Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การออกแบบและกระบวนการการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

การออกแบบและกระบวนการการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

Published by Nurfatin Booyoh, 2022-02-09 15:28:43

Description: การออกแบบและกระบวนการการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

Search

Read the Text Version

By นางสาวนรู ฟาตนิ บูโยะ รหสั 63202040031

การออกแบบและกระบวนการการผลติ สื่อสงิ่ พมิ พ์ บทนำ การออกแบบมีความสำคัญในการผลิตสื่อส่งิ พิมพ์ เพราะการออกแบบคือการวางแผนในการทำงานซึ่ง เป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญของกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้ประสบผลสำเร็จ การอออกแบบในลักษณะใดก็ ตามต้องอาศัยสว่ นประกอบงานศิลป์อันได้แก่ เส้น รูปรา่ ง สี ลกั ษณะผวิ เพ่อื นำมาประกอบกนั เป็นผลงานท่ีดีมี ความสวยงาม เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ จงึ ทำให้เกดิ ผลงานทมี่ ีรูปแบบที่ดี ส่อื ส่ิงพมิ พ์ทีจ่ ะสำเรจ็ บรรลจุ ุดมุ่งหมายไดน้ ั้น นอกจากการออกแบบทมี่ ีประสิทธภิ าพแล้วกระบวนการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ก็มีความสำคัญอย่างยิ่ง ทั้งในด้านการวางแผน การเตรียมการก่อนพิมพ์ การทำต้นฉบับ การเลือกประเภทของการพิมพ์เพื่อให้เหมาะสมกับสื่อสิ่งพิมพ์ และส่งผลให้การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สำเร็จ บรรลุจดุ ม่งุ หมาย 1.การออกแบบส่อื สง่ิ พมิ พ์ การอออกแบบเป็นการนำองค์การประกอบมูลฐานมาจัด หรือรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบใน งานออกแบบ ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ภาพ หรือพื้นที่ว่างๆเพื่อให้การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เป็นไปตาม วตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ ้องการ 1.1 วตั ถุประสงค์ของการออกแบบสื่อสิ่งพมิ พ์ 1. ใช้เป็นแนวทางในการผลิตส่อื ส่งิ พิมพ์ เพ่ือรับรูร้ ูปแบบ รูปรา่ ง ลกั ษณะ และส่วนประกอบในการ พมิ พ์ 2. เพอ่ื สรา้ งความสวยงามทางศลิ ปข์ องสื่อส่ิงพิมพ์ 3. เพื่อดงึ ดูดความสนใจของผู้พบเหน็ และผู้อา่ น 4. เพื่อเสนอขา่ วสารและง่ายตอ่ การจดจำเน้ือหา 5. เพื่อปดิ บงั ความด้อยตอ่ คณุ ภาพส่ือส่ิงพิมพ์ 6. เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการส่อื สาร 1.2 หลกั การออกแบบสอ่ื สงิ่ พมิ พ์ การออกแบบส่อื สิ่งพมิ พ์ใหม้ ีความน่าสนใจและสะดุดตาแก่ผอู้ ่าน สามารถทำได้ตามหลกั การออกแบบ ส่อื สงิ่ พิมพ์ดงั นี้

1. ออกแบบให้ดึงดูดความสนใจของผู้อ่านและพบเห็นAD 2. ออกแบบสอ่ื ส่ิงพิมพใ์ หเ้ ป็นทส่ี งั เกตหรอื จดจำได้งา่ ย 3. นำขา่ วสารไปสผู่ ู้อ่าน ดว้ ยการออกแบบท่มี ีลักษณะของการเสนอเน้ือหาในรปู แบบทส่ี วยงาม และ สะดวกต่อการทำความเข้าใจในเนื้อหา 4. ใชศ้ ิลปะของการออกแบบปดิ บังความด้อยในคุณภาพของวสั ดุพมิ พ์ 5. ใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจเน้ือหาได้งา่ ยและสะดวกข้นึ 6. เป็นการออกแบบท่ีมีลกั ษณะเหมาะสม ตรงกับความมุ่งหมายตามประโยชนใ์ ช้สอยมีความกลมกลนื ตามหลกั เกณฑ์ความงามของสงั คม และสามารถปรับปรงุ เปลีย่ นแปลงได้ 7. เปน็ การออกแบบทีม่ ีลักษณะง่าย มจี ำนวนผลิตผลตามความต้องการของสงั คมและมีกระบวนการ ผลติ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน รูปท่ี 2.1 ส่ือสงิ่ พิมพ์ท่ีมีลักษณะสะดดุ ตาและนา่ สนใจ 8. มสี ดั สว่ นท่ีดี มีความกลมกลืนกันทงั้ ส่วนรวม เช่น รปู แบบ ลักษณะผิว เส้น สี เปน็ ตน้ มสี ดั สว่ นท่ี เหมาะสมในการใช้งาน 9. มีความเหมาะสมกับวสั ดุและวิธีการ มีคณุ ภาพ มีวธิ ีการใช้งา่ ยสะดวก 10. มีลักษณะของการตกแตง่ อย่างพอดี ไม่รกรุงรงั 11. มีโครงสร้างท่เี หมาะสมกลมกลนื กบั วัฒนธรรมและความต้องการของสังคม 12. ไม่ควรสิ้นเปลอื งเวลามากนัก 1.3 หลักในการพิจารณาออกแบบสือ่ สง่ิ พมิ พ์ ก่อนที่ผู้ออกแบบตัดสินใจผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ผู้ออกแบบจำเป็นจะต้องพิจารณาองค์ประกอบของการ พิมพ์เปน็ ข้อมูลสำคัญตอ่ การออกแบบองค์ประกอบในการพมิ พ์ ดังนี้

1.วัตถปุ ระสงคข์ องการพิมพ์ การกำหนดเปา้ หมายของส่ือสิ่งพิมพ์ว่า เป็นสอื่ ส่งิ พมิ พ์สำหรับบุคคลวัย ใด หนังสือสำหรับเด็กหรือผู้ใหญ่ เพศใด สำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย การศึกษาระดับใดลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนงั สอื ทางวิชาการ สารคดี รอ้ ยแกว้ ร้อยกรอง รูปท่ี 2.2 สอื่ สิ่งพมิ พ์ทผ่ี ลติ จากกระดาษที่ตา่ งกัน 2.รูปร่างของสื่อสิ่งพิมพ์ ตามปกติมีรูปร่างมาตรฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าตามลักษณะของกระดาษ ขนาดมาตรฐาน ดั้งนั้นการกำหนดสื่อสิ่งพิมพ์ให้มีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าจึงไม่ทำให้กระดาษเสียเศษ ซง่ึ มีทั้งสีเ่ หลีย่ มผนื ผ้าแนวตัง้ และสีเ่ หลี่ยมผืนผ้าแนวนอน รูปที่ 2.3 รูปรา่ งของหนังสอื สำหรับเด็ก 3.ตำแหน่งจุดแห่งความสนใจในสื่อสิ่งพิมพ์ โดยปกติผู้ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มักจะให้ความสำคัญแก่ ปกหน้าพิเศษมากกว่าส่วนอีก ทั้งนี้เพราะเป็นจดุ ดงึ ดดู สายตาและสามารถสร้างความน่าสนใจแกผู้ดูในกรณีที่มี การแข่งขันกับสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆสำหรับการจัดหน้าภายในหนังสือนั้นสมัยก่อนมักให้ความสำคัญแก่หน้าขวามือ หรอื หนา้ ค่ี ไดแ้ ก่ 1,3,5,7 ไปตามลำดบั

รปู ท่ี 2.4 จดุ รวมสายตาอยู่สว่ นบนของรา่ งกายมากกว่าสว่ นลา่ ง 4.ขนาดของสื่อสิ่งพิมพ์ ขึ้นอยู่กับขนาดของกระดาษเป็นสำคัญจะเห็นได้ว่าหนังสือขนาด 8 หน้ายก (7.5 นิ้ว*10.25นิ้ว) ที่พิมพ์ในปัจจุบันมีขนาดรูปเล่มที่แท้จริงไม่เท่ากัน ทั้งนี้เนื่องจากขนาดของกระดาษที่ใช้ พมิ พ์ไมเ่ ท่ากนั ไดแ้ ก่ กระดาษขนาด 31 น้ิว *43 นิ้ว และกระดาษขนาด 24 นิว้ *35 นิ้ว รปู ท่ี 2.5 กระดาษชดุ เอ

1.4 หลกั การออกแบบสง่ิ พมิ พ์ สิ่งพิมพ์ที่พบเห็นโดยทั่วไปประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญหลายอย่าง ได้แก่ ตัวอักษรหรือข้อความ ภาพประกอบเนื้อที่ว่าง และส่วนประกอบอื่น การออกแบบสิ่งพิมพ์ที่ต้องคำนึงถึงการจัดวางองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดงั กล่าวเข้าด้วยกนั โดยใช้หลกั การ ดังน้ี 1. ทศิ ทางและการเคลื่อนไหว (Direction & Movement) เม่ือผู้รบั สารมองดูสื่อสิ่งพิมพ์ การรับรู้ เกดิ ข้ึนเปน็ ลำดับตามการมองเห็น กลา่ วคอื เกิดตามการวาดสายตาจากองค์ประกอบหน่ึงไปยังอีกองคป์ ระกอบ หนึ่ง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีการดำเนินการวางแผน กำหนดและชักจูงสายตาผู้รับสารให้ เคลื่อนไหวในทิศทางที่ถูกต้อง ตามลำดับขององค์ประกอบที่ต้องการให้รับรู้ก่อนหลัง โดยทั่วไปหากไม่มีการ สร้างจุดเด่นขึ้นมา สายตาของผู้รับสารจะมองดูหน้ากระดาษที่เป็นสื่อส่ิงพิมพ์ในทิศทางทีเ่ ป็นตัวอักษร (Z) ใน ภาษาอังกฤษ คือ จะเริ่มที่มุมบนด้านขวาตามลำดับการจัดองค์ประกอบที่สอดคล้องกับธรรมชาติการมองนี้ เป็นสว่ นช่วยให้เกิดการรับรูต้ ามลำดบั ท่ีตอ้ งการ 2. เอกภาพและความกลมกลืน (Unity & Harmony) เอกภาพคือความเป็นอันหน่ึงอนั เดียวกัน ซึ่ง ในการจัดทำเลย์เอาต์หมายถึงการเอาองค์ประกอบที่แตกต่างกันมาวางไว้ในพื้นที่หน้ากระดาษเดียวกันอย่าง กลมกลืน ทำหน้าที่สอดคล้องและส่งเสริมกันและกันในการส่ือสารความคิดรวบยอด และบุคลิกภาพของส่ือ สงิ่ พมิ พ์นน้ั ๆ การสร้างเอกภาพนี้สามารถทำไดห้ ลายวธิ เี ช่น

รปู ที่ 2.7 การจดั องคป์ ระกอบตามหลกั การการสรง้ ความตอ่ เนอ่ื งกนั ใหอ้ งคป์ ระกอบ – การเลือกใช้องค์ประกอบอย่างสม่ำเสมอ เช่น การเลือกใช้แบบตัวอักษรเดียวกัน การเลือกใช้ ภาพขาว ดำท้งั หมด เปน็ ต้น รูปที่ 2.8 การจดั องคป์ ระกอบตามหลักการการเลอื กชอ้ งค์ประกอบอยา่ งสม่ำเสมอ – การสร้างความต่อเนื่องกันให้องค์ประกอบ เช่น การจัดให้พาดหัววางทับ ลงบนภาพการใช้ ตัวอักษรท่ีเปน็ ขอ้ ความ ล้อตามทรวดทรงของภาพ เป็นตน้ – การเว้นพื้นที่ว่างรอบองค์ประกอบทั้งหมด ซึ่งจำทำให้พื้นที่ว่างนั้นทำหน้าท่ี เหมือนกรอบสี ขาวล้อมรอบองค์ประกอบทัง้ หมดไว้ภายใน ช่วยให้องคป์ ระกอบท้งั ดเู หมือนวา่ อย่กู ันอย่างเปน็ กลุ่มเปน็ ก้อน

รูปท่ี 2.9 การจัดองคป์ ระกอบตามหลักการการเวน้ พ้ืนท่วี ่างรอบองค์ประกอบทง้ั หมด 3. ความสมดลุ (Balance) หลกั การเรอื่ งความสมดลุ นีเ้ ป็นการตอบสนองธรรมชาติของผู้รบั สาร ใน เรือ่ งของแรงโนม้ ถ่วง โดยการจัดวางองค์ประกอบท้ังหมดในพน้ื ท่ีหน้ากระดาษ จะต้องไม่ขัดกบั ความรู้สึกนี้ คือ จะต้องไมด่ ูเองเอียงหรือหนกั ไปด้านใดดา้ นหนึง่ โดยไม่มีองคป์ ระกอบมาถ่วงในอกี ด้าน การจดั องค์ประกอบให้ เกิดความสมดลุ แงได้เป็น 3 ลกั ษณะคือ – สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เป็นการจัดวางองค์โดยให้องค์ประกอบใน ด้านซ้ายและด้านขวาพื้นที่หน้ากระดาษมีลักษณะเหมือนกันทั้งสองข้าง ซึ่งองค์ประกอบที่เหมือนกันในแต่ละ ดา้ นน้ีจะถว่ งนำ้ หนักกนั และกันใหค้ วามรูส้ ึกสมดลุ – สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) เป็นการจักวางองค์ประกอบโดยให้ องค์ประกอบในด้านซ้ายและด้านขวาพืน้ ท่ีหน้ากระดาษมีลักษณะไม่เหมือนกันทัง้ สองข้าง แม้องค์ประกอบจะ ไม่เหมือนกนั ในแต่ละดา้ นแต่ก็จะถ่วงนำ้ หนักกนั และกันใหเ้ กดิ ความสมดุล – สมดุลแบบรัศมี (Radial Balance) เป็นการจัดวางองค์ประกอบ โดยให้องค์ประกอบแผ่ไปทุก ทศิ ทางจากจุดศูนยก์ ลาง 4. สัดส่วน (Proportion) การกำหนดสัดส่วนนี้เป็นการกำหนดความสัมพันธ์ในเรื่องของขนาดซึ่งมี ความสัมพันธ์โดยเฉพาะในหน้ากระดาษของสื่อสิ่งพิมพ์ที่ต้องการให้มีจุดเด่น เช่น หน้าปกหนังสื อเป็นต้น เพราะองค์ประกอบที่มีสัดส่วนแตกต่างกันจะดึงดูดสายตาได้ดีกว่าการใช้องค์ประกอบทั้งหมดในสัดส่วนท่ี ใกล้เคียงกัน ในการกำหนดสัดส่วนจะต้องกำหนดองค์ประกอบทั้งหมดในพืน้ ที่หน้ากระดาษไปพร้อม ๆ กันว่า ควรจะเพ่ิมหรือลดองค์ประกอบใดไมใ่ ช่ค่อย ๆ ทำไปทลี ะองคป์ ระกอบ 5. ความแตกต่าง (Contrast) เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด โดยการเน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหน่ึง เด่นขึ้นมาด้วยการเพิ่มขนาดใหญ่กว่าองค์ประกอบอื่น ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น ซึ่งโดย ธรรมชาติแล้วผดู้ จู ะเลอื กดูองคป์ ระกอบใหญ่กอ่ น

– ความแตกต่างโดยขนาด เป็นวิธีการที่ง่ายที่สด โดยการเน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบ หนึ่ง เด่นขึ้นมาด้วยการเพิ่มขึ้นมาด้วยการเพิ่มขนาดใหญ่กว่าองค์ประกอบอื่น ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาด ใหญ่ เป็นตน้ ซ่งึ โดยธรรมชาตแิ ลว้ ผู้ดูจะเลือกดูองคป์ ระกอบใหญ่ก่อน – ความแตกต่างโดยรูปร่าง เป็นวิธีที่เน้นองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งเด่นขึ้นมาด้วยการใช้ รูปร่างที่แตกต่างกันออกไปจากองค์ประกอบอ่ืนในหนา้ กระดาษ เชน่ การได้ตดั ภาพคนตามรูปร่างของร่างกาย แล้วนำไปวางท่หี นา้ กระดาษที่มภี าพแทรกเล็ก ๆ ท่อี ยู่ในกรอบสเี่ หล่ยี ม เปน็ ต้น – ความแตกต่างโดยความเข้ม เป็นวิธีการที่เน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งเด่นขึ้นมา ด้วยการใช้เพิ่มหรือลดความเข้มหรือน้ำหนักขององค์ประกอบนั้นให้เข้มหรืออ่อนกว่าองค์ประกอบอื่น ๆ ที่อยู่ รวมกันในหน้ากระดาษ เช่น การใช้ตัวอักษรที่เป็นตัวหนาในย่อหน้าที่ต้องการเน้นเพียงย่อหน้าเดียวใน หน้ากระดาษ เป็นตน้ 6. จังหวะ ลีลา และการซ้ำ (Rhythm & Repetition) การจัดวางองค์ประกอบหลาย ๆ ชิ้นโดย กำหนดตำแหน่งให้เกิดมีมีชอ่ งว่าเป็นช่วง ๆ ตอน ๆ อย่างมีการวางแผนล่วงหน้า จะทำให้เกิดลีลาขึ้น และหา กว่าองค์ประกอบหลาย ๆ ชิ้นนั้นมีลักษณะซ้ำกันหรือใกล้เคียงกัน ก็จะยิ่งเป็นการเน้นให้เกิดจังหวะลีลา ได้ ชัดเจนย่ิงขึน้ ลักษณ์ตรงข้ามกับแบบแรก จังหวะและลีลาลกั ษณะนจ้ี ะกอ่ ใหเ้ กิดความรสู้ ึก ที่ตน่ื เต้นดเู คล่ือนไหว และมีพลัง

2. การผลิตสือ่ ส่ิงพมิ พ์คอมพิวเตอรแ์ บบตั้งโต๊ะ 2.1 ความหมายของการผลิตส่ือสิ่งพมิ พด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์แบบต้ังโต๊ะ “การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ” เป็นศัพท์บัญญัติตามหนังสือศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสาร พ.ศ. 2538 มาจากคำภาษาอังกฤษว่า “Desktop Publishing” หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ) ในระบบการผลิตสิ่งพิมพ์ด้วยต้นทุนที่ไม่สูงมากนัก เพื่อการเรียงพิมพ์ข้อความและภาพกราฟิก กระบวนการของการจัดพิมพ์ด้วย คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะจะ ประกอบด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมกราฟิกและเครื่องพิมพ์เลเซอร์ เพื่อผลิตส่ิงพิมพ์นานา ประเภทได้อย่างสวยงาม และประหยัด การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะน้ีจะมีโปรแกรมเฉพาะในการ ทำงาน เช่น โปรแกรม PageMaker และโปรแกรม QuarkXPress เพื่อการจัดข้อความและภาพกราฟิกให้ รวมอย่หู น้าเดยี วกันได้อยา่ งสวยงาม โดยการจดั ส่ิงตา่ งๆ บนจอภาพใหเ้ รียบร้อยก่อนทจ่ี ะพิมพ์ลงกระดาษด้วย เคร่ืองมือพิมพ์เลเซอรท์ ี่มีความคมชดั สูง สามารถใชโ้ ปรแกรมในการจัดทำสิ่งพมิ พ์ต่าง ๆ เช่น จุลสาร จดหมาย ข่าว แผ่นพับ นามบัตร หรือการเตรียมต้นฉบับ นิตยสาร หรือหนังสือเพื่อส่งโรงพิมพ์ให้ทำฟิล์ม หรือเพลทได้ ทนั ที การใช้การจัดพิมพด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์แบบต้ังโต๊ะนี้จะได้ส่ิงพิมพ์ทีผ่ ลิตออกมามีคุณภาพดีประหยัดกำลังคน และสามารถลดขนั้ ตอนการทำงานได้เป็นอย่างมาก ทำใหป้ ระหยดั เวลาได้เป็นอย่างดี สามารถลดต้นทุนในการ ผลิต สิ่งพิมพ์ได้มากถึง 75% โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของความสามารถในการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาที่พิมพ์ไว้ แล้วได้ทุกโอกาส นับว่า เป็นจุดเด่นสำคัญของเทคโนโลยีการพิมพ์ประเภทนี้ และยังให้ผู้ใช้โปรแกรมทั่วไป สามารถผลติ ส่ือส่ิงพมิ พ์บางประเภทได้ด้วยตนเอง โดยไมต่ อ้ งจ้างโรงพิมพ์เหมือนเมื่อก่อน ด้วยเหตุผลดังกล่าว แล้ว จงึ ทำให้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตัง้ โต๊ะเปน็ ท่นี ิยมใช้กันอย่างแพรห่ ลายในนปัจจุบัน 2.2 ปจั จยั ทำให้การจัดพิมพ์ดว้ ยคอมพิวเตอรแ์ บบตั้งโตะ๊ เปน็ ท่นี ยิ ม การจัดพิมพด์ ้วยคอมพิวเตอร์แบบต้งั โต๊ะได้รับความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายรวดเร็ว เนือ่ งมาจากวตั กรรม สำคญั 4 อย่าง ได้แก่ 1. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์มีราคาถูกลง และมปี ระสิทธภิ าพในการใชง้ านมากข้ึนโดยเฉพาะด้านการพมิ พอ์ ักษร และภาพกราฟิกได้ในเวลาเดยี วกัน 2. โปรแกรมสำเรจ็ รูปในการจัดหนา้ เช่น PageMaker, QuarkXPressและ Ventura Publisher ไดร้ ับการ พฒั นาให้มีประสิทธภิ าพในการทำงานสูงมากขนึ้ เรื่อย ๆ 3. พัฒนาการทางดา้ นการพิมพต์ วั อักษร เช่น PostScript ทำให้สามารถพมิ พ์ตัวอักษรได้สวยงามชัดเจน 4. เครอื่ งพิมพเ์ ลเซอร์มีราคาถกู ลง ทำให้ผู้ใช้สามารถซ้ือมาใชง้ านไดม้ ากขน้ึ 2.3 องคป์ ระกอบของการจัดพมิ พด์ ้วยคอมพวิ เตอร์แบบตัง้ โต๊ะ การจดั พิมพ์ด้วยคอมพวิ เตอรแ์ บบต้งั โต๊ะประกอบดว้ ยอปุ กรณ์และวัสดดุ ังต่อไปนี้คือ 1. เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์

เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะสามารถใช้ได้ทั้งเครื่องในระบบ Macintosh และ PC (Personal Computer) แต่เดิมนั้น การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะจะนิยมใช้ กับเครื่อง Macintosh มากกว่า PC เนื่องจากเครื่อง Macintosh มีการทำงานที่ง่ายและสะดวกกว่า ประกอบ กบั มีโปรแกรมการพิมพ์และจดั หน้าให้เลือกใช้ได้มากกวา่ แตใ่ นปจั จบุ ันการใช้เครอ่ื ง PC ในการจัดดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะก็ได้รับความนิยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะมีการพัฒนาการ ทางด้านระบบปฏิบตั ิการ Windows รวมท้งั เคร่อื ง PC มโี ปรแกรมให้เลอื กมาก ๆ พอ กับเครื่อง Macintosh 2. โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดหนา้ ในการจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะนั้น ถ้าจะให้สิ่งพิมพ์มีคุณภาพดีแล้ว จะต้องอาศัย โปรแกรมสำเร็จรูปหลายโปรแกรมประกอบกัน ซึ่งในปัจจุบันมีให้เลือกใช้มากมายหลายโปรแกรม แต่ละ โปรแกรมจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป ได้แก่ โปรแกรมพิมพ์ข้อความและวาดภาพกราฟิกแบบง่ าย ๆ โปรแกรมวาดภาพ โปรแกรมตกแต่งภาพถ่าย และโปรแกรมสำหรับการจัดหน้า การใช้โปรแกรมสำหรับเครือ่ ง ไมโครคอมพิวเตอร์จะต้องดูว่าเป็นโปรแกรมสำหรับเครื่อง PC หรือ Macintosh ด้วย ทั้งนี้เพราะโปรแกรมใน ช่อื หน่งึ อาจจะผลติ ออกมาสำหรับเครื่องทงั้ สองระบบ 3. เครือ่ งพิมพเ์ ลเซอร์ เครื่องพิมพ์เลเซอร์เป็นเครื่องพิมพ์ความเร็วสูงที่ใช้ลำแสงเลเซอร์ทำให้ตัวอักษรหรือภาพรวมตัวกัน เปน็ จดุ ก่อน แล้วจึงใช้การถ่ายโอนทางไฟฟา้ เพ่ือพิมพ์ลงบนกระดาษอีกทหี น่งึ อัตราความเร็วในการพิมพ์วัดได้ จากจำนวนหน้าที่พิมพ์ออกมาในหนึ่งนาที (Page per minute: ppm) คุณภาพของการพิมพ์ดูจากความ ละเอียดของจำนวนจุดในหนึ่งนิ้ว (dot per inch: dpi) ตามปกติแล้ว งานพิมพ์ที่จะมีคุณภาพจะพิมพ์ด้วย เครื่องพิมพ์เลเซอร์ที่มีความคมชัดในการพิมพ์สูงตั้งแต่ 300-1200 จุดต่อนิ้ว หรือมากกว่านั้น ซึ่งจำนวนความ ละเอียดของจุดจะดูไดจ้ ากเครอ่ื งพิมพแ์ ต่ละเคร่ืองที่ระบไุ ว้เชน่ 300และ 600 จดุ ต่อจุด เปน็ ตน้ แหล่งทมี่ าของขอ้ มูล : http://publishing-sicc.blogspot.com/p/2_22.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook