Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore science wcw m1

science wcw m1

Published by julasak.mind, 2023-04-11 10:25:01

Description: หลักสูตร wcw

Search

Read the Text Version

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นวังจนั ทร์วทิ ยา กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 (ภาคเรียนที่ 1) รหสั วิชา รายวิชา วชิ า วชิ า จำนวน จำนวน สาระและ ตัวชี้วัด พฐ. พต. นก. ชม. มาตรฐานการเรยี นรู้ การเรียนรู้ ว 21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 ✓ - 1.5 60 สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ ข้อ 1 - 18 ชีวภาพ ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของ ส่งิ มีชีวติ หน่วยพืน้ ฐาน ของส่งิ มีชีวติ การลำ เลยี ง สารเขา้ และออก จากเซลลค์ วามสมั พนั ธ์ ของโครงสรา้ ง และ หนา้ ทขี่ องอวยั วะตา่ งๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ท่ี ทำงานสัมพนั ธ์กนั ความสัมพนั ธ์ของ โครงสรา้ งและหน้าท่ี ของอวยั วะต่างๆของพชื ทท่ี ำงานสัมพนั ธก์ นั รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์ กายภาพ ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ อง สาร องคป์ ระกอบของ ขอ้ 1 - 8 โรงเรยี นวงั จันทรว์ ิทยา สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า รายวชิ า วชิ า วชิ า จำนวน จำนวน สาระและ ตวั ชว้ี ดั พฐ. พต. นก. ชม. มาตรฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ สสาร ความสมั พันธ์ ระหว่างสมบตั ขิ องสสาร กับโครงสร้างและแรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ อง การเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสารการเกิดการ ละลาย และการ เกดิ ปฏิกิริยาเคมี โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คำอธิบายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจันทร์วิทยา รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว 21101 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 1 *************************************************************************** ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญและความหมายของวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการ ทำงานของนักวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมบตั ิของสารบรสิ ทุ ธ์ิ จุดเดอื ด และจุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การจำแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธ์ิ การจำแนก สารบริสทุ ธ์ิ โครงสรา้ งอะตอม การจำแนกธาตุและการใช้ประโยชน์ เซลล์ การศกึ ษาดว้ ย กลอ้ งจลุ ทรรศน์ โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องเซลล์ การลำเลียงสารเขา้ ออกเซลล์ การแพร่ ออสโมซิส การสืบพนั ธ์ุและการขยายพนั ธุ์พืชดอก การสืบพนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศและไม่อาศัยของเพศของพืชดอก การขยายพนั ธุ์พืชดอก การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ปัจจัยและผลผลติ ของการสังเคราะห์แสง การลำเลียง น้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพชื ธาตุอาหารของพืช การลำเลียงในพชื โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมลู การอภิปรายและทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถ ในการตัดสินใจ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม การวัดผลและประเมินผลตาม สภาพจรงิ ด้วยวธิ กี ารที่หลากหลาย มาตรฐาน /ตวั ช้ีวัด ว 1.2 ม.1/1-18 ว 2.1 ม.1/1-8 รวมท้ังหมด 26 ตวั ช้วี ดั โรงเรียนวังจันทร์วิทยา สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โครงสรา้ งรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวงั จนั ทรว์ ทิ ยา รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 รหสั วชิ า ว 21101 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ************************************************************************** ลำดบั ช่อื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน ท่ี การเรียนรู้ ตัวช้วี ดั 1 เรยี นรู้ สาระ - สมรรถนะ 1. วิทยาศาสตรเ์ ป็นความรู้ 2 1 2 2 วิทยาศาสตร์ ข้อ 2, 4 เก่ยี วกบั ธรรมชาติซึ่ง อยา่ งไร คณุ ลักษณะ สามารถอธบิ ายไดด้ ว้ ย 1. ความสำคญั ขอ้ 3,4,6 หลักฐานและความเป็นเหตุ เปน็ ผลทางวทิ ยาศาสตร์ และความ เป็นพ้ืนฐานของเทคโนโลยที ี่ หมายของ ตอบสนองความต้องการของ วิทยาศาสตร์ มนษุ ยใ์ นดา้ นต่างๆ 2. มนษุ ย์ทกุ คนเก่ียวข้องกบั วิทยาศาสตรจ์ งึ จำเป็นต้อง เรียนรู้เก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ให้ดำรงชีวติ ได้อย่างมี คุณภาพในสงั คม 2. กระบวนการ สาระ - สมรรถนะ - การสรา้ งความร้ทู าง ทำงานของ ข้อ 1, 2, 4 วทิ ยาศาสตร์ทำไดโ้ ดยผ่าน นักวทิ ยาศาสตร์ คุณลักษณะ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ กระบวนการ ขอ้ 3, 4, 6 ทางวทิ ยาศาสตร์ได้แก่ การ สงั เกตและระบปุ ญั หา การ ตง้ั สมมติฐาน โรงเรยี นวงั จนั ทร์วทิ ยา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดับ ช่อื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั (ช่วั โมง) คะแนน ที่ การเรียนรู้ ตวั ชี้วดั 3. ทักษะ สาระ – สมรรถนะ การวางแผน การสำรวจ 2 2 กระบวนการ ขอ้ 1, 2, 3, 4 หรอื การทดลอง รวมท้งั การ ทาง คณุ ลักษณะ เกบ็ ข้อมลู การวิเคราะห์ วิทยาศาสตร์ ข้อ 3,4,6 ข้อมลู และสรา้ งคำอธิบาย และการสรปุ ผลและการ สอ่ื สาร กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรส์ ามารถ เพิ่มเติม ลดทอน สลับลำดับ ได้ ตามความเหมาะสม - ในการทำงานเพื่อใหไ้ ด้มา ซึง่ องค์ความรทู้ าง วิทยาศาสตรเ์ พ่ือให้ได้ข้อมลู ทีถ่ กู ต้อง แม่นยำ และ ครอบคลุมตอ้ งอาศยั ทกั ษะ กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสงั เกต การวดั การจำแนกประเภท การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ ง มิติกบั มติ ิ และมิติกบั เวลา การคำนวณ การจดั กระทำ และสอ่ื ความหมายข้อมลู การลงความเห็นจากข้อมลู การพยากรณ์ การตง้ั สมมตฐิ าน โรงเรียนวังจนั ทร์วิทยา สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ช่ือหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั (ชั่วโมง) คะแนน ที่ การเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั 2 สารบรสิ ุทธ์ิ สาระที่ 2 การกำหนดนิยามเชงิ 4 5 ปฏิบตั ิการ การกำหนดและ 4 10 บทที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ ควบคมุ ตวั แปร การทดลอง การตคี วามหมายของข้อมลู สมบัตขิ องสาร กายภาพ และลงข้อสรปุ และการสรา้ ง แบบจำลอง บรสิ ุทธ์ิ ว 2.1 ม.1/4 - สารบรสิ ุทธป์ิ ระกอบด้วย สารเพียงชนดิ เดยี ว ส่วนสาร สมรรถนะ ผสมประกอบดว้ ยสารตั้งแต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไป สารบริสุทธ์ิแต่ เร่อื งที่ 1 ข้อ 1, 2, 3, 5 ละชนิดมีสมบัติบางประการ ทีเ่ ปน็ คา่ เฉพาะตัว เชน่ จุด จดุ เดือดและ คณุ ลักษณะ เดือดและจุดหลอมเหลวคงท่ี จดุ หลอมเหลว ข้อ 2, 3, 4, 6 แตส่ ารผสมมีจดุ เดือดและ จุดหลอมเหลว เรอ่ื งท่ี 2 สาระท่ี 2 ไม่คงที่ ขน้ึ อย่กู ับชนดิ และ ความหนาแน่น วิทยาศาสตร์ สัดส่วนของสารทผ่ี สมอยู่ กายภาพ ด้วยกนั ว 2.1 ม.1/5-6 - สารบรสิ ุทธแ์ิ ตล่ ะชนิดมี สมรรถนะ ความหนาแนน่ หรอื มวลตอ่ ข้อ 1, 2, 3, 5 หนง่ึ หนว่ ยปริมาตรคงที่ คณุ ลักษณะ เปน็ คา่ เฉพาะของสารนน้ั ขอ้ 1, 3, 4, 6 ณ สถานะและอุณหภูมหิ นง่ึ แตล่ ะสารผสมมคี วาม หนาแนน่ ไม่คงที่ขน้ึ อยู่กบั ชนิดและสดั ส่วนของสารอยู่ ด้วยกัน โรงเรยี นวงั จันทรว์ ิทยา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชือ่ หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน ที่ การเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั บทที่ 2 สาระท่ี 2 - สารบรสิ ทุ ธิ์แบ่งออกเปน็ 7 10 ธาตแุ ละสารประกอบธาตุ 2 5 การจำแนกและ วทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยอนุภาคทเ่ี ล็ก ทส่ี ดุ ทยี่ งั แสดง สมบตั ิของ องคป์ ระกอบ กายภาพ ธาตนุ นั้ เรยี กว่าอะตอม ธาตุ ของสารบรสิ ุทธ์ิ แตล่ ะชนดิ ประกอบด้วย เรื่องท่ี 1 ว 2.1 ม.1/7 อะตอมเพียงชนดิ เดยี วและ ไม่ สามารถแยกสลายเป็น การจำแนกสาร สมรรถนะ สารอื่นได้ด้วยวิธที างเคมี บริสุทธ์ิ ขอ้ 1, 2, 3, 4 ธาตุเขยี นแทนดว้ ย คณุ ลักษณะ สัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบ เกิดจากอะตอมของธาตุ ขอ้ 3, 4, 6 ตั้งแต่ 2 ชนดิ ข้ึนไป รวมตัวกันทาง เรอ่ื งที่ 2 สาระท่ี 2 เคมใี นอตั ราส่วนคงท่ีมี โครงสร้าง วทิ ยาศาสตร์ สมบัติแตกตา่ งจากธาตุท่ี อะตอม กายภาพ เป็นองคป์ ระกอบสามารถ ว 2.1 ม.1/1, 7 แยก สมรรถนะ เปน็ ธาตุไดด้ ว้ ยวธิ ีทางเคมี ธาตแุ ละสารประกอบ สามารถเขยี นแทนไดด้ ้วย สตู รเคมี - อะตอมประกอบดว้ ย โปรตอนนิวตรอนและ อเิ ล็กตรอนโปรตอนมปี ระจุ ไฟฟ้าบวกธาตชุ นิดเดียวกัน มีจำนวนโปรตอนเทา่ กัน โรงเรียนวังจันทร์วิทยา สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดับ ชื่อหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั (ชว่ั โมง) คะแนน ที่ การเรียนรู้ ตัวชี้วดั ขอ้ 1, 2, 3 และเป็นค่าเฉพาะของธาตุ คุณลกั ษณะ น้ันนวิ ตรอนเปน็ กลางทาง ขอ้ 3, 4, 6 ไฟฟา้ สว่ นอิเลก็ ตรอนมี ประจไุ ฟฟ้าลบเมอื่ อะตอมมี จำนวนโปรตอนเท่ากับ จำนวนอเิ ลก็ ตรอนจะเป็น กลางทางไฟฟ้าโปรตอนและ นิวตรอนรวมกนั ตรงกลาง อะตอมเรียกว่านิวเคลยี ส สว่ นอเิ ล็กตรอนเคล่อื นท่ีอยู่ ในที่ว่างรอบนวิ เคลียส - ธาตุแตล่ ะชนิดมสี มบัติ เฉพาะตวั และมสี มบตั ทิ าง กายภาพบางประการ เหมอื นกันและบางประการ ต่างกนั ซึ่งสามารถนำมาจัด กลุ่มธาตุ เปน็ โลหะอโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตโุ ลหะ มจี ุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง มีผิวมันวาวนำความรอ้ นนำ ไฟฟา้ ดงึ เปน็ เส้นหรือตีเปน็ แผน่ บาง ๆ ได้และมคี วาม หนาแนน่ ท้ังสงู และต่ำ ธาตุอโลหะมจี ุดเดือดจุด โรงเรียนวังจันทร์วิทยา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดบั ชอ่ื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั (ชว่ั โมง) คะแนน ท่ี การเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด หลอมเหลวตำ่ มผี ิวไมม่ นั วาวไมน่ ำความร้อน ไม่นำ ไฟฟา้ เปราะแตกหักง่าย และมคี วามหนาแน่นต่ำ ธาตกุ ่งึ โลหะมีสมบตั บิ าง ประการเหมือนโลหะและ สมบัตบิ างประการ เหมือน อโลหะ เรื่องท่ี 3 สาระที่ 2 1. ธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึง 2 5 การจำแนกธาตุ วทิ ยาศาสตร์ โลหะที่สามารถแผ่รังสีได้ และการใช้ กายภาพ จัดเป็นธาตกุ มั มนั ตรงั สี ประโยชน์ ว 2.1 ม.1/2, 3 2. ธาตุมที ั้งประโยชน์และ โทษการใช้ธาตโุ ลหะอโลหะ สมรรถนะ ก่ึงโลหะธาตกุ มั มนั ตรังสคี วร ข้อ 1, 2, 3, 4 คำนึงถึงผลกระทบต่อ คุณลักษณะ ส่ิงมีชีวิต สิ่งแวดล้อม ขอ้ 1, 3, 4, 6, 8 เศรษฐกิจและสังคม 3 หนว่ ยพืน้ ฐาน สาระท่ี 1 1. เซลล์เปน็ หนว่ ยพืน้ ฐาน 2 5 ของสง่ิ มชี ีวติ วทิ ยาศาสตร์ ของส่ิงมีชีวิตสง่ิ มีชีวติ บทท่ี 1 เซลล์ ชีวภาพ บางชนิดมเี ซลลเ์ พยี งเซลล์ ว 1.2 ม.1/1 เดียว เชน่ อะมบี า เรื่องท่ี 1 สมรรถนะ พารามีเซียม ยีสต์ ขอ้ 1, 2, 3, 4 บางชนิดมหี ลายเซลล์ โรงเรยี นวงั จันทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดับ ชื่อหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั (ชั่วโมง) คะแนน ที่ การเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั การศึกษาเซลล์ คณุ ลกั ษณะ เช่น พืช สตั ว์ 3 5 ดว้ ยกลอ้ ง ข้อ 3, 4, 6, 7 2. โครงสรา้ งพนื้ ฐานทีพ่ บ จุลทรรศน์ ทั้งในเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ และสามารถสงั เกตไดด้ ้วย เรอื่ งที่ 2 สาระท่ี 1 กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง โครงสรา้ งและ วิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ เยือ่ หุม้ เซลล์ หนา้ ทีข่ องเซลล์ ชีวภาพ ไซโทพลาซมึ และนวิ เคลียส โครงสร้างท่พี บในเซลล์พืช ว 1.2 ม.1/2 แต่ไม่พบในเซลลส์ ัตว์ สมรรถนะ ไดแ้ ก่ ผนงั เซลล์และ ข้อ 1, 2, 3, 4, 5 คลอโรพลาสต์ คณุ ลักษณะ 1. โครงสรา้ งต่าง ๆ ข้อ 2, 3, 4, 6 ของเซลล์ มีหนา้ ท่ี แตกตา่ งกัน - ผนงั เซลล์ทาํ หน้าที่ให้ ความแขง็ แรงแก่เซลล์ - เย่อื หมุ้ เซลล์ทําหน้าที่ หอ่ ห้มุ เซลล์และควบคุม การลําเลยี งสารเข้าและ ออกจากเซลล์ - นวิ เคลียส ทําหนา้ ที่ ควบคุมการทาํ งานของเซลล์ โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดับ ชอ่ื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน - ไซโทพลาซึม มีออรแ์ กเนลล์ท่ีทําหน้าที่ แตกต่างกนั - แวคิวโอล ทาํ หน้าทเี่ กบ็ นำ้ และสารตา่ ง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทาํ หน้าท่ี เกีย่ วกบั การสลายสาร อาหารเพื่อให้ได้พลังงาน แก่เซลล์ - คลอโรพลาสตเ์ ป็นแหลง่ ท่ี เกิดการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 2. เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ิตมี รปู ร่าง ลักษณะ ที่หลากหลาย และมีความ เหมาะสมกับหนา้ ท่ีของเซลล์ น้นั เช่น เซลล์ประสาท สว่ นใหญ่ มเี ส้นใยประสาท เปน็ แขนงยาว นํากระแส ประสาทไปยังเซลล์อน่ื ๆ ทอ่ี ย่ไู กลออกไป เซลลข์ นราก เปน็ เซลล์ผวิ ของรากทม่ี ีผนงั เซลล์และ เย่ือหุ้มเซลล์ย่ืนยาวออกมา โรงเรยี นวังจันทรว์ ิทยา สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดบั ชอ่ื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน ที่ การเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั บทที่ 2 สาระที่ 1 ลักษณะคล้ายขนเส้นเลก็ ๆ 8 12 การลำเลยี งสาร วิทยาศาสตร์ เพ่อื เพ่มิ พน้ื ท่ผี ิวใน เขา้ ออกเซลล์ ชีวภาพ การดูดน้ำและธาตุอาหาร เรื่องที่ 1 ว 1.2 ม.1/3-5 การแพร่ สมรรถนะ 1. พชื และสตั ว์เปน็ สิง่ มีชีวิต เรือ่ งที่ 2 ข้อ 1, 2, 3 หลายเซลล์มกี ารจดั ระบบ คณุ ลกั ษณะ โดยเรม่ิ จากเซลล์ไปเป็น เนื้อเยือ่ อวัยวะระบบอวยั วะ ออสโมซสิ ข้อ 3, 4, 6 และสงิ่ มีชีวติ ตามลาํ ดบั - เซลล์หลายเซลล์มารวมกัน เป็นเน้ือเยอ่ื เนื้อเย่ือหลาย ชนดิ มารวมกนั และทาํ งาน รว่ มกันเปน็ อวยั วะอวัยวะ ตา่ ง ๆ ทาํ งาน รว่ มกันเปน็ ระบบอวัยวะ ระบบอวยั วะ ทุกระบบทาํ งานร่วมกนั เปน็ สง่ิ มีชวี ิตเซลล์ 2. การนาํ สารเข้าสู่เซลล์เพื่อ ใชใ้ นกระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์และมีการขจดั สาร บางอย่างที่เซลลไ์ ม่ตอ้ งการ ออกนอกเซลล์การนาํ สาร เข้าและออกจากเซลล์ มหี ลายวธิ เี ชน่ - การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ ของสารจากบรเิ วณทีม่ ีความ เข้มข้นของสารสูงไปสู่ บริเวณทีม่ คี วามเขม้ ข้นของ สารต่ำ โรงเรยี นวงั จันทร์วิทยา สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดบั ชื่อหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก (ชวั่ โมง) คะแนน ท่ี การเรียนรู้ ตัวชี้วดั 4 การดำรงชีวิต สาระท่ี 1 - ออสโมซิส เปน็ การแพร่ 5 10 ของน้ำผ่านเยื่อหมุ้ เซลลจ์ าก ของพืช วิทยาศาสตร์ ดา้ นที่มคี วามเข้มข้นของ บทที่ 1 ชวี ภาพ สารละลายต่ำไปยงั ด้านที่มี การสบื พนั ธ์ุ ว 1.2 ม.1/3-5 ความเข้มขน้ ของสารละลาย และการ สมรรถนะ สูงกวา่ ขยายพันธพ์ุ ืช ขอ้ 1, 2, 3 พืชดอกทุกชนดิ สามารถ ดอก คุณลักษณะ สบื พันธุ์แบบอาศัยเพศได้ ข้อ 3, 4, 6 และบางชนิดสามารถ สบื พันธแ์ุ บบไม่อาศยั เพศได้ เรอ่ื งที่ 1 - การสบื พันธุ์แบบอาศยั เพศ เป็นการสืบพนั ธุท์ ี่มี การสบื พันธ์ุ การผสมกันของสเปริ ์มกบั เซลลไ์ ขก่ ารสบื พันธ์แุ บบ แบบอาศัยเพศ อาศัยเพศของพืชดอก เกดิ ขึน้ ที่ดอกโดยภายใน และไม่อาศยั อบั เรณูของสว่ นเกสรเพศผู้มี เรณูซ่ึงทําหนา้ ที่สรา้ งสเปิร์ม เพศของพืช ภายในออวลุ ของส่วนเกสร เพศเมยี มถี ุงเอ็มบริโอ ดอก ทาํ หน้าที่สรา้ งเซลล์ไข่ - การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศยั เพศเปน็ การสืบพันธ์ุที่พืชต้น ใหม่ ไม่ไดเ้ กิดจากการ โรงเรียนวังจันทร์วิทยา สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดับ ช่อื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั (ชั่วโมง) คะแนน ท่ี การเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด เรอื่ งท่ี 2 สาระท่ี 1 ปฏิสนธิระหว่าง สเปิร์มกับ 8 10 การขยายพันธ์ุ วทิ ยาศาสตร์ พชื ดอก ชีวภาพ เซลลไ์ ข่ แต่เกดิ จากส่วน ว 1.2 ม.1/3-5 สมรรถนะ ต่าง ๆ ของพชื เชน่ ราก ขอ้ 1 ,2, 3 คณุ ลกั ษณะ ลาํ ตน้ ใบ มกี ารเจรญิ เติบโต ขอ้ 3, 4, 6 และพัฒนาขึน้ มา เป็นตน้ ใหม่ได้ - การถา่ ยเรณู คือ การเคลอ่ื น ยา้ ยของเรณู จากอบั เรณู ไปยังยอดเกสร เพศเมีย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ลกั ษณะ และโครงสร้างของ ดอก เช่น สขี องกลบี ดอก ตาํ แหน่งของเกสรเพศผู้และ เกสรเพศเมีย โดยมสี ่งิ ทชี่ ว่ ย ในการถา่ ยเรณู เช่น แมลง ลม 1. การถ่ายเรณจู ะนาํ ไปสู่ การปฏสิ นธซิ ่งึ จะเกดิ ข้นึ ท่ีถงุ เอม็ บรโิ อภายในออวุล หลังการปฏสิ นธิจะไดไ้ ซโกต และเอนโดสเปิรม์ ไซโกตจะ พฒั นาตอ่ ไปเปน็ เอม็ บริโอ ออวลุ พฒั นาไปเป็นเมล็ด และรงั ไข่พัฒนาไปเปน็ ผล 2. ผลและเมลด็ มี การกระจายออกจากตน้ เดิม โรงเรียนวังจันทรว์ ิทยา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดับ ช่อื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ที่ การเรียนรู้ ตวั ช้วี ดั (ช่วั โมง) คะแนน โดยวธิ ีการตา่ ง ๆ เมอ่ื เมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมท่ี เหมาะสมจะเกดิ การงอก ของเมลด็ โดยเอ็มบริโอ ภายในเมลด็ จะเจริญออกมา โดยระยะแรก จะอาศยั อาหารทส่ี ะสม ภายในเมลด็ จนกระท่งั ใบ แท้พฒั นาจนสามารถ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงไดเ้ ตม็ ที่ และสรา้ งอาหารได้เอง ตามปกติ 3. มนุษยส์ ามารถนาํ ความรู้ เรอ่ื งการสืบพนั ธ์แุ บบ อาศยั เพศ และไม่อาศัยเพศ มาใชใ้ นการขยายพันธุ์ เพือ่ เพ่ิมจาํ นวนพืช เช่น การใชเ้ มล็ด ที่ได้จากการ สืบพนั ธุ์แบบอาศัยเพศ มาเพาะเลย้ี งวธิ ีการนี้ จะได้พืชในปรมิ าณมาก แต่อาจมีลักษณะที่แตกต่าง ไปจากพ่อแม่ ส่วนการตอนกิ่ง การปักชํา การตอ่ กงิ่ การตดิ ตา การทาบก่งิ การเพาะเลย้ี ง เน้อื เย่อื เป็นการนาํ ความรู้ เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่ โรงเรียนวงั จันทร์วทิ ยา สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชอ่ื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน อาศยั เพศของพืชมาใช้ใน การขยายพนั ธุเ์ พ่ือให้ไดพ้ ชื ที่มลี กั ษณะเหมือนต้นเดิม ซ่ึงการขยายพันธุ์ แต่ละวิธมี ี ข้นั ตอนแตกต่างกัน จงึ ควร เลือกให้เหมาะสมกับความ ต้องการของมนุษย์โดยต้อง คาํ นงึ ถึงชนดิ ของพชื และ ลักษณะการสืบพนั ธขุ์ องพชื 4. เทคโนโลยกี ารเพาะเลี้ยง เนอ้ื เยอื่ พืช เปน็ การนํา ความร้เู กย่ี วกบั ปจั จัยท่ี จาํ เปน็ ตอ่ การเจรญิ เติบโต ของพชื มาใชใ้ นการเพิ่ม จาํ นวนพชื และทาํ ให้พชื สามารถเจริญเติบโตได้ใน หลอดทดลอง ซ่ึงจะได้พชื จาํ นวนมาก ในระยะเวลาสั้น และสามารถนําเทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเน้ือเยือ่ มา ประยกุ ต์เพอ่ื การอนรุ ักษ์ พนั ธุกรรมพชื ปรับปรุงพนั ธ์ุ พืชทีม่ ความสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ การผลติ ยา และสารสําคัญในพืช และอื่น ๆ โรงเรยี นวังจันทร์วิทยา สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดบั ชื่อหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก (ช่ัวโมง) คะแนน ท่ี การเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด บทที่ 2 สาระท่ี 1 1. กระบวนการสงั เคราะห์ 4 6 ด้วยแสงของพชื ท่เี กิดขน้ึ 5 12 การสังเคราะห์ วิทยาศาสตร์ ในคลอโรพลาสต์ จําเปน็ ต้องใช้แสง ด้วยแสง ชีวภาพ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลิ ลแ์ ละนำ้ ผลผลิต เรื่องที่ 1 ว 1.2 ม.1/3-5 ทไ่ี ดจ้ ากการสังเคราะห์ด้วย ปจั จัยและ สมรรถนะ แสง ได้แก่ น้ำตาลและแก๊ส ข้อ 1, 2, 3 ออกซิเจน ผลผลติ ของการ คณุ ลกั ษณะ 2. การสังเคราะหด์ ้วยแสง เป็นกระบวนการทสี่ ําคัญต่อ สังเคราะห์ด้วย ข้อ 3, 4, 6 สิ่งมีชีวิตเพราะเป็น กระบวนการเดียวที่สามารถ แสง นําพลังงานแสงมา เปลยี่ นเป็นพลังงานในรปู บทท่ี 3 สาระที่ 1 สารประกอบอินทรยี แ์ ละ การลำเลียงนำ้ วทิ ยาศาสตร์ เกบ็ สะสมในรปู แบบตา่ ง ๆ ธาตอุ าหาร ชีวภาพ ในโครงสรา้ งของพืช พืชจึง ว 1.2 ม.1/3-5 เปน็ แหลง่ อาหารและ พลังงานที่สําคัญของ สงิ่ มีชีวติ อ่นื - พชื มไี ซเล็มและโฟลเอม็ ซ่ึงเป็นเนื้อเย่ือมีลักษณะ คล้ายทอ่ เรียงตวั กนั โรงเรยี นวงั จนั ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดับ ช่ือหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั (ชัว่ โมง) คะแนน ที่ การเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด และอาหารของ สมรรถนะ เปน็ กล่มุ เฉพาะทีโ่ ดยไซเลม็ ทําหน้าท่ีลาํ เลียงนำ้ และ พชื ขอ้ 1, 2, 3, 4, 5 ธาตอุ าหารมที ิศทางลําเลียง จากรากไปสู่ลําตน้ ใบ และ เร่อื งที่ 1 คณุ ลกั ษณะ ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชเพื่อใช้ใน ธาตุอาหารของ ขอ้ 2, 3, 4, 6, 8 การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง รวมถงึ กระบวนการอน่ื ๆ พืช สว่ นโฟลเอม็ ทําหน้าท่ี ลําเลียงอาหารท่ีไดจ้ ากการ เร่อื งที่ 2 สงั เคราะห์ดว้ ยแสงมีทิศทาง การลำเลยี งใน ลาํ เลียงจากบรเิ วณทม่ี ีการ พชื สังเคราะหด์ ้วยแสงไปสสู่ ว่ น ต่าง ๆ ของพืช - พืชตอ้ งการธาตุอาหารที่ จําเป็นหลายชนิดในการ เจริญเติบโตและการ ดํารงชวี ิต - พชื ต้องการธาตุอาหาร บางชนดิ ในปรมิ าณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซยี ม แมกนเี ซยี มและกํามะถนั ซงึ่ ในดินอาจมีไม่เพยี งพอ สาํ หรบั การเจริญเตบิ โตของ พืช จงึ ตอ้ งมีการใหธ้ าตุ โรงเรียนวังจนั ทรว์ ิทยา สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชอ่ื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน อาหารในรปู ของปยุ๋ กับพืช 60 100 อย่างเหมาะสม รวม โรงเรียนวงั จันทรว์ ิทยา สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรียนวงั จันทร์วทิ ยา กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 (ภาคเรยี นที่ 2) รหัส รายวชิ า วชิ า วิชา จำนวน จำนวน สาระและ ตวั ชว้ี ัด วชิ า พฐ. พต. นก. ชม. มาตรฐานการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ว21102 วิทยาศาสตร์2 ✓ - 1.5 60 สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ ขอ้ 9 - 10 กายภาพ ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ อง สาร องคป์ ระกอบของ สสาร ความสัมพนั ธ์ ระหว่างสมบัตขิ องสสาร กับโครงสรา้ งและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของ การเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสารการเกดิ การ ละลาย และการ เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติ ขอ้ 1 ของแรงในชีวติ ประจำ วนั ผลของแรงที่กระทำ ตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะการ เคล่ือนที่แบบตา่ งๆของ วัตถุ รวมทง้ั นำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ โรงเรยี นวังจันทรว์ ิทยา สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั รายวชิ า วชิ า วชิ า จำนวน จำนวน สาระและ ตวั ชวี้ ัด วิชา พฐ. พต. นก. ชม. มาตรฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ ว 2.3 เขา้ ใจความหมาย ขอ้ 1 - 8 ของพลงั งาน การเปลยี่ น แปลงและการถ่ายโอน พลังงาน ปฏิสมั พนั ธ์ ระหว่างสสารและพลัง- งาน พลังงานในชวี ติ ประ จำวันธรรมชาติ ของ คลน่ื ปรากฏการณ์ที่ เกีย่ วขอ้ งกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์ ขอ้ 1 - 7 โลกและอวกาศ ว 3.2 เขา้ ใจองค์ ประ กอบและความสัมพนั ธ์ ของระบบโลก กระบวน การเปลย่ี นแปลงภายใน โลกและบนผิวโลก ธรณี พิบัตภิ ยั กระบวนการ เปลย่ี นแปลงลมฟ้าอา กาศและภมู ิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ สิ่งมีชีวิต และสิง่ แวดลอ้ ม โรงเรียนวังจนั ทรว์ ทิ ยา สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นวงั จันทรว์ ทิ ยา รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 2 รหสั วิชา ว 21102 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 2 *************************************************************************** ศึกษา วิเคราะห์ ความร้อนกับการเปลย่ี นแปลงของสสาร การถ่ายโอนความร้อน ลมฟ้า อากาศรอบตัว มนุษยแ์ ละการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น ขอ้ มูล การอภิปรายและทดลอง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารสิ่งทีเ่ รียนรู้ มคี วามสามารถในการ ตัดสินใจ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธกี ารที่ หลากหลาย มาตรฐาน /ตัวชี้วดั ว 2.1 ม.1/9-10 ว 2.2 ม.1/1 ว 2.3 ม.1/1-7 ว 3.2 ม.1/1-7 รวมทง้ั หมด 17 ตัวชว้ี ดั โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โครงสรา้ งรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา รายวิชา วิทยาศาสตร์ 2 รหสั วชิ า ว 21102 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ชว่ั โมง ภาคเรยี นท่ี 2 ************************************************************************** ลำดับ ชอ่ื หน่วย สาระ/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี การเรียนรู้ มาตรฐาน/ (ชัว่ โมง) คะแนน ตวั ชวี้ ดั 1 พลังงานความ สาระที่ 2 - สสารทกุ ชนิดประกอบดว้ ย 26 30 ร้อน วทิ ยาศาสตร์ อนุภาค โดยสารชนิดเดียวกันที่ บทท่ี 1 กายภาพ มีสถานะของแข็ง ของเหลว ความรอ้ นกบั ว 2.1 ม.1/9-10 แกส๊ จะมีการจัดเรยี งอนุภาค กาเปลยี่ นแปลง ว 2.3 ม.1/1-4 แรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนภุ าค ของสสาร การเคล่อื นทขี่ องอนุภาค แตกต่างกนั ซึง่ มผี ลตอ่ รูปรา่ ง สมรรถนะ และปรมิ าตรของสสาร ข้อ 1, 2, 4 - อนภุ าคของของแขง็ เรียงชดิ คุณลกั ษณะ กนั มแี รงยดึ เหนยี่ วระหว่าง ขอ้ 3, 4, 6 อนุภาคมากท่สี ุด อนุภาคสนั่ อยกู่ บั ที่ ทำให้มีรูปร่างและ ปรมิ าตรคงท่ี - อนภุ าคของของเหลวอยู่ใกล้ กัน มีแรงยึดเหน่ียวระหว่าง อนุภาคน้อยกว่าของแขง็ แต่ มากกวา่ แกส๊ อนภุ าคเคล่ือนท่ี ได้แต่ไม่เปน็ อิสระเท่าแกส๊ ทำให้มีรปู รา่ งไม่คงท่ี แต่ ปรมิ าตรคงที่ โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชือ่ หน่วย สาระ/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ท่ี การเรียนรู้ มาตรฐาน/ (ชั่วโมง) คะแนน ตวั ช้วี ัด บทที่ 2 - อนุภาคของแก๊สอยหู่ ่างกนั 16 30 การถา่ ยโอน สาระท่ี 2 มาก มแี รงยึดเหนีย่ วระหว่าง ความร้อน วทิ ยาศาสตร์ อนุภาคนอ้ ยทีส่ ดุ อนุภาค กายภาพ เคลื่อนที่ไดอ้ ย่างอสิ ระทุก ว 2.3 ม.1/5-7 ทิศทาง ทำให้มรี ูปร่างและ ปรมิ าตรไม่คงท่ี - ความรอ้ นมผี ลตอ่ การเปลีย่ น สถานะของสสาร เม่ือใหค้ วาม รอ้ นแก่ของแขง็ อนุภาคของ ของแขง็ จะมพี ลังงานและ อุณหภูมเิ พ่ิมขึ้นจนถงึ ระดบั หนงึ่ ซึ่งของแข็งจะใช้ความ ร้อนในการเปลยี่ นสถานะเปน็ ของเหลว เรียกความร้อนท่ี ใช้ในการเปลยี่ นสถานะจาก ของแข็งเป็นของเหลวว่า ความ ร้อนแฝงของการหลอมเหลว และอุณหภูมขิ ณะเปลย่ี น สถานะจะคงที่ เรียกอุณหภูมิน้ี ว่า จุดหลอมเหลว - ความรอ้ นถ่ายโอนจากสสาร ที่มีอุณหภมู สิ ูงกว่า ไปยังสสาร ทมี่ ีอุณหภมู ิตำ่ กวา่ จนกระท่ัง อุณหภูมิของสสารทั้งสองเท่า กัน สภาพท่สี สารทัง้ สองมี โรงเรียนวังจันทร์วิทยา สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชอื่ หน่วย สาระ/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ (ชว่ั โมง) คะแนน ตัวชว้ี ดั อุณหภมู เิ ทา่ กัน เรยี กว่า สมดุล ความร้อน สมรรถนะ - เมอ่ื มีการถา่ ยโอนความรอ้ น ขอ้ 1, 2, 4, 4, 5 จากสสารทีม่ อี ุณหภูมติ ่างกนั คณุ ลกั ษณะ จนเกดิ สมดลุ ความร้อนความ ข้อ 2, 3, 4, 6, 8 ร้อนทเี่ พม่ิ ข้ึนของสสารหนึ่งจะ เทา่ กบั ความร้อนทลี่ ดลงของ อีกสสารหนง่ึ ซง่ึ เป็นไปตามกฎ การอนุรักษ์พลังงาน - การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือการนำความร้อน การ พาความร้อน และการแผ่รังสี ความรอ้ น การนำความร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนที่ อาศยั ตวั กลาง โดยที่ตวั กลาง ไมเ่ คล่ือนที่ การพาความร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ี อาศัยตวั กลาง โดยทต่ี วั กลาง เคลื่อนที่ไปดว้ ย สว่ นการแผ่ รงั สีความรอ้ นเป็นการถ่ายโอน ความรอ้ นที่ไม่ต้องอาศยั ตวั กลาง - ความรู้เกยี่ วกับการถ่ายโอน ความรอ้ นสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวันได้ เชน่ การเลอื กใชว้ ัสดุเพ่ือนำมา ทำภาชนะบรรจอุ าหาร เพือ่ เกบ็ ความร้อน หรือการ โรงเรยี นวังจันทรว์ ิทยา สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ช่อื หน่วย สาระ/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ (ช่ัวโมง) คะแนน ตวั ช้วี ัด ออกแบบระบบระบายความ 2 กระบวนการ ร้อนในอาคาร 15 36 เปล่ียนแปลง สาระที่ 2 - โลกมีบรรยากาศหอ่ หุ้มนัก ลมฟ้าอากาศ ว 2.2 ม.1/1 วิทยาศาสตรใ์ ชส้ มบตั ิและ บทที่ 1 สาระท่ี 3 องคป์ ระกอบของบรรยากาศ ลมฟา้ อากาศ วิทยาศาสตรโ์ ลก ในการแบง่ บรรยากาศของโลก รอบตวั และอวกาศ ออกเป็นชนั้ ซงึ่ แบง่ ได้หลาย ว 3.2 ม.1/1, 2, รูปแบบตามเกณฑ์ทแ่ี ตกต่าง 4 และ 5 กนั โดยท่วั ไปนกั วทิ ยาศาสตร์ ใชเ้ กณฑ์การเปลีย่ นแปลง สมรรถนะ อุณหภูมิตามความสงู แบ่ง ขอ้ 1, 2, 3, 4, 5 บรรยากาศไดเ้ ป็น 5 ช้นั ไดแ้ ก่ คณุ ลักษณะ ช้ันโทรโพสเฟยี ร์ ช้ันสตราโตส ขอ้ 2, 3, 4, 6, 7 เฟียร์ ชั้นมีโซสเฟียร์ ชัน้ เทอร์ โมสเฟียร์ และช้ันเอกโซสเฟยี ร์ - บรรยากาศแต่ละชน้ั มี ประโยชน์ต่อสง่ิ มชี ีวิตแตกต่าง กัน โดยช้ันโทรโพสเฟียรม์ ี ปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศที่ สำคัญตอ่ การดำรงชวี ติ ของ ส่งิ มชี ีวติ ชั้นสตราโตสเฟยี ร์ ชว่ ยดดู กลนื รังสีอัลตรา ไวโอ เลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้ มายังโลกมากเกนิ ไป ช้นั มีโซส เฟียรช์ ว่ ยชะลอวตั ถนุ อกโลกท่ี ผา่ นเขา้ มา ใหเ้ กิดการเผาไหม้ กลายเป็นวตั ถขุ นาดเล็กลดโอ- กาสทจี่ ะทำความเสยี หายแก่ โรงเรียนวงั จันทรว์ ิทยา สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชือ่ หน่วย สาระ/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ (ช่วั โมง) คะแนน ตวั ช้ีวดั สง่ิ มชี วี ติ บนโลก ช้ันเทอร์โมส เฟยี รส์ ามารถสะท้อนคลน่ื วิทยุ และชนั้ เอกโซสเฟียร์เหมาะ สำหรับการโคจรของดาวเทียม รอบโลกในระดับตำ่ - ลมฟา้ อากาศ เปน็ สภาวะของ อากาศในเวลาหน่ึงของพื้นท่ี หน่ึงทีม่ ีการเปล่ียนแปลง ตลอดเวลา ขน้ึ อยู่กบั องค์ประ กอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภมู ิอากาศ ความกด อากาศ ลม ความชนื้ เมฆ และ หยาดนำ้ ฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่ พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบ ลมฟา้ อา กาศ เปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ข้ึนอยกู่ ับปัจจยั ต่าง ๆ เช่น ปริมาณรงั สีจากดวงอาทิตย์ และลักษณะพ้ืนผิวโลกส่งผล ต่ออุณหภมู อิ ากาศ อุณหภมู ิ อากาศและปริมาณไอน้ำส่งผล ต่อความช้ืน ความกดอากาศ สง่ ผลตอ่ ลม ความชนื้ และลม สง่ ผลต่อเมฆ - การพยากรณอ์ ากาศเป็นการ คาดการณ์ลมฟ้าอากาศ ท่จี ะ เกดิ ข้ึนในอนาคต โดยมีการ ตรวจวัดองคป์ ระกอบลมฟ้า โรงเรยี นวงั จันทรว์ ทิ ยา สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

หลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดับ ชอื่ หน่วย สาระ/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ (ช่ัวโมง) คะแนน ตัวชี้วัด อากาศ การสื่อสารแลกเปลี่ยน บทท่ี 2 ขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟา้ 34 มนษุ ย์และการ สาระท่ี 3 อากาศระหว่างพนื้ ท่ี การ เปลีย่ นแปลง วิทยาศาสตรโ์ ลก วเิ คราะหข์ ้อมลู และสร้างคำ ลมฟ้าอากาศ และอวกาศ พยากรณ์อากาศ ว 3.2 ม.1/3, 6 - การพยากรณ์อากาศสามารถ และ 7 นำมาใชป้ ระโยชน์ดา้ นต่าง ๆ สมรรถนะ เช่น การใชช้ ีวติ ประจำวนั การ ขอ้ 1, 2, 4 คมนาคม การเกษตร การ คณุ ลักษณะ ปอ้ งกนั และเฝา้ ระวังภัยพิบัติ ขอ้ 1, 3, 4, 6 ทางธรรมชาติ - พายุฝนฟา้ คะนอง เกิดจาก การทอ่ี ากาศท่มี ีอุณหภมู ิและ ความช้ืนสงู เคลือ่ นท่ีข้ึนสู่ระดับ ความสงู ทม่ี ีอณุ หภูมติ ำ่ ลง จนกระท่ังไอนำ้ ในอากาศเกิด การควบแน่นเป็นละอองนำ้ และเกดิ ต่อเน่ืองเปน็ เมฆขนาด ใหญ่ พายุฝนฟา้ คะนองทำให้ เกดิ ฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟา้ แลบฟ้าผ่า ซงึ่ อาจก่อให้เกิด อนั ตรายต่อชวี ติ และทรัพยส์ นิ - พายุหมุนเขตร้อนเกดิ เหนอื มหาสมทุ รหรือทะเล ท่ีน้ำมี อุณหภมู ิสูงต้งั แต่ 26-27 องศา เซลเซียส ขนึ้ ไป ทำใหอ้ ากาศท่ี โรงเรียนวงั จนั ทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดบั ชอื่ หน่วย สาระ/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ (ชวั่ โมง) คะแนน ตัวชว้ี ดั มีอุณหภูมิและความช้ืนสูง บริเวณน้ันเคลื่อนที่สงู ข้นึ อย่าง รวดเรว็ เป็นบริเวณกวา้ ง อากาศจากบรเิ วณอ่นื เคลื่อน เขา้ มาแทนท่แี ละพัดเวียนเข้า หาศูนยก์ ลางของพายุ ยงิ่ ใกล้ ศูนยก์ ลาง อากาศจะเคลอ่ื นที่ พัดเวียนเกือบเป็นวงกลมและ มีอตั ราเร็ว สูงท่ีสดุ พายุหมนุ เขตร้อนทำใหเ้ กดิ คลน่ื พายุซัด ฝง่ั ฝนตกหนัก ซึง่ อาจก่อให้ เกิด อนั ตรายต่อชวี ิตและ ทรพั ย์สิน จงึ ควรปฏิบัตติ นให้ ปลอดภัยโดยตดิ ตามขา่ วสาร การพยากรณ์อากาศ และไม่ เขา้ ไปอยู่ในพืน้ ทท่ี เี่ สีย่ งภัย - ภูมิอากาศโลกเกดิ การเปลย่ี น แปลงอยา่ งต่อเน่ืองโดยปัจจยั ทางธรรมชาติ แต่ปจั จบุ ันการ เปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศเกิดข้ึน อย่างรวดเรว็ เนื่องจากกจิ กรรม ของมนุษยใ์ นการปลดปล่อย แก๊สเรอื นกระจกสบู่ รรยากาศ แกส๊ เรือนกระจกทถี่ ูกปลด โรงเรยี นวงั จันทรว์ ทิ ยา สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั ชื่อหน่วย สาระ/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ (ชวั่ โมง) คะแนน ตัวชว้ี ัด ปล่อยมากทสี่ ดุ ได้แก่ แกส๊ รวม คาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงหมนุ เวยี นอยใู่ นวัฏจักรคาร์บอน - การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ โลกก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อ ส่ิงมชี ีวติ และสิง่ แวดล้อม เชน่ การหลอมเหลวของน้ำแขง็ ขวั้ โลก การเพ่ิมข้นึ ของระดบั ทะเล การเปลี่ยนแปลงวัฏจกั ร นำ้ การเกิดโรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละ อุบตั ิซ้ำ และการเกดิ ภยั พิบัติ ทางธรรมชาติทร่ี ุนแรงข้ึน มนษุ ย์จงึ ควรเรยี นร้แู นว ทางการปฏิบตั ิตนภายใต้ สถานการณด์ ังกล่าว ท้ัง แนวทางการปฏบิ ัตติ นให้ เหมาะสมและแนวทางการลด กจิ กรรมท่ีสง่ ผลต่อการ เปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศโลก 60 100 โรงเรียนวงั จันทร์วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook