทผ่ี ู้สอนมอบหมายงานหรอื กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนทาเพือ่ ให้ได้ข้อมูลสารสนเทศว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรมู้ ากน้อยเพยี งใด การประเมนิ การปฏิบตั ิ ผูส้ อนตอ้ งตระเตรยี มสิ่งสาคัญ 2 ประการ คือ 2.1 ภาระงานหรอื กจิ กรรมทจ่ี ะใหผ้ ู้เรียนปฏิบัติ (Tasks) 2.2 เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) 2.3 กำรประเมินสภำพจรงิ (Authentic Assessment) การประเมินสภาพจริงเป็นการประเมินจากการปฏิบัติอย่างหนึ่งเพียงแต่งานหรือกิจกรรมที่ ผู้เรียนได้ปฏิบัติจะเป็นงานหรือสถานการณ์ท่ีเป็นจริง (Real life) หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง ดังนั้นงานหรือ สถานการณ์จึงมีส่ิงจาเป็นที่ซับซ้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม (Holistic) มากกว่างานปฏิบัติทั่วไป วิธีการ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ไม่มคี วามแตกตา่ งจากการประเมนิ ปฏิบตั ิ (Performance Assessment) เพียงแต่อาจมีความ ยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เนื่องจากเป็นสถานการณ์จริงหรือต้องจัดสถานการณ์ให้ใกล้จริงและเกิดประโยชน์ กบั ผู้เรียน ซ่ึงจะทาใหท้ ราบความสามารถทแี่ ท้จริง ว่ามีจุดเด่นและข้อบกพร่องในเร่ืองใด อนั จะนาไปส่กู ารแก้ไขท่ี ตรงประเดน็ ทีส่ ดุ 2.4 กำรประเมินดว้ ยแฟม้ ด้วยสะสมงำน (Portfolio Assessment) การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงานเป็นวิธีการประเมินท่ีช่วยส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพจริงมี ความเป็นไปได้มากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม (Collect) ผลงานจากการปฏิบัติจริงมีความเป็นไปได้มาก ขน้ึ โดยการให้ผูเ้ รยี นหรอื ในชีวติ จริงทเ่ี ก่ยี วข้องกับการเรียนร้ตู ามสาระการเรยี นรู้ตา่ งๆ มาจัดแสดงอย่างเปน็ ระบบ (Organized) ท้ังนี้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อสะท้อนให้เห็น (Reflect) ความพยายาม เจตคติ แรงจูงใจ พัฒนาการและ ความสัมฤทธ์ิผล (Achievement) ของการเรียนรู้ตามสิ่งท่ีมุ่งหวังจะให้แฟ้มสะสมงานน้ัน สะท้อนออกมาซ่ึงผู้สอน สามารถประเมนิ จากแฟม้ สะสมงานแทนการประเมนิ จากการปฏิบัติจรงิ ก็ได้ 3. กำรประเมินหลังเรียน เป็นการประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียนเป็นการประเมินเพ่ือมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของผู้เรียน เมื่อ ผ่านการเรียนรู้ในช่วงเวลาหนึ่ง เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ตามผลการเรียนท่ีคาดหวังหรือไม่ เมื่อนาไป เปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนแล้วผเู้ รียนเกิดพัฒนาการข้ึนมากน้อยเพียงใดทาให้สามารถประเมินได้ว่า ผู้เรียนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงใดและกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนเพียงใด ข้อมูล จากการประเมินภายหลงั การเรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดม้ ากมาย ไดแ้ ก่ 1. ปรับปรงุ แกไ้ ข ซ่อมเสริมผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวังหรอื จดุ ประสงคข์ องการเรยี น 2. ปรับปรุง แก้ไขวิ ธีการเรียนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน 3. ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี น

36 การประเมนิ ผลการเรียนสามารถใชว้ ิธีการและเครอ่ื งมอื การประเมนิ ไดอ้ ย่างหลากหลายใหส้ อดคล้อง กับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง เน้ือหาสาระ กิจกรรมและช่วงเวลา ในการประเมินเพื่อให้การประเมินผลการเรียน ดังกล่าวมสี ่วนเกยี่ วข้องสมั พันธ์และสนบั สนุนการเรียนการสอน รูปแบบกำรประเมินคณุ ภำพ กำรประเมินระดับสถำนศกึ ษำ 1. การประเมินในชนั้ เรียน การประเมินคุณภาพนักเรียนตามสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (กรอบหลักสูตรเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษายะลา เขต 1) และตามจุดเน้นคุณภาพนักเรียนด้านสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผ้เู รยี นทุกวิชา ทุกชัน้ เรียน โดยใชว้ ิธกี าร/เคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายควบคไู่ ปกบั การเรยี นการ สอน 2. การประเมนิ ในระดับสถานศึกษา การประเมินคุณภาพนักเรียนตามสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน (กรอบหลักสูตรเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษายะลา เขต 1) และตามจุดเน้นคุณภาพนักเรียนด้านสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน สถานศกึ ษาพิจารณาถึงการประเมนิ ในภาพรวม เพ่ือตดั สินผลการพัฒนาผู้เรียนเมือ่ จบภาคเรียนหรือปี การศกึ ษา โดยใชเ้ ครื่องวดั และประเมนิ ผลเป็นแบบทดสอบภาคความรู้หรอื ภาคปฏบิ ตั ิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด กำรประเมนิ ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำ “การประเมินคุณภาพระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนท่ี การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมิน คุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือด้วยความ ร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดในการจัดสอบ นอกจากนี้ ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน ระดับสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา นอกจากนั้น ภารกิจสาคัญของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา/ท้องถ่ินในการบริหาร จดั การหลักสูตรระดับท้องถ่ิน ยังตอ้ งกาหนดให้มีการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี นระดับท้องถ่ินและรายงานผลคุณภาพ ของผู้เรียน การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถ่ินเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานรวมถึงเป้าหมาย/จุดเน้นของท้องถิน่ ตามท่ีกาหนดไว้ในกรอบหลกั สูตร ระดับท้องถ่ิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสามารถดาเนินการโดยการประเมิน ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานหรือเครื่องมือท่ีจัดทาและดาเนินการโดยเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือด้วย ความรว่ มมอื กับสถานศึกษาในการดาเนินการจดั สอบ ไดแ้ ก่

37 1. กาหนดแผนงาน การวางแผนงานและกาหนดสิ่งท่ีต้องการประเมินรวมทั้งกลุ่มเป้าหมายที่จะ ประเมินเครื่องมือท่ีใช้และช่วงระยะเวลาในการประเมินอย่างชัดเจนโดยกาหนดไว้ชัดเจนในกรอบหลักสูตรระดับ ท้องถนิ่ เพ่ือแจง้ ให้โรงเรยี นภายในเขตพ้นื ทีท่ ราบข้อมูลดงั กล่าวลว่ งหน้าเพ่ือเตรยี มพร้อมในการรบั การประเมิน 2. พัฒนาคลงั ขอ้ สอบจัดทาคลังข้อสอบมาตรฐานเพอ่ื ใช้ในการทดสอบซงึ่ ข้อสอบดงั กลา่ ว ควรมกี าร วิจยั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ เป็นระยะเพอ่ื ให้ได้ข้อสอบท่มี ีคณุ ภาพเทยี่ งตรงและเช่อื ถอื ได้ 3. ใช้ผลการประเมินในการพัฒนาผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนเป็นข้อมูลพ้ืนฐานที่สาคัญสาหรับ กาหนดนโยบาย วางแผนงาน และกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในเขตพ้ืนท่ี ข้อมูลดังกล่าวเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งในการที่เขตพ้ืนทจี่ ะวางแนวทางในการช่วยเหลือครู โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโรงเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตา่

38 ส่วนที่ 5 กำรนำกรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถนิ่ ไปใช้ วธิ กี ำรนำกรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่นไปใช้ 1. การนาเป้าหมาย/จุดเน้นไปใช้ สถานศึกษาควรศึกษาเป้าหมาย/จุดเน้นด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามท่ีกาหนดให้มีความชัดเจน เพื่อนาไปกาหนดทิศทางในการพัฒนาผู้เรียน โดยอาจนาไปกาหนดไว้เป็น ยทุ ธศาสตรข์ องการพฒั นาในแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2. สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นกรอบสาระท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในชุมชน ท้องถ่ินของจังหวัด ยะลา ซึ่งได้กาหนดเป็นประเด็นกว้างๆ ไว้ครูผู้สอนสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางเก่ียวกับท้องถ่ินได้ เช่น ประวัติ ความเป็นมาของจังหวัดยะลา สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ สังคม วิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือ เหตุการณส์ าคญั ๆ ในชมุ ชน ซึ่งสามารถดาเนนิ การได้ 2 ลักษณะ คอื 2.1 การสอนสอดแทรกเข้าไปในรายวิชาพ้ืนฐานท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยศึกษาจากคา สาคัญจากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดรายปี/ช่วงชั้น ที่มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับการเรียนรู้ในท้องถิ่น ซ่ึงได้ วเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ัดรายปี/ชว่ งชน้ั ในสว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับชมุ ชนและท้องถ่ิน ไว้ใหแ้ ล้ว 2.2 การกาหนดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม ซึ่งสถานศึกษาเห็นว่ามีสิ่งสาคัญท่ีต้องการปลูกฝังและให้ นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นเป็นการเฉพาะ และเป็นจุดเน้นของสถานศึกษา เช่น รายวิชาเพ่ิมเติม เกี่ยวกับการ สานหมวกใบจาก รายวชิ าเพิ่มเติม เกี่ยวกับอาชีพการตดิ ตายาง 3. ในการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรระดับท้องถิ่นนี้ ครูผู้สอน ควรศึกษามาตรฐานการ เรียนรู้ ตัวชีว้ ัดรายป/ี ชว่ งชน้ั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับชุมชน/ท้องถ่ิน และนาไปออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้อิงมาตรฐาน จัดทา แผนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงควรให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงกับการเรียนรู้ เช่น การนาไปแหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้ จากภูมิปญั ญา 4. การนาเสนอ การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดรายปี/ช่วงชั้น ทัง้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตอ่ ไปน้ี ครูสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการนาไปออกแบบหน่วยการเรียนรู้ได้ โดยได้เสนอแนะสาระการเรียนรู้ ท้องถ่ินไว้ ซึ่งเป็นการนาเสนอท้ังในด้านสิ่งที่ควรเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดยะลา โดย ครูสามารถปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ชุมชน บริเวณโรงเรียน ตาบลหรือ อาเภอท่นี กั เรยี นอยู่

39 ภำพผนวก

คำสัง่ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำยะลำ เขต ๑ ที่ ๒๘๔/๒๕๖๑ เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมกำรจัดทำกรอบหลักสูตรทอ้ งถิ่นระดับเขตพน้ื ท่ี สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำยะลำ เขต ๑ ..................................................................... สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำเป็นหน่วยงำนท่ีมีบทบำทสำคัญในกำรเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน พทุ ธศกั รำช ๒๕๕๑ และควำมตอ้ งกำรของท้องถน่ิ สู่กำรพัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำ และ กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนในช้ันเรียน เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนเปน็ สมำชิกที่ดีของชมุ ชน มีควำมรักควำมภำคภูมิใจใน ท้องถิ่นของตน เพ่ือให้กำรจัดกำรศึกษำภำยในท้องถิ่นบรรลุผลดังกล่ำว สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำต้อง ดำเนินกำรจัดทำกรอบหลักสูตรท้องถ่ินระดับเขตพื้นท่ีกำรศึกษำเพ่ือให้สถำนศึกษำใช้เป็นแนวทำงในกำรจัดกำร เรียนกำรสอนที่เกี่ยวข้องกับชุมชน ท้องถิ่น โดยดำเนินกำรกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้กำรดำเนินงำนเป็นไป ด้วยควำมเรียบร้อย สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำยะลำ เขต ๑ จึงแต่งตั้งคณะกรรมกำร/ คณะทำงำนจดั ทำกรอบหลักสตู รทอ้ งถ่ินระดบั เขตพน้ื ท่ี ดังน้ี ๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร มีหน้ำท่ีให้คำปรึกษำ เสนอแนะเก่ียวกับกำรดำเนินงำนจัดทำกรอบ หลักสตู รท้องถิ่นระดับเขตพน้ื ที่ สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำยะลำ เขต ๑ ประกอบด้วย ๑.๑ นำยจรี ยุทธ วิชญรักษ์ รอง ผอ. สพป. ยะลำ เขต ๑ รกั ษำรำชกำรแทน ผอ. สพป. ยะลำ เขต ๑ ประธำนกรรมกำร ๑.๒ นำงพรรณี ปำนทอง ผอ. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตำมฯ สพป.ยะลำ เขต ๑ กรรมกำร ๑.๓ นำงปรำณี อ่องหลี ศึกษำนเิ ทศก์ กรรมกำร ๑.๔ นำงรชั ณีย์ เกอ้ื เดช ศึกษำนเิ ทศก์ กรรมกำร ๑.๔ นำยยะมะลูดิน นิยำแม ศึกษำนเิ ทศก์ กรรมกำรและเลขำนกุ ำร ๒. คณะกรรมกำร/คณะทำงำนกำรดำเนินงำน มีหน้ำท่ีศกึ ษำ วเิ ครำะห์ และสงั เครำะห์ข้อมูลเกย่ี วกับ สำระกำรเรียนรู้ท้องถ่ินจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆ เช่น ภูมิศำสตร์ ประวัติศำสตร์ สภำพปัญหำชุมชน วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม กำรงำนอำชีพ ภูมิปัญญำท้องถ่ิน และแนวโน้มกำรพัฒนำท้องถิ่น และจัดทำเอกสำรต่ำงๆ ท่ี เก่ยี วข้อง ประกอบด้วย ๒.๑ นำงพรรณี ปำนทอง ผอ. กลมุ่ นิเทศ ติดตำมฯ ประธำนกรรมกำร สพป.ยะลำ เขต ๑ ๒.๒ นำงปรำณี ออ่ งหลี ศกึ ษำนิเทศก์ รองประธำนกรรมกำร ๒.๓ นำงสำวจริ ำวรรณ ยืนยง ศกึ ษำนเิ ทศก์ กรรมกำร ๒.๔ นำงรัชณยี ์ เกอ้ื เดช ศึกษำนิเทศก์ กรรมกำร ๒.๕ นำงสำวนวภรณ์ ปญั ญำ ศึกษำนิเทศก์ กรรมกำร ๒.๖ นำงกชกร แทน่ รัตน์ ศกึ ษำนเิ ทศก์ กรรมกำร /๒.๗ นำงสำวอรวรรณ ปลอ้ งไหม

2 ๒.๗ นำงสำวอรวรรณ ปลอ้ งไหม ศกึ ษำนิเทศก์ กรรมกำร ๒.๘ นำงสำวซำรินดำ บณิ วำฮับ ศกึ ษำนิเทศก์ กรรมกำร ๒.๙ นำงอษุ ณีย์ ยำโกะ ศึกษำนเิ ทศก์ กรรมกำร ๒.๑๐ นำงโซเฟยี คลำนรุ กั ษ์ ศกึ ษำนิเทศก์ กรรมกำร ๒.๑๑ นำยอครญั ญ บำกำ ศกึ ษำนเิ ทศก์ กรรมกำร ๒.๑๒ นำยอำฟฟำน เจะเตะ ศึกษำนิเทศก์ กรรมกำร ๒.๑๓ นำยไพศำล วอ่ งภำณสุ กลุ ผู้อำนวยกำรโรงเรยี นบำ้ นโกตำบำรู กรรมกำร ๒.๑๔ นำงเพญ็ ศรี วอ่ งภำณสุ กุล ผ้อู ำนวยกำรโรงเรียนบำ้ นแบหอ กรรมกำร ๒.๑๕ นำงวรรณี เสือสิงห์ ผู้อำนวยกำรโรงเรียนสำมแยกบำ้ นเนยี ง กรรมกำร ๒.๑๖ นำงสำวนูรฮซี มั มะทำ รองผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนบ้ำนรำมนั กรรมกำร ๒.๑๗ นำงณัฐณชิ ำ บญุ ปก ครูโรงเรยี นบ้ำนท่ำสำป กรรมกำร ๒.๑๘ นำงอรุ ำ แก้ววชิ ติ ครูโรงเรยี นบ้ำนพรอ่ น กรรมกำร ๒.๑๙ นำงวรรณศิ ำ ศรคี ุ้มวงศ์ ครโู รงเรยี นบ้ำนบรุ นิ ทร์ กรรมกำร ๒.๒๐ นำงอำมำนี หะยีวำเงำะ ครโู รงเรยี นไทยรัฐวิทยำ ๒๔ กรรมกำร ๒.๒๑ นำงสำวรอมียะห์ นิมุ ครูโรงเรียนบ้ำนสำคอ กรรมกำร ๒.๒๒ นำงสำวซไู รดำ สอื ยุ ครูโรงเรยี นตลำดลำใหม่ กรรมกำร ๒.๒๓ นำงซำรำ่ ห์ ปำแมมะ๊ ครูโรงเรียนประชำอทุ ิศ กรรมกำร ๒.๒๔ นำงสำวสุไวบ๊ะ มำมุ ครโู รงเรยี นบำ้ นรว้ั ตะวัน กรรมกำร ๒.๒๕ นำงสำววไิ ล บุญไชยสรุ ิยำ ครโู รงเรยี นบ้ำนธำรนำ้ ผงึ้ กรรมกำร ๒.๒๖ นำงสำวสวยบะห์ ยโู ซะ๊ ครโู รงเรยี นบ้ำนเบญญำ กรรมกำร ๒.๒๗ นำงสำวนญิ ำดำ สำและ ครโู รงเรยี นบ้ำนตำเซะ กรรมกำร ๒.๒๘ นำงสำวลำวยี ะห์ สำระ๊ ครโู รงเรียนบำ้ นบันนังลวู ำ กรรมกำร ๒.๒๙ นำงรอสนี กำรี ครูโรงเรยี นบ้ำนยะตะ๊ กรรมกำร ๒.๓๐ นำงสำวซำรีปะห์ มะลี ครูโรงเรยี นบ้ำนบำโงย กรรมกำร ๒.๓๑ นำงสำวซำกูรำ หลงแซ ครูโรงเรียนบ้ำนจะรงั ตำดงฯ กรรมกำร ๒.๓๒ นำงอำมำลี ยีกำรอบำ ครูโรงเรียนบำ้ นบือยอง กรรมกำร ๒.๓๓ นำงสำวรอมละ๊ สมำด ครโู รงเรยี นบ้ำนรำมัน กรรมกำร ๒.๓๔ นำงรูสนำนี มะติ ครูโรงเรียนบ้ำนกอตอตอื ระ๊ กรรมกำร ๒.๓๕ นำงสำวมำรีนำ บินอับดุลลำ ครูโรงเรียนบำ้ นพอเม็ง กรรมกำร ๒.๓๖ นำงสำวไซนะ มะเระ ครโู รงเรยี นบำ้ นสะโต กรรมกำร ๒.๓๗ นำงสำวสมศรี แซ่หลี ครโู รงเรยี นบำ้ นตะโละหะลอ กรรมกำร ๒.๓๘ นำงสตี อี ำยะ โตะ๊ กำยอ ครโู รงเรียนบำ้ นต้นแซะ กรรมกำร ๒.๓๙ นำยมะสอและ ดอเลำะอำลี ครโู รงเรยี นบ้ำนสะเอะใน กรรมกำร ๒.๔๐ นำงฮำสือนะ๊ รำมนั เจะ๊ ครูโรงเรยี นบำ้ นกูวำ กรรมกำร ๒.๔๑ นำงสำวอสั มะ สะอิ ครูโรงเรยี นบ้ำนสะเอะ กรรมกำร ๒.๔๒ นำงสำวมำรแี ย ลอื โมะ ครูโรงเรยี นบ้ำนกรงปีนัง กรรมกำร /๒.๔๓ นำงสำวฟำรีซัน ยะยอื ริ (2)

3 ๒.๔๓ นำงสำวฟำรซี นั ยะยอื ริ ครโู รงเรยี นสันตวิ ิทยำ กรรมกำร ๒.๔๔ นำยยูโซ๊ะ มะลำเฮง ครูโรงเรียนบ้ำนปุโรง กรรมกำร ๒.๔๕ นำงดำรำนี นำแว ๒.๔๖ นำงวรรณำ หีมโตะเตะ ครโู รงเรยี นบำ้ นตะโละซแู ม กรรมกำร ๒.๔๗ นำงสำวนินูรฮำยำตี อเุ ซง็ ๒.๔๘ นำยยะมะลูดนิ นิยำแม ครูโรงเรียนบ้ำนโฉลง กรรมกำร ๒.๔๙ นำงฐติ ินำฎ เชอ้ื ทอง ครโู รงเรยี นบำ้ นลอื มุ กรรมกำร ศกึ ษำนเิ ทศก์ กรรมกำรและเลขำนกุ ำร เจำ้ หนำ้ ทธ่ี รุ กำร กรรมกำรและผ้ชู ว่ ยเลขำนกุ ำร ๓. คณะกรรมกำรฝ่ำยกำรเงนิ และพสั ดุ มหี น้ำท่ี เบิกจ่ำยเงินและพสั ดุ จัดซอ้ื จดั จ้ำง จดั ทำหลกั ฐำน ตำมระเบยี บทำงรำชกำร ประกอบด้วย ๓.๑ นำงวรรณฤดี สตั ยำทติ ย์ ผอ. กลุ่มบริหำรกำรเงินและสนิ ทรัพย์ ประธำนกรรมกำร ๓.๒ นำงวิลำวัณย์ ก้องศริ ิวงศ์ นกั วิชำกำรพัสดุ กรรมกำร ๓.๓ นำงอำรรี ตั น์ กฤษฎำวตั ร นกั วิชำกำรกำรเงนิ และบญั ชี กรรมกำร ๓.๔ นำงอทุ มุ พร หนูลอ้ ม พนักงำนรำชกำร กรรมกำร ๓.๕ นำยยะมะลูดนิ นิยำแม ศกึ ษำนิเทศก์ กรรมกำรและเลขำนกุ ำร ๓.๖ นำงสำวรอสนี กำมำเซะ๊ พนักงำนรำชกำร กรรมกำรและผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำร ทั้งน้ี ให้ผูท้ ไี่ ดร้ บั มอบหมำยปฏบิ ัตงิ ำนให้เต็มควำมรู้ ควำมสำมำรถ เพอ่ื ให้โครงกำร/กิจกรรมสำเรจ็ ลลุ ่วง ตำมวตั ถุประสงค์ สง่ั ณ วนั ที่ ๒๑ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๖๑ (นำยจรี ยุทธ วิชญรกั ษ์) รองผู้อำนวยกำรสำนกั งำนเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำ รกั ษำรำชกำรแทน ผอู้ ำนวยกำรสำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำยะลำ เขต ๑ (3)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook