ตำบลหวC ยโปงO อำเภอเมืองระยอง จังหวดั ระยอง ตำบลห;วยโปÄง จัดอยู/ใน C2 ซึ่งมีความต;องการพื้นฐานด;านสุขภาพและรายได;ด;านอุตสาหกรรม สถานะปHจจุบันของตำบลห;วยโปÄงจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 16 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลห;วยโปÄงมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านการท/องเที่ยว โดยการท/องเที่ยวได;รับผลกระทบจากปHจจัย ต/าง ๆ ในบางช/วง เช/น การชะลอตัวทางเศรษฐกิจและความเชื่อ เพื่อให;มีการพัฒนาตำบลอย/างมีประสิทธิภาพ โดยการใช;ทรัพยากรที่มีอยู/ในตำบล โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) พบว/าแหล/งท/องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตรq / วัฒนธรรม เชิงธรรมชาติ, เชิงสุขภาพ โดยทำการส/งเสริมให;มีการเชื่อมโยงภาคการท/องเที่ยว เพื่อนำไปสู/เกษตรท/องเที่ยว มีการฟhiนฟูทรัพยากรพื้นฐานด;านการประมงโดยการมีส/วนร/วมของประชาชนใน ตำบลให;คงอยู/ต/อไป หากมีการพัฒนาด;านประมงควบคุมไปกับการท/องเที่ยวจะสามารถช/วยเพิ่มรายได;ให;กับ ชุมชนได; ตำบลปาO ยุบใน อำเภอวงั จันทร0 จังหวัดระยอง ตำบลปÄายุบใน จัดอยู/ในกลุ/ม A ซึ่งความต;องการพื้นฐาน 5 มิติ มีครบทุกด;าน สถานะปHจจุบันของ ตำบลปÄายุบในจัดอยู/ในตำบลมุ/งสู/ความยั่งยืนเนื่องจากมีการบรรลุตัวชี้วัดทั้ง 15 เปNาหมาย ในพื้นที่ตำบลปÄายุบ ในมีช/องว/างการพัฒนาทางด;านการเกษตรกรรม โดยพื้นที่เกษตรในปHจจุบันมีแนวโน;มลดลงทุกป~ ทำให;รายได; ของลดลงตามไปด;วย จึงควรมีการส/งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรเพิ่มมากขึ้น โดยจากข;อมูล CBD (Community Big Data) ตำบลปาÄ ยบุ ใน มีการทำเกษตรกรรมทห่ี ลากหลาย ไม/ว/าเปQน ผกั บง;ุ นา ผกั บงุ; แก;ว ผกั สวนครัว ลองกอง มังคุด เงาะ, ยางพารา มะพร;าว มันสำปะหลัง ผักสวนครัว ปาลqม ข;าว ข;าวโพด แมงลัก ถ่ัว ลิสง กะเพรา แตงกวา พริกชี้ฟNา มะเขือเปราะ มะละกอ ทุเรียน ถั่วฝHกยาว กระเจี๊ยบ ยาง ปลา เต/า ซึ่งพืช เหล/านี้เปQนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ จึงควรได;รับการส/งเสริมและพัฒนาให;มีคุณภาพ และมูลค/าเพิ่ม ขยายโอกาส ทางการตลาดไปสู/ภายในและภายนอกประเทศและพัฒนาเปQนเกษตรอุตสาหกรรม เกษตรท/องเที่ยว เพื่อใช; ทรัพยากรทีม่ ีประสิทธิภาพของชมุ ชนให;เกดิ ประโยชนสq ูงสุด 5.2 การวเิ คราะห0ภาพรวมช2องวา2 งการพัฒนาจากตำบลสอู2 ำเภอ จากผลการวิเคราะหqช/องว/างของการพัฒนาในบริบทของตำบล สามารถสรุปภาพรวมได;ว/าตำบลใน จังหวัดระยองมีปHญหาจากการพัฒนาในด;านต/างๆ ได;แก/ ปHญหาการบริหารจัดการน้ำ, ปHญหาการจัดการขยะ มูลฝอย, ปHญหาการไม/สมดุลของการพัฒนาระหว/างพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ทางการเกษตร, ปHญหา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝHnง, ปHญหาคุณภาพน้ำ (น้ำเสีย), ปHญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ, ปHญหายาเสพติดและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยqสิน, ปHญหาเศรษฐกิจเนื่องจากการแพร/ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรน/า และปHญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ ซึ่งแต/ละปHญหามีระดับความรุนแรงที่แตกต/าง กันตามพืน้ ทข่ี องแตล/ ะอำเภอ 164
เนื่องจากปHญหาของแต/ละอำเภอในจังหวัดระยอง สามารถจำแนกตามภูมิศาสตรqที่ตั้งอย/างเห็นได;ชัด จงึ ของสรุปภาพรวมตามกลมุ/ อำเภอ ดังนี้ 1) กลุ/มอำเภอที่อยู/ตามแนวชายฝHnงทะเล เช/น อำเภอเมือง และอำเภอบ;านฉาง มักประสบปHญหา ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝHnง ปHญหาการประมงและการลักลอบการจับ สตั วนq ำ้ และปญH หาขยะมลู ฝอยอันเกดิ จากการทอ/ งเทย่ี ว 2) กลุ/มอำเภอที่มีสัดส/วนรายได;จากการท/องเที่ยวในระดับสูง เช/น อำเภอเมืองระยอง และอำเภอ แกลง กลุ/มอำเภอนี้ มักเกิดปHญหาการจัดการคุณภาพน้ำและปHญหาที่เกิดจากความหนาแน/นของ ประชากร เช/น ปHญหายาเสพติด ปHญหาอาชญากรรม และปHญหาความเหลื่อมล้ำของรายได; ระหวา/ งคนรวยและคนจน 3) กลุ/มอำเภอท่ีมีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช/น อำเภอวังจันทรq อำเภอเขาชะ เมา อำเภอปลวกแดง และอำเภอบ;านฉาง มักประสบปHญหาราคาสินค;าเกษตรตกต่ำและปHญหา การบุกรุกท่ีดนิ ของรัฐ 4) กลุ/มอำเภอที่มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เช/น อำเภอนิคมพัฒนา อำเภอปลวกแดง และอำเภอบ;าน ฉาง ประสบปHญหาการไม/สมดุลของการพัฒนาระหว/างพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ทางการ เกษตร ปHญหาพื้นที่เสื่อมโทรม ปHญหาการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลต/างๆ และปHญหาทางสังคมอัน เกดิ ขึ้นจากแรงงานอพยพย;ายถนิ่ 5) กลุ/มอำเภอที่มีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพประมง เช/น อำเภอแกลง อำเภอเมืองวระยอง และบางส/วนของอำเภอบ;านฉาง มักเกิดปHญหาการลักลอบจับสัตวqน้ำในพื้นที่สงวนและปHญหาการ ใช;เครื่องมือจับสัตวqน้ำที่ผิดกฎหมาย ทำให;แหล/งอนุบาลสัตวqน้ำลดน;อยลงและจำนวนสัตวqน้ำ ลดลง ตามลำดับ 5.3 ขอC เสนอระดับจงั หวดั จากการวิเคราะหช0 2องว2างการพัฒนา ข;อเสนอระดับจังหวัดจากการวิเคราะหqช/องว/างการพัฒนา สามารถแบ/งตามปHญหาที่เกิดขึ้นของกลุ/ม อำเภอ ซง่ี สามารถสรปุ ได;ดงั น้ี 1) กลุ/มอำเภอที่อยู/ตามแนวชายฝHnงทะเล – ทางจังหวัดควรวางแนวทางในการบริหารจัดการ ทรัพยากรตามแนวชายฝHnงทะเล โดยอาจเปQนการทำความเข;าใจกับชาวบ;านที่อาศัยอยู/ในพื้นที่และ การออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมการลักลอบจับสัตวqน้ำอย/างเปQนรูปธรรม นอกจากนี้ ทางจังหวัด ควรมีการบริหารจัดการขยะอย/างครบวงจร เริ่มจากการมีสถานที่ทิ้งขยะที่เพียงพอ การขนส/งขยะ ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนถงึ การกำจัดขยะทเี่ ปQนมิตรต/อส่งิ แวดลอ; ม 2) กลุ/มอำเภอที่มีสัดส/วนรายได;จากการท/องเที่ยวในระดับสูง – ทางจังหวัดควรวางแผนและจัดทำ นโยบายในการจัดการทรัพยากรทางด;านไฟฟNา ประปา และขยะมูลฝอยอย/างเปQนระบบ เพื่อ รองรับต/อการเพิ่มขึ้นของปริมาณนักท/องเที่ยว สำหรับในเรื่องการแก;ไขปHญหายาเสพติดนั้น ทาง 165
จังหวัดอาจต;องมีการตรวจตราที่เข;มงวด พร;อมทั้งเปÜดช/องทางให;ชาวบ;านร;องเรียนกับทาง เจ;าหนา; ทไ่ี ด;โดยตรง อันเปนQ การส/งเสริมการปNองกนั ยาเสพติดจากประชากรในชมุ ชน 3) กลุ/มอำเภอที่มีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพเกษตรกรรม – ทางจังหวัดควรวางนโยบายใน การสร;างความเข;าใจกับชาวบ;านในพื้นที่ เพื่อให;ทราบถึงเขตพื้นที่อนุรักษqและปÄาสงวนเพื่อปNองกัน การรุกล้ำเข;ามาใช;ที่ดินทำกินของชาวบ;านและการลักลอบจับสัตวqปÄา ในส/วนปHญหาราคมเกษตร ตกต่ำ ทางจังหวัดควรส/งเสริมให;เกษตรกรทำ Farm Contract เพื่อประกันราคาขั้นต่ำของ ผลติ ภัณฑทq างการเกษตร 4) กลุ/มอำเภอที่มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม – ทางจังหวัดควรจัดทำนโยบายในการส/งเสริมความ ร/วมมือระหว/างนิคมอุตสาหกรรมและชุมชนการเกษตร เพื่อจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธqและ ส/งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ ยังควรปรับปรุงผังเมืองและการจัดสรรพื้นที่เพ่ือ กำหนดพื้นทก่ี ารพัฒนาที่ชัดเจน พนื้ ทีก่ ำจดั ขยะมลู ฝอย ฯลฯ 5) กลุ/มอำเภอที่มีประชากรส/วนใหญ/ประกอบอาชีพประมง – ทางจังหวัดควรจัดอบรมและให;ความรู; เกี่ยวกับกฎระเบียบที่สำคัญที่เกี่ยวข;องกับการประมงพื้นบ;าน การให;ความรู;เกี่ยวกับ Smart Farming และการสร;างมูลค/าเพิ่มให;กับผลิตภัณฑqประมง เพื่อสร;างอนุรักษqการประมงพื้นบ;าน และสรา; งแหลง/ อนบุ าลสัตวqน้ำที่ยั่งยืน 5.4 ขCอเสนอแนะเชิงปฏิบตั ิ ทางจังหวัดควรสร;างความไว;วางใจและปฏิบัติร/วมกับชุมชนทุกกระบวนการขั้นตอนของการพัฒนา ตั้งแต/การขั้นตอนการวางแผนเชิงพื้นท่ี การเก็บข;อมูลเชิงพื้นท่ี การลงมือปฏิบัติ การติดตามและตรวจสอบผล การพัฒนาพื้นท่ี และสื่อสารความเข;าใจระหว/างผู;ปฎิบัติงาน ชุมชน และผู;มีส/วนได;เสียอย/างถูกต;องตามหลัก วิชาการและต/อเนื่อง เพื่อสามารถขับเคลื่อนโครงการในระดับพื้นท่ีได;อย/างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ควรประยุกตqใช;ความรู;และเทคโนโลยี และจัดกลุ/มองคqความรู;และเทคโนโลยีตามศักยภาพของ USI ให;สอดคล;องกับความต;องการของพื้นท่ี เช/น กลุ/มองคqความรู;เพื่อพัฒนาชุมชนทางเศรษฐกิจ (การตลาด การท/องเที่ยว การประชาสัมพันธq ฯลฯ) กลุ/มองคqความรู;เพื่อพัฒนาชุมชนทางด;านสังคม (วิทยาศาสตรqสุขภาพ การศึกษา ฯลฯ) กลุ/มองคqความรู;เพื่อพัฒนาชุมชนทางด;านสิ่งแวดล;อม (ภูมิศาสตรq วิศวกรรมสิ่งแวดล;อม ฯลฯ) ทั้งนี้ควรบูรณาการเชื่อมโยงองคqความรู;และเทคโนโลยีอย/างสมดุลเพื่อความยั่งยืนของชุมชน อนึ่ง ทางจังหวัด ควรส/งเสริมความเข;มแข็งของชุมชนด;วยการสร;างเครือข/ายความร/วมมือทุกภาคส/วนทั้งหน/วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทั้งภายในและภายนอกเปQนปHจจัยส/งเสริมความเข;มแข็งของชุมชน ทั้งนี้ เครอื ข/ายท้ังระบบตอ; งสามารถสนนั สนนุ ทุกระดับการพัฒนาในหว/ งโซ/อปุ ทานของประเดน็ การพฒั นาของพื้นที่ 166
5.5 ขCอเสนอแนะเพ่มิ เตมิ - ควรมีเกณฑใq นการประเมนิ สถานะของตำบลท่เี หมาะสมตามบริบทของแตล/ ะพนื้ ท่ี - ก/อนเริ่มโครงการ ควรมีกิจกรรมสร;างความเข;าใจให;แก/ผู;ที่จะลงไปปฏิบัติงาน เพื่อให;ทุกคนได; ดำเนนิ การไปในทิศทางเดียวกนั 167
นำเสนอเรือ่ งเล2าความสำเร็จในระดบั จงั หวดั ระยอง เพ่ือเปนW ตนC แบบการดำเนินการระดับจังหวดั สกู2 ารปฏิบตั เิ พื่อนำไปตอ2 ยอดต2อไป ตำบลกรำ่ อำเภอแกลง จังหวดั ระยอง เสน; ทางสคู/ วามสำเร็จของการบูรณาการทั้ง 3 ด;าน ได;แก/ 1. พฒั นาสัมมาชีพ (Creative Economy) ใช;องคคq วามรู;พัฒนาต;นแบบการใช;พลังงานแสงอาทติ ยq สำหรบั ระบบยังชพี สตั วqนำ้ 2. บูรณาการดา; น (Creative Economy)ยกระดบั เส;นทางการท/องเท่ียวในรปู แบบแบบ One Day Trip และ Two Days Trip เชอ่ื มระหวา/ งท/องเท่ียวบนบกและทางทะเล 3. แปรรูปผลติ ภณั ฑปq ระมงจากปลาทะเลเพอ่ื ลดปHญหาราคาปลาและลดคา/ ใชจ; /ายการแชแ/ ข็ง ดเู รอ่ื งราว Success Story ของตำบลกร่ำ ตำบลพลา อำเภอบาC นฉาง จังหวดั ระยอง เสน; ทางสค/ู วามสำเร็จของการบรู ณาการทง้ั 3 ด;าน ได;แก/ 1. พัฒนาสัมมาชีพแปรรูปผลติ ภัณฑqอาหารทะเลพ้ืนบา; น \"กะปคÜ ัว่ \" เมนสู ตู รโบราณ 2. digital marketing จดั ทำโปรโมทการตลาดให;แก/ผลติ ภณั ฑqชุมชน 3. บรู ณาการด;าน Creative Economy ยกระดับเส;นทางการทอ/ งเที่ยวเชงิ นนั ทนาการโดยบรู ณาการ จากทรพั ยากรในพื้นท่ี ดเู ร่อื งราว Success Story ของตำบลพลา 168
ตำบลสองสลึง อำเภอแกลง จังหวดั ระยอง เส;นทางสู/ความสำเรจ็ ของการบูรณาการท้ัง 4 ดา; น ได;แก/ 1. บูรณาการดา; น (Creative Economy) ยกระดบั เส;นทางการท/องเทีย่ ว เกิดสวนเรยี นรรู; ักษสq มนุ ไพร ณ ศนู ยกq สิกรรมธรรมชาตสิ องสลงึ ที่มีพืชสมนุ ไพรพรอ; มแผน/ ปาN ยพร;อม QR Code กว/า 75 ชนิด 2. บรู ณาการด;าน Creative Economy ยกระดับเส;นทางการทอ/ งเทย่ี วเชิงเกษตรแบบ One Day Trip ในธีม Salak Experience 3. ใชอ; งคqความร;ูของมหาวิทยาลัยในการถ/ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโลชันและแฮนดqครมี กลนิ่ สละ สกดั จากสละพันธุสq มุ าลี 4. digital marketing จดั ทำโปรโมทการตลาด เพ่ือสร;างยอดขายให;กบั ผลติ ภณั ฑq OTOP ของตำบล \"สละลอยแก;วสองสลงึ \" ดูเร่อื งราว Success Story ของตำบลสองสลงึ ตำบลทบั มา อำเภอเมอื ง จังหวดั ระยอง เส;นทางสค/ู วามสำเรจ็ ของการบรู ณาการทงั้ 3 ด;าน 1. สง/ เสริมด;านสง่ิ แวดลอ; ม (Circular Economy) นำหลอดดดู น้ำทใี่ ช;แล;วมาพัฒนาตอ/ ยอดเปนQ หมอนหลอดจากผ;ารม/ สำหรับผป;ู วÄ ยติดเตียง 2. เพมิ่ มลู คา/ จากเปลอื กหอยนางรมสู/ผลติ ภณั ฑqกำจดั ลูกน้ำยงุ ลาย ตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวยี น (Circular Economy) 3. สรา; งการมีปฏสิ ัมพนั ธรq ะหวา/ งคนในชมุ ชน วัด และส/วนราชการตา/ งๆ ในพื้นท่ี ดเู รอ่ื งราว Success Story ของตำบลทับมา 169
ตำบลปOายุบใน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง เส;นทางสูค/ วามสำเรจ็ ของการนำโมเดล BCG economy ส/ูการพัฒนาอย/างยง่ั ยนื ร/วมมอื กับชุมชนใน พืน้ ที่จัดทำโรงเรอื นตน; แบบตน; ทุนตำ่ ใช;ในการปลูกผกั สลัด เพ่ือเปนQ การแก;ไขปHญหาในช/วงฤดูฝนทีป่ Hญหาน้ำ หลากส/งผลให;ผักสลัดท่ปี ลกู ไวเ; กิดความเสยี หาย ดูเรอื่ งราว Success Story ของตำบลปOายุบใน รวมผลงาน 4 ตำบล ในจงั หวดั ระยอง จัดทำโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก ไดแC ก2 ต.วงั หวCา ต.กองดิน ต.หCวยยาง และต.เขานCอย 170
ภาคผนวก 171
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261