1 แบบรายงาน การใชส้ ่ือ – นวัตกรรมการเรียนการสอน เกม Racing by Blooket 1. หลกั การและเหตุผล ปัจจุบนั การจดั การเรยี นการสอนมีการเปล่ยี นแปลงไป อนั เน่อื งมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เช้อื ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ส่งผลใหน้ ักเรียนไมส่ ามารถมาเรยี นในหอ้ งเรยี นทีโ่ รงเรยี นได้ การจดั การเรยี น การสอนจึงต้องจดั การเรียนการสอนแบบออนไลนเ์ ป็นหลกั โดยการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ จะดำเนนิ การจดั การเรียนการสอนผา่ น google apps for education โดยในทกุ คาบเรยี นครู จะพดู คุย แลกเปลย่ี นเรยี นร้กู ับนักเรยี นผ่าน Google meet เป็นหลกั เพ่อื ให้นักเรยี นเกิดการเรยี นร้เู สมือน มาเรียนทโี่ รงเรียน เพ่ือใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรู้ และได้เกิดการพัฒนาตนเองอยา่ งเต็มศักยภาพ จากหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มจี ดุ มงุ่ หมายในการพัฒนาผูเ้ รยี นทกุ คน ซ่งึ เป็นกำลังของชาติ ให้เป็นมนษุ ย์ท่มี คี วามสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มคี วามร้แู ละทกั ษะพืน้ ฐาน รวมทัง้ เจตคติ ทจี่ ำเป็นต่อ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยม่งุ เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั บนพ้ืนฐานความเชอ่ื ว่า ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ ซง่ึ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ เรื่องของการเรียนรูเ้ ก่ยี วกับ ธรรมชาติ โดยมนษุ ย์ใช้กระบวนการสงั เกต สำรวจ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณธ์ รรมชาติและนำผล มาจดั ระบบ หลกั การ แนวคดิ และทฤษฎี ดังนนั้ การเรยี นการสอนวิทยาศาสตรจ์ ึงมงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ป็น ผูเ้ รยี นรู้ และคน้ พบดว้ ยตนเองมากท่ีสุด (กระทรวงศึกษาธิการ. 2562 ; วิทยาศาสตร.์ 2562 : ออนไลน์) จากการสงั เกตนักเรยี นในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ พบวา่ นกั เรียนค่อนขา้ งจะมีความ ตงึ เครยี ดมากกวา่ การมาเรียนในหอ้ งเรียน เนอื่ งจากนักเรยี นต้องใชส้ ายตาในการเรยี นกับหน้าจอโทรศัพทเ์ ปน็ เวลานาน นกั เรียนบางสว่ นอาจไมไ่ ด้เขา้ เรียนครบทกุ วันเนื่องจากข้อจำกดั ของครอบครวั ดังนัน้ ครูจะต้องปรบั กระบวนการในการจดั การเรียนรใู้ ห้มคี วามนา่ สนใจ กระตุ้นใหน้ ักเรยี นมีปฏิสมั พนั ธ์ ให้นกั เรียนได้พูดคุย แสดงความคิดเห็น เน้นยำ้ ให้นกั เรียนตอบคำถามตา่ ง ๆ เม่ือจบบทเรียนจะต้องทำให้นักเรียนได้เกดิ การ ทบทวนเนือ้ หาบทเรยี นทไ่ี ด้เรียนผ่านมา จากเหตผุ ลดังกลา่ ว จงึ สนใจท่ีจะใช้เกม Racing by Blooket เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจ สร้างความ น่าตืน่ เต้นใหก้ ับนักเรียน เกม Racing by Blooket เปน็ เกมตอบคำถามโดยจำลองเป็นการแข่งวง่ิ นักเรียนจะ เกิดการแข่งขนั กบั เพ่อื น สามารถมองเหน็ ลำดับของตนเอง มปี ฏิสัมพันธ์ส่อื สารร่วมกัน เม่อื นกั เรยี นเกดิ ความ สนุกนกั เรียนกจ็ ะเกิดการเรียนรู้ เกดิ ทบทวน การจดจำและเป็นการสรา้ งความผอ่ นคลายใหก้ บั นกั เรียน รายงานผลการใชส้ ื่อการสอน “เกม Racing by Blooket”
2 2. สภาพปัญหา 2.1 นกั เรียน นักเรียนมีความตึงเครยี ดในการเรียน และอาจลืมเนอ้ื หาสำคญั ท่ไี ดเ้ รียนผา่ นไป 3. การพัฒนา 3.1 การพฒั นาบุคลากร ครผู ู้สอนเกิดกระบวนการคดิ วิเคราะห์ หาวธิ ีการแก้ปัญหานกั เรยี น โดยสังเกตจากความชอบของ นกั เรียนสว่ นใหญ่ ทจ่ี ะใชเ้ วลาไปกับการเล่นเกม ซึ่งลกั ษณะเกมจะเป็นเกมออนไลน์มีการแข่งขนั กนั จงึ เกดิ การ ใช้เกม เกม Racing by Blooket ซง่ึ มีลักษณะเป็นเกมวิง่ แขง่ ท่นี ักเรียนสามารถมองเห็นลำดับของตนเองใน สนามแข่ง ผา่ นการตอบคำถาม และเก็บคะแนน โดยผ้ชู นะคอื ผู้ท่ตี อบคำถามได้ถูกต้องและรวดเรว็ ท่สี ดุ ครูผู้สอนสามารถเป็นผู้กระตุ้นให้นกั เรียนเกดิ ปฏิสมั พันธ์ เกดิ ความตื่นเตน้ สนใจ ตลอดจนเกดิ ทบทวนความรู้ ด้วยตนเอง เกิดความผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดจากการเรียนได้ 3.2 การพัฒนางาน พฒั นาการจดั การเรยี นการสอน เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งสนกุ ตื่นเต้น ผ่านเกม Racing by Blooket เป็นเกมการสอนที่ให้นักเรยี นเกิดการแขง่ ขัน เกิดความสนุก ช่วยใหน้ กั เรยี นเกดิ การ ทบทวนเน้อื หาสำคญั ของบทเรยี น ผา่ นการตอบคำถาม ส่งผลให้ประสทิ ธิภาพในการเรียนของนักเรยี นดขี ้ึน และมีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรยี นวิทยาศาสตร์ ทำให้นักเรียนมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนทส่ี งู ขึ้น 4. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ 4.1 นักเรยี นไดท้ บทวนบทเรียน 4.2 นักเรียนเกิดความผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดจากการเรยี น 4.3 นกั เรียนมเี จตคติท่ดี ีต่อการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ 4.4 บรรยากาศในการเรียนออนไลน์นา่ สนใจและเกดิ เปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ รายงานผลการใช้สอ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
3 รายละเอยี ดเกีย่ วกบั การใช้สื่อนวตั กรรมการเรียนการสอน โรงเรยี นวังจันทรว์ ทิ ยา ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 1. ชอ่ื ผลงาน เกม Racing by Blooket 2. รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 3. ประเภทสื่อนวัตกรรม สื่อการสอน 4. ผผู้ ลติ นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ด์ิ 5. วตั ถปุ ระสงค์ 5.1 นกั เรียนได้ทบทวนบทเรียน 5.2 นักเรยี นเกดิ ความผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดจากการเรียน 5.3 นักเรยี นมเี จตคติท่ีดีต่อการเรยี นวิทยาศาสตร์ 5.4 บรรยากาศในการเรียนออนไลน์นา่ สนใจและเกิดเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู้ 6. วิธีการจดั ทำส่ือนวัตกรรม 6.1 อุปกรณ์ 6.1.1 โนต๊ บคุ๊ 6.1.2 โทรศัพท์มือถือ 6.1.3 อินเตอร์เน็ต 6.1.4 ชดุ คำถาม 6.2 ลำดับขั้นตอนการทำ 6.2.1 สร้างชดุ คำถาม 6.2.2 เปิด www.blooket.com 6.2.3 สรา้ งคำถามลงใน www.blooket.com 6.2.4 เขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบการใชส้ ื่อการสอนเกม Racing by Blooket 6.2.5 นำเกม Racing by Blooket ในการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ 6.3 วธิ กี ารใช้สื่อสอน เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้แบบออนไลน์ ในการทบทวนบทเรยี น โดยใช้สื่อการสอน เกม Racing by Blooket ในข้นั สอน โดยให้นกั เรียนได้เกดิ การทบทวนเน้ือหาบทเรยี น 7. ระยะเวลาการจดั ทำ - 8. ค่าใช้จา่ ย - 9. วนั เดอื นปีการนำเสนอสอื่ นวัตกรรมประกอบการสอน สงิ หาคม 2564 รายงานผลการใช้สื่อการสอน “เกม Racing by Blooket”
4 10. สรปุ ผล – ประโยชน์จากการนำไปใช้ 10.1 นกั เรียนเกดิ การทบทวนบทเรยี น 10.2 นกั เรียนเกิดความผ่อนคลายความตงึ เครียดจากการเรยี น 10.3 นักเรียนมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ 10.4 บรรยากาศในการเรยี นออนไลนน์ า่ สนใจและเกิดเป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ 11. ข้อเสนอแนะ การใช้เกม Racing by Blooket ในการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ จะต้องแนะนำให้ นักเรียนต้งั คา่ แสดงผลหนา้ จอ 2 หน้า เพือ่ ให้นักเรียนเกิดความตน่ื เตน้ เหน็ ลำดบั การแข่งขนั ของตนเอง ลงชื่อ.................................................................. (นางสาวธนั ยาภรณ์ จลุ ศกั ด)์ิ ผผู้ ลติ ส่ือ รายงานผลการใชส้ ื่อการสอน “เกม Racing by Blooket”
5 จำนวนผปู้ ระเมิน แบบสรปุ การประเมนิ สอื่ การสอน โรงเรียนวงั จนั ทรว์ ทิ ยา ส่ือการสอน เกม Racing by Blooket วิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 *************************************** ครู 5 คน นักเรยี น 15 คน ระดบั ความคดิ เหน็ ที่ รายการประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย ควร X ทส่ี ุด กลาง ปรบั ปรงุ 4.80 (5) (4) (3) (2) (1) 4.85 4.90 1 เปน็ ส่อื ที่สอดคล้องกับเน้ือหาและวดั ผล 16 4 0 0 0 4.85 ไดต้ รงจุดประสงค์ 2 เปน็ สือ่ ท่ีสามารถทำไดง้ ่าย ประหยัด 17 3 0 0 0 3 เป็นส่อื ทท่ี ำใหน้ กั เรยี นสนใจและ 18 2 0 0 0 เขา้ ใจบทเรียนดีข้ึน 4 สื่อการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรยี นมี 17 3 0 0 0 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงข้ึน สรปุ ผลการประเมิน จากการประเมิน สรปุ ได้ดงั น้ี 1. เปน็ ส่อื ที่ทำให้นกั เรยี นสนใจและเข้าใจบทเรยี นดีขนึ้ 2. เปน็ สอื่ ที่สามารถทำได้ง่าย ประหยดั , เป็นสอื่ การเรียนการสอนสง่ ผลให้นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขน้ึ 3. เป็นสื่อที่สอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาและวดั ผลไดต้ รงจดุ ประสงค์ ข้อควรปรับปรุง/พัฒนา - รายงานผลการใช้สอื่ การสอน “เกม Racing by Blooket”
6 บทสรุปส่ือนวัตกรรมการเรยี นรู้ 1. ชอ่ื ผลงาน เกม Racing by Blooket ผผู้ ลติ นางสาวธันยาภรณ์ จลุ ศักดิ์ 2. หลักการและเหตุผล ปจั จุบนั การจดั การเรยี นการสอนมกี ารเปล่ียนแปลงไป อนั เน่อื งมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา (COVID-19) สง่ ผลใหน้ ักเรยี นไม่สามารถมาเรยี นในห้องเรยี นท่ีโรงเรยี นได้ การจัดการเรยี นการสอนจึง ตอ้ งจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลนเ์ ป็นหลกั โดยการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ จะดำเนนิ การจัดการเรียนการสอนผา่ น google apps for education เปน็ หลกั โดยในทกุ คาบเรยี นครู จะพดู คยุ แลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับนกั เรียนผ่าน Google meet เป็นหลัก เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรเู้ สมอื น มาเรียนท่โี รงเรียน เพื่อใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรู้ และได้เกิดการพัฒนาตนเองอย่างเตม็ ศักยภาพ จากหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) มจี ดุ มงุ่ หมายในการพฒั นาผู้เรียนทกุ คน ซ่งึ เป็นกำลงั ของชาติ ใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ทมี่ ีความสมดุลทัง้ ด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มคี วามรู้และทกั ษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ทจี่ ำเป็นต่อ การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั บนพนื้ ฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ ซง่ึ วิทยาศาสตรเ์ ป็นเร่ืองของการเรียนรู้เกย่ี วกบั ธรรมชาติ โดยมนษุ ยใ์ ช้กระบวนการสงั เกต สำรวจ และการทดลองเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาตแิ ละนำผล มาจดั ระบบ หลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดงั น้ันการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ ึงมุง่ เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ ปน็ ผู้เรียนรู้ และค้นพบด้วยตนเองมากท่ีสดุ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2562 ; วิทยาศาสตร.์ 2562 : ออนไลน์) จากการสังเกตนักเรียนในการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ พบวา่ นกั เรียนค่อนขา้ งจะมีความ ตึงเครยี ดมากกว่าการมาเรียนในห้องเรยี น เนอ่ื งจากนักเรยี นตอ้ งใช้สายตาในการเรยี นกับหน้าจอโทรศัพท์เปน็ เวลานาน นักเรยี นบางสว่ นอาจไม่ได้เขา้ เรียนครบทกุ วนั เน่ืองจากข้อจำกัดของครอบครัว ดังนนั้ ครูจะต้องปรบั กระบวนการในการจดั การเรียนรู้ให้มคี วามน่าสนใจ กระตุน้ ให้นักเรยี นมีปฏสิ ัมพนั ธ์ ใหน้ ักเรยี นได้พูดคุย แสดงความคดิ เห็น เน้นยำ้ ให้นักเรียนตอบคำถามต่าง ๆ เม่ือจบบทเรยี นจะต้องทำให้นักเรยี นได้เกิดการ ทบทวนเนื้อหาบทเรียนทไ่ี ด้เรียนผา่ นมา จากเหตุผลดงั กลา่ ว จงึ สนใจที่จะใช้เกม Racing by Blooket เพอ่ื ดึงดดู ความสนใจ สร้างความ นา่ ตืน่ เตน้ ให้กับนักเรยี น เกม Racing by Blooket เป็นเกมตอบคำถามโดยจำลองเปน็ การแขง่ ว่ิง นักเรยี นจะ เกดิ การแข่งขันกับเพือ่ น สามารถมองเห็นลำดบั ของตนเอง มีปฏสิ มั พันธส์ อ่ื สารรว่ มกัน เมื่อนักเรยี นเกดิ ความ สนุกนกั เรยี นกจ็ ะเกดิ การเรียนรู้ เกดิ ทบทวน การจดจำและเป็นการสรา้ งความผอ่ นคลายใหก้ บั นกั เรียน 3. วตั ถปุ ระสงค์ 3.1 นกั เรียนได้ทบทวนบทเรยี น รายงานผลการใชส้ ื่อการสอน “เกม Racing by Blooket”
7 3.2 นักเรียนเกดิ ความผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดจากการเรียน 3.3 นักเรยี นมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนวิทยาศาสตร์ 3.4 บรรยากาศในการเรียนออนไลน์นา่ สนใจและเกดิ เปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ 4. วิธกี ารจัดทำสื่อนวตั กรรม 4.1 อุปกรณ์ 4.1.1 โนต๊ บคุ๊ 4.1.2 โทรศพั ทม์ ือถือ 4.1.3 อินเตอรเ์ นต็ 4.1.4 ชุดคำถาม 4.2 ลำดับขั้นตอนการทำ 4.2.1 สร้างชุดคำถาม 4.2.2 เปิด www.blooket.com 4.2.3 สรา้ งคำถามลงใน www.blooket.com 4.2.4 เขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบการใช้สื่อการสอนเกม Racing by Blooket 4.2.5 นำเกม Racing by Blooket ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ 4.3 วธิ กี ารใชส้ ่ือสอน เขยี นแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ ในการทบทวนบทเรยี น โดยใช้สอื่ การสอน เกม Racing by Blooket ในข้ันสอน โดยให้นกั เรียนได้เกดิ การทบทวนเนื้อหาบทเรียน รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
8 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรห์ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั . กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). เอกสารชุดเทคนิคการสอนการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ่ีผูเ้ รยี น สำคญั ที่สดุ การเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2550). คู่มอื วดั ผลประเมนิ ผลวิทยาศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร: เอส.พี.เอ็น. การพิมพ.์ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2563). หนงั สอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เลม่ 2. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คูม่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระ การเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เล่ม 2 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว รายงานผลการใช้สื่อการสอน “เกม Racing by Blooket”
9 ภาคผนวก รายงานผลการใช้ส่ือการสอน “เกม Racing by Blooket”
10 ภาคผนวก ก เกม Racing by Blooket รายงานผลการใชส้ ื่อการสอน “เกม Racing by Blooket”
11 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
12 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
13 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
14 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
15 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
16 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
17 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
18 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
19 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
20 ภาคผนวก ข ภาพกจิ กรรม รายงานผลการใช้สอื่ การสอน “เกม Racing by Blooket”
21 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
22 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
23 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
24 รายงานผลการใชส้ อ่ื การสอน “เกม Racing by Blooket”
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: