ทรงพระเจริญ ผอู ํานวยการสภากาชาดไทย
ประวตั ิ สภากาชาดไทย เป็ นองค์กรการกศุ ลเพ่ือมนุษยธรรม ถือกาํ เนิดขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. 2436 (ร.ศ.112) เนื่องจากเกดิ กรณพี พิ าทระหว่างประเทศไทยกบั ฝร่ังเศสเกย่ี วกบั เขตแดนริมฝั่งซ้ายแม่นํา้ โขง และมกี ารสู้รบเกดิ ขนึ้ เป็ นผลให้มีทหารเสียชีวติ และบาดเจ็บ ได้รับความทุกข์ทรมานจํานวนมาก แต่ยงั ไม่มีองค์การกศุ ลใดเข้าไปช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ให้เป็ นกจิ ลกั ษณะ ดงั น้นั กลุ สตรีไทยที่สูงศกั ด์ิในเวลาน้นั โดยการนาํ ของท่านผหู้ ญิงเปล่ียน ภาสกรวงศ์ ภริยาเจา้ พระยา ภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ไดช้ กั ชวนบรรดาสตรีไทยช่วยกนั เร่ียไรเงินและสิ่งของ เพ่อื ส่งไปช่วยเหลือ ทหารที่ไดร้ ับบาดเจบ็ และมีความเห็นวา่ ควรจะมีองคก์ ารใดองคก์ ารหน่ึงช่วยบรรเทาความทุกขย์ ากของ ทหาร เช่นเดียวกบั องคก์ ารกาชาดของตา่ งประเทศ จึงไดน้ าํ ความกราบบงั คมทูลสมเดจ็ พระนางเจา้ สวา่ ง วฒั นา พระบรมราชเทวี (สมเดจ็ พระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ ) ขอใหท้ รงเป็น ชนนีบาํ รุง คือ เป็นองคอ์ ุปถมั ภใ์ นการจดั ต้งั องคก์ าร เพอ่ื บรรเทาทุกขย์ ากของทหาร ความทราบถึง พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพอพระราชหฤทยั เป็น อยา่ งยง่ิ ทรงพระราชดาํ ริวา่ เป็นความคิดท่ีตอ้ งดว้ ยแบบอยา่ ง อารยประเทศท่ี เจริญแลว้ ท้งั หลาย จึงทรง พระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตใหจ้ ดั ต้งั “สภาอณุ าโลมแดง” ข้ึน เม่ือวนั ที่ 26 เมษายน 2436 ต่อมาถือเป็นวนั สถาปนาสภากาชาดไทย และทรงรับไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ มีสมเดจ็ พระนางเจา้ สวา่ งวฒั นา พระบรมราชเทวี ทรงเป็น “สภาชนนี” สมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระวร ราชเทวี (สมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง) ทรงเป็น สภา นายกิ า ท่านผหู้ ญิงเปล่ียน ภาสกรวงศ์ เป็น เลขานุการิณี และ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ พระองคเ์ จา้ พวง สร้อยสอางค์ เป็นเหรัญญิกา สภาอุณาโลมแดง
พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมื่อทรงดาํ รงตาํ แหน่งพระยพุ ราชเสดจ็ กลบั จากการศึกษา ในประเทศองั กฤษผา่ นมาทางประเทศญ่ีป่ ุน ไดเ้ สดจ็ ทอดพระเนตรโรงพยาบาลของกาชาด ญี่ป่ ุน ทาํ ใหท้ รงพระดาํ ริวา่ ถา้ ไดจ้ ดั โรงพยาบาลของกาชาดข้ึนในเมืองไทย กจ็ ะเป็นประโยชนแ์ ก่ บา้ นเมือง ฉะน้นั เม่ือ สมเดจ็ พระราชบิดา เสดจ็ สู่ สวรรคาลยั พระองคจ์ ึงไดร้ ่วมกบั พระราชภราดาภคินี ทรงบริจาคทรัพยร์ วมกบั ทุนของสภาอุณาโลมแดงท่ีมีอยู่ สร้างโรงพยาบาลข้ึนในที่ดินส่วนพระองค์ แลว้ โปรดเกลา้ ฯ ขนานนามตามพระปรมาภิไธย พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดีศรีสินทร มหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ “โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์” เพือ่ เป็นอนุสรณ์ ในพระราชบิดา ใหโ้ รงพยาบาล น้ี เป็นของสภากาชาดสยาม เมื่อ พ.ศ. 2457 ชื่อสภาอณุ าโลมแดง และสภากาชาดน้ี เรียกปะปนกนั ตลอด มา แต่เมื่อ พ.ศ. 2453 ช่ือสภาอุณาโลม แดงกส็ ูญไป คงใชก้ นั แต่ สภากาชาดสยาม หรือสภากาชาดไทย ตามช่ือประเทศ ซ่ึงเปล่ียนจาก สยามเป็นไทย มาจนบดั น้ี ในปี พ.ศ.2461 มีการออกพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยสภากาชาดสยาม มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ช่วย รักษาพยาบาลผปู้ ่ วยไขแ้ ละบาดเจบ็ ในสงครามและยามสงบ กบั ท้งั ทาํ การบรรเทาทุกขใ์ นเหตุการณ์สา ธารณภยั พินาศ โดยไม่เลือกเช้ือชาติ สญั ชาติ ลทั ธิ ศาสนา หรือความเห็นในทางการเมืองของผปู้ ระสบภยั ยดึ หลกั มนุษยธรรมเป็นท่ีต้งั และต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ไดอ้ อกพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยสภากาชาดสยาม แกไ้ ขเพิม่ เติมจดั ระเบียบสภากาชาดสยามเป็นสมาคมอิสระ ยงั ผลให้คณะกรรมการกาชาดระหว่าง ประเทศรับรองสภากาชาดสยาม เมื่อวนั ท่ี 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 และสันนิบาตสภากาชาดมมี ติรับ สภากาชาดสยามเป็ นสมาชิกเมื่อปี พ.ศ. 2464 ต่อมาสภากาชาดสยามเปลย่ี นช่ือเป็ น สภากาชาดไทย เม่ือปี พ.ศ. 2482 นอกจากพระราชบญั ญตั ิสภากาชาดไทย 2 ฉบบั ดงั กล่าวแลว้ ไดม้ ีพระราชบญั ญตั ิสภากาชาดไทย ฉบบั ท่ี 3 วนั ท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ.2499 เก่ียวกบั เร่ืองเคร่ืองหมายกาชาด เพื่ออนุวตั ิตามบทแห่งอนุสญั ญาเจนี วา ปี พ.ศ.2492 พระราชบญั ญตั ิฉบบั ที่ 4 วนั ที่13 มีนาคม พ.ศ.2550 วา่ ดว้ ยเหรียญกาชาด และ พระราชบญั ญตั ิ ฉบบั ที่ 5 วนั ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2550 เพิ่มขอ้ ความในพระราชบญั ญตั ิปี พ.ศ.2461 วา่ “ให้ สภากาชาดไทย มฐี านะเป็ นนิติบุคคล ดําเนินการอนั เป็ นสาธารณกศุ ลเพื่อมนุษยธรรม ตามหลกั การ กาชาดสากล และพงึ ได้รับการสนับสนุนการดําเนินงานจากรัฐ”
การบริหารงานของสภากาชาดไทย การบริหารงานสภากาชาดไทย มีพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรม หาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็ นพระบรมราชูปถัมภกสภากาชาดไทย สมเดจ็ พระนางเจ้า สิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง เป็ นสภานายกิ าสภากาชาดไทย สมเดจ็ พระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็ นอุปนายกิ าผู้อาํ นวยการ สภากาชาดไทย คณะกรรมการสภากาชาดไทย มีภารกิจในการควบคุมและกาํ กบั กิจการของสภากาชาดไทย ประกอบดว้ ย สภานายก อุปนายกผอู้ าํ นวยการฯ กรรมการ 25 ท่าน และกรรมการผแู้ ทนภาคเหล่ากาชาด จงั หวดั 12 ภาค จาํ นวน 12 ท่าน มีการประชุมคณะกรรมการฯ ปี ละ 3 คร้ัง เป็นอยา่ งนอ้ ย คณะกรรมการบริหารสภากาชาดไทย ประกอบดว้ ย อุปนายกิ าผอู้ าํ นวยการฯ เลขาธิการ เหรัญญิก กรรมการสภากาชาดไทยผไู้ ดร้ ับการแต่งต้งั จากอุปนายกิ าผอู้ าํ นวยการฯ จาํ นวน 4 ท่าน มีหนา้ ที่เป็นผู้ กาํ กบั ดูแลการดาํ เนินกิจการของสภากาชาดไทย ตามท่ีไดร้ ับมอบหมายจากกรรมการสภากาชาดไทย และใหม้ ีอาํ นาจในการอนุมตั ิแทนกรรมการสภากาชาดไทย ในระหวา่ งท่ีไม่มีการประชุมกรรมการ สภากาชาดไทย คณะกรรมการบริหารประชุมเดือนละ 1 คร้ัง
คณะกรรมการจัดการสภากาชาดไทย ประกอบดว้ ย เลขาธิการ ผชู้ ่วยเลขาธิการฯ เหรัญญิก ผชู้ ่วย เหรัญญิกฯ ผอู้ านวยการสาํ นกั งานทุกสาํ นกั งาน มีหนา้ ท่ีดาํ เนินกิจการท้งั ปวงของสภากาชาดไทยให้ เป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิ ขอ้ บงั คบั ขอ้ ระเบียบ และระเบียบต่างๆ รวมถึงมติคณะกรรมการสภากาชาด และคณะกรรมการบริหารของสภากาชาด และใหม้ ีอาํ นาจในการอนุมตั ิแทนคณะกรรมการบริหาร ใน อาํ นาจต่างๆ ที่กาํ หนดไวใ้ นขอ้ ระเบียบกรรมการบริหาร และระเบียบต่างๆ ท่ีออกโดยกรรมการบริหาร คณะกรรมการเจา้ หนา้ ท่ีประชุมทุกสองสปั ดาห์ ผงั บริหารงาน
วิสัยทัศน สภากาชาดไทย เป็นองคก์ รสาธารณกศุ ลระดบั ชาติ ดาํ เนินการเพ่ือมนุษยธรรม ตาม หลกั การกาชาดสากล เป็นองคก์ รท่ีมีลกั ษณะเป็นพลวตั และนวตั กรรม มีวสิ ยั ทศั นท์ ี่จะกา้ วไปขา้ งหนา้ สู่ ความเป็นเลิศ และเป็นไปตามคติทศั น์ของสภากาชาดไทย คือ การบรรเทาทุกข์ บาํ รุงสุข บาํ บดั โรค กาํ จดั ภยั เพ่อื ประโยชนส์ ุขของประชาชนและเป็นท่ีพ่งึ ของประชาชน พนั ธกจิ พนั ธกจิ ที่ 1 การบริการทางการแพทย์และสุขภาพอนามัย พนั ธกจิ ที่ 2 การบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภยั พนั ธกจิ ที่ 3 การบริการโลหิต พนั ธกจิ ที่ 4 การส่งเสริมคุณภาพชีวติ ยทุ ธศาสตร ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุขทเ่ี ป็ นเลศิ และครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพฒั นาและขยายบริการโลหิต ผลติ ภณั ฑ์จากพลาสมาและเซลล์ต้นกาํ เนิดเมด็ โลหิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 การช่วยเหลือผู้ประสบภยั อย่างรวดเร็ว ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพฒั นาและส่งเสริมคุณภาพชีวติ ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพฒั นาระบบอาสาสมคั รแบบบูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการเชิงรุก
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: