คำนำ กระทรวงศกึ ษาธิการ ม่งุ เน้นใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาตนเองโดยยดึ หลกั การประเมิน สมรรถนะ (Competency Based Approach) จะทำใหผ้ ู้ปฏบิ ตั งิ านสามารถร้จู ดุ เดน่ จุดด้อยของ ความสามารถในการปฏิบัตงิ านของตน และสามารถพัฒนาตนเองใหส้ อดคล้องกับความต้องการจำเปน็ ของหนว่ ยงาน และของตนเองอย่างแทจ้ ริง ท้ังนี้ ครจู งึ ต้องมีการวางแผนการพัฒนาตนเองในการจดั ห้องเรียนทม่ี ีคณุ ภาพ (Individual Development Planning : IDP) เพื่อเป็นการพฒั นาที่สนองตอบความต้องการแตล่ ะบคุ คล สนองความ สนใจในรูปแบบวิธีการพฒั นา กจ็ ะสง่ ผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติหนา้ ทท่ี มี่ ีประสิทธภิ าพต่อไป และเปน็ การ พัฒนาที่ต่อเน่อื งจนทำให้การปฏบิ ัติหนา้ ที่มคี วามสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล ในการ ปฏบิ ัตงิ าน อนั นำไปสู่การพัฒนาตนเองใหเ้ ปน็ ครูมืออาชพี ท่ีมมี าตรฐานในการปฏบิ ัติงานอย่างแท้จรงิ สามารถ ตรวจสอบได้ และพฒั นาสูค่ วามเปน็ วิชาชพี ต่อไป ธนั ยาภรณ์ จุลศักด์ิ
สารบญั เรอ่ื ง ข้อมูลสว่ นบุคคล หนา้ คำนำ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล สารบัญ ผลจากการปฏบิ ตั ิงานในตำแหนง่ ปัจจุบนั 1 ส่วนท่ี 1 ผลการประเมนิ ตนเอง 2 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินศกั ยภาพของผูเ้ รยี นในสถานศึกษาตามจุดเนน้ ของ สพฐ. 5 สรปุ ผลการประเมินตนเอง 8 ส่วนท่ี 3 แผนการพัฒนาตนเอง 10 สว่ นที่ 4 แผนการพัฒนาตนเอง รายละเอียดการพัฒนาตนเอง 11 ส่วนท่ี 5 รายละเอยี ดการพัฒนาตนเอง ประวัติการเข้าการรับพัฒนา 12 เกยี รติบตั ร/วุฒบิ ัตร ในการเข้าร่วมพัฒนาตนเอง 23 ภาพกิจกรรม 25 ผลการปฏิบตั งิ านจากงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 38 ความตอ้ งการในการพัฒนา 46 ความต้องการในการพฒั นา 52
1 แผนพัฒนาตนเองของข้าราชการครู (ID PLAN : INDIVIDUAL DEVELOPMENT PLAN) ---------------------------------------------------------------------- สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คล ช่ือ (นาย / นาง / นางสาว) ธนั ยาภรณ์ ชอื่ สกลุ จุลศักดิ์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ วุฒกิ ารศกึ ษา กศ.บ. และ กศ.ม. ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า วชิ าเอกวทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป ปรญิ ญาโท หรอื เทียบเท่า วชิ าเอกการบรหิ ารการศึกษา ปรญิ ญาเอก หรือเทียบเทา่ วิชาเอก.......................................................................................... อน่ื ๆ (โปรดระบุ).......................................................................................... เข้ารบั ราชการวันท่ี 20 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ณ โรงเรียน วงั จนั ทรว์ ทิ ยา สังกัด สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง สำนกั คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ อายรุ าชการจนถงึ ปจั จุบนั 7 ปี 8 เดือน เงินเดอื น อนั ดับ คศ.2 อตั ราเงินเดือน 25,560 บาท สถานทีท่ ำงาน โรงเรยี นวังจันทรว์ ทิ ยา ตำบลชมุ แสง อำเภอวังจันทร์ จงั หวัดระยอง รหสั ไปรษณีย์ 21210 วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ่ีทำการสอน จำนวน 7 วชิ า รวม 21 คาบ/สัปดาห์ วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ 2 (ว21102) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน 12 คาบ/สัปดาห์ วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์กบั การแกป้ ัญหา (ว20202) ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์ วชิ า/สาขา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 6 (ว33266) ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์ วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน (ลกู เสือ) ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
2 วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (ชุมนมุ ) ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์ วิชา/สาขา/กล่มุ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมแนะแนว) ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์ วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (กิจกรรมส่งเสรมิ สุขภาพ) ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 1. ปฏบิ ตั หิ น้าท่รี องหวั หนา้ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 2. ปฏิบตั หิ น้าท่งี านแผนงานและพัฒนา งานแผนงานงบประมาณ 3. ปฏบิ ตั ิหน้าที่ครทู ป่ี รกึ ษานักเรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/3 4. ครูแกนนำฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง การเลยี้ งผงึ้ ชันโรง 5 ปฏิบัติหนา้ ท่ีครเู วร ประจำวันองั คาร 6. ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีอน่ื ๆ ตามคำสัง่ ของโรงเรียน จำนวนช่วั โมงการปฏบิ ตั ิงาน 16.67 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ 3.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน 10 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ 3.2 ชัว่ โมงสนบั สนนุ การเรียนรู้ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 3.3 ชั่วโมงงานพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 5 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 3.4 ชว่ั โมงงานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ ผลงาน ทเ่ี กิดจากการปฏบิ ตั ิหน้าที่ในตำแหน่งปจั จุบัน (ย้อนหลัง 1 ภาคเรียน) 1. ผลท่เี กดิ จากการจดั การเรยี นรู้ 1.1 มแี ผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ 2 (ว21102) ทมี่ ีการวิเคราะหห์ ลักสตู ร สถานศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 1.2 มแี ผนการจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21102) ท่มี กี ารวิเคราะหห์ ลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 1.3 มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยการปฏิบัติ (Active Learning) โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ด้วยกจิ กรรมท่หี ลากหลายและสอดคล้องกับธรรมชาตวิ ิชาวิทยาศาสตร์ 1.4 มแี นวทางในการบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนในการจดั การเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมและ ช่วยสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องนักเรียน
3 1.5 มเี ครื่องมอื การวดั และประเมินผลท่ีมีคุณภาพ ผ่านการหาคุณภาพเครอ่ื งมอื วัดผลเบ้ืองตน้ และมคี วามหลากหลายในการประเมนิ อยา่ งรอบด้าน ทง้ั ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ และด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รวมไปถึงสมรรถนะท่ีสำคญั ของผเู้ รยี น 1.6 มกี ารแก้ปญั หาในชั้นเรียนดว้ ยกระบวนการวจิ ยั ในชัน้ เรียน โดยทำวจิ ัยในชนั้ เรียน เรอื่ ง การพฒั นาการจดั การเรียนรแู้ บบหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น เร่อื ง การคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลีย่ นแปลง ของสาร วิชาวิทยาศาสตร์ 2 สำหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนวังจนั ทรว์ ิทยา 1.7 มีสือ่ การเรยี นรู้ และแหล่งการเรยี นสำหรับใชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรู้ และใหน้ กั เรียนไว้ สืบคน้ เพมิ่ เติม เช่น เอกสารประกอบการเรียน ส่ือ Powerpoint สื่อโปรแกรมจำลอง กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ บทเรยี นใน Google Site และ Line group 1.8 มชี อ่ งทางการติดต่อสอื่ สารกบั นกั เรียนทุกห้องเรียน ผ่านเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ Line Group 2. ผลที่เกิดจากการพัฒนาวิชาการ 2.1 มกี ิจกรรมทสี่ ง่ เสริมให้นักเรยี นได้ใช้ความคิด และการแก้ปญั หาทางวิทยาศาสตร์ เช่น กิจกรรมสบื เสาะหาความรู้, กิจกรรมประดิษฐ์กงั หนั น้ำชัยพัฒนาจากไม้ไอศกรีม, กิจกรรมแกว้ เก็บความรอ้ น, กิจกรรมชนั้ บรรยากาศ, กจิ กรรมศรลม 2.2 มีกจิ กรรมบูรณาการเนอื้ หาในหอ้ งเรียนกับเทคโนโลยใี นปัจจบุ ัน ซึ่งเปน็ การบูรณการเนอ้ื หา ในหอ้ งเรียนผา่ นกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2.3 มีกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ เพื่อเป็นการสรา้ งเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และให้นักเรยี น ตระหนกั ถึงความสำคัญของวิชาวทิ ยาศาสตร์และนำมาประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวิตประจำวัน 2.4 ครูมีความเข้าใจในการนำกระบวนการ PLC เขา้ มาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 3. ผลทเ่ี กดิ กับผ้เู รียน 3.1 นกั เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด และไมม่ ีนกั เรียนท่ีมีผลการเรียนเปน็ 0, ร และ มส. 3.2 นักเรยี นมีระดับทกั ษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ที่ครูผูส้ อนกำหนดไว้ 3.3 นักเรียนมรี ะดับคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผ่านทเ่ี กณฑ์ท่คี รูผูส้ อนกำหนดไว้ 3.4 นักเรียนมีชนิ้ งาน/ผลงาน ทส่ี ะทอ้ นความคิดข้นั สงู เชน่ การคิดวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมนิ คา่ และความคดิ สรา้ งสรรค์ชั้นงาน โดยใช้ความร้แู ละเน้อื หาทางวทิ ยาศาสตร์ 3.5 นกั เรยี นสามารถคน้ ควา้ หาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ทีค่ รูได้รวบรวมและแนะนำให้ได้อย่าง ถูกต้อง
4 4. ผลทีเ่ กดิ กับสถานศึกษา 4.1 โรงเรียนมีระบบบรหิ ารงานแผนงานและงบประมาณทีเ่ ป็นระบบ มเี อกสารท่ีครอบคลมุ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 4.2 โรงเรยี นมีฐานการเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี งการเล้ยี งผงึ้ ชนั โรง ภายในศูนยก์ ารเรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี งโรงเรียนวังจันทรว์ ิทยา ท่เี ปน็ ศูนย์ใหค้ วามรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.3 ฐานการเรียนร้กู ารเลยี้ งผึ้งชันโรง เปน็ แหล่งเรยี นร้ขู องนกั เรยี น ชมุ ชน โรงเรียนตา่ ง ๆ โดยมี คณะผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เขา้ มาศกึ ษาดูงานการดำเนนิ งานของศนู ย์การเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง โรงเรยี นวงั จันทร์วทิ ยา 4.4 มบี รรยากาศท้งั ภายในและภายนอกห้องเรยี นท่ีเอ้ือต่อการเรียนรูข้ องครูและนักเรียน 4.5 มีระบบการทำงานท่ีเปน็ ทีม และมีแนวทางการทำงานท่เี ปน็ ขน้ั ตอนชัดเจน 4.6 มแี นวทางดา้ นเอกสาร และการเตรยี มความพร้อมในการประเมนิ เพ่ือขอมีและเล่ือนวิทยฐานะ ของครู 5. ผลที่เกิดกับชุมชน 5.1 เกดิ ความสัมพันธ์ทด่ี ีกบั ผปู้ กครองนักเรยี น และชมุ ชน 5.2 มกี จิ กรรมทางสังคมในด้านตา่ งๆ รว่ มกับชมุ ชนอยา่ งสม่ำเสมอ 5.3 เปน็ แหล่งเรียนรู้ทีส่ ามารถให้บุคคลภายนอกเขา้ มาศึกษาได้
5 ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเอง ระดับความรู้ น้อย ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. มมี าก ปานกลาง (1) (3) (2) ด้านท่ี 1 ความร้คู วามสามารถในการปฏบิ ัติงานในหนา้ ที่ ✓ ✓ รายการพจิ ารณาตนเอง ✓ 1. เนื้อหาในรายวิชา/กลุม่ สาระการเรยี นรทู้ ีส่ อน ✓ 2. วิธีสอน ถา่ ยทอดความรเู้ ชิงเน้ือหา กจิ กรรม บรบิ ท เป้าหมาย การเรียนรู้ ความรูพ้ ้ืนฐาน การปรับพื้นฐาน และอุปสรรคการเรียนรู้ ✓ ของผูเ้ รียน 3. หลักการสอน และกระบวนการเรยี นรู้ ✓ 4. หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมนิ และแนวทาง การเรยี นรูใ้ นแต่ละเนื้อหา ✓ 5. พ้นื ฐานการศึกษา หลักการศกึ ษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยา ✓ สังคม นโยบายการศึกษา จุดมุง่ หมายการจดั การศกึ ษาต้ังแต่ระดับ ชาติจนถงึ ระดับหลักสูตร ✓ 6. การจดั การศึกษาแบบรวม และการตอบสนองต่อความหลาก 9 12 หลายของผเู้ รียน 7. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ และจิตวิทยาการเรยี นรู้ 21/อยู่ในระดับปานกลาง 8. การใชเ้ ทคโนโลยี และสอื่ นวตั กรรมเพื่อการเรยี นรู้ 9. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ รวม คะแนนรวม/แปลผล เกณฑ์ คะแนน 9 – 15 ระดบั ความร้นู ้อย คะแนน 16 – 21 ระดบั ความรู้ปานกลาง คะแนน 22 – 27 ระดับความรูม้ าก จากผลการประเมิน พบว่า ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าที่ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ควรได้รับการส่งเสริมความรู้ในด้านหลักการสอนและกระบวนการเรียนรู้ หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมินและแนวทางการเรียนรู้ในแต่ละเนื้อหา พื้นฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยา สังคม นโยบายการศึกษา จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชาติจนถึงระดับ หลักสูตร การจัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน ทฤษฎีการเรียนรู้ และ จิตวิทยาการเรยี นรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ ตอ่ การจดั การเรยี นการสอน
6 ด้านที่ 2 ทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน ระดับความสามารถ รายการพิจารณาตนเอง ทำไดด้ ี พอใช้ ไมค่ ่อยไดท้ ำ 1. การสรา้ งและหรอื พฒั นาหลักสูตร (3) (2) (1) 2. การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ 3. การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ✓ 4. กลยทุ ธ์ในการจัดการเรียนรู้ 5. การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน (ผลสัมฤทธิ์ คุณลกั ษณะ สมรรถนะ) ✓ 6. การสร้างและการพัฒนาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา และแหลง่ เรยี นรู้ ✓ 7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 8. การวจิ ยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ✓ รวม ✓ คะแนนรวม/การแปลผล ✓ ✓ ✓ 18 4 22/อยู่ในระดับมาก เกณฑ์ คะแนน 8 – 13 ระดับทักษะน้อย คะแนน 14 – 19 ระดบั ทักษะปานกลาง คะแนน 20 – 24 ระดับทักษะมาก จากผลการประเมนิ พบว่า ทักษะการปฏิบตั งิ าน โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ควรไดร้ บั การส่งเสรมิ ความรใู้ นเรื่องของการใชก้ ลยุทธใ์ นการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรยี นได้รบั การพัฒนา ด้วยกระบวนการท่ีหลากหลายและเน้นให้ผู้เรยี นได้ปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนรู้ มากกวา่ การท่คี รเู ป็นผบู้ อกความรู้ ให้กับผ้เู รยี น และพัฒนาการสร้างสือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา และแหลง่ เรียนรใู้ หม้ ากขน้ึ และสอดคลอ้ ง กบั มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั หรอื ผลการเรียนรู้
7 ด้านท่ี 3 ความเปน็ ครู ระดบั ความเป็นครู รายการพจิ ารณาตนเอง สูงมาก ปานกลาง ยังต้อง (3) (2) ปรบั ปรุง 1. ยึดมัน่ ผูกพัน ศรัทธาในวิชาชพี และทุ่มเทเพอ่ื การเรียนรู้ของ ผเู้ รยี น (1) 2. มคี ุณธรรม จริยธรรม และปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีแก่ผเู้ รยี น ทง้ั กาย วาจา และจติ ใจ ดำรงตนให้เป็นทีเ่ คารพ ศรทั ธาและ ✓ นา่ เชือ่ ถอื ทง้ั ใน และนอกสถานศึกษา 3. ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ✓ 4. มีวนิ ัยและการรักษาวนิ ัย 5. เปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอยา่ ง ✓ ตอ่ เนอ่ื ง ใหม้ ีความรู้ความชำนาญในวิชาชีพเพ่มิ ข้นึ ✓ 6. ปฏิบัตติ นโดยนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ได้ ✓ 7. มีทัศนคติทด่ี ีต่อบา้ นเมือง 8. มุง่ ประโยชนส์ ว่ นรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพทางการศึกษา ✓ ✓ รวม ✓ คะแนนรวม/การแปลผล 24 24/อยู่ในระดับมาก เกณฑ์ คะแนน 8 – 13 ระดับความเปน็ ครูน้อย คะแนน 14 – 19 ระดับความเปน็ ครูปานกลาง คะแนน 20 – 24 ระดับความเปน็ ครูมาก จากผลการประเมิน พบวา่ ความเปน็ ครู โดยรวมอยใู่ นระดับสงู มาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ทุกประเดน็ มรี ะดับคะแนนที่แสดงถึงความเปน็ ครูอย่ใู นระดบั มาก
8 ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ ศกั ยภาพของผู้เรยี นในสถานศึกษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. ระดับศักยภาพ รายการศกั ยภาพของผ้เู รียนในสถานศกึ ษาตามจดุ เน้นของ สพฐ. สูงมาก ปานกลาง ยังต้อง (3) (2) ปรับปรุง 1. ด้านอ่านออก อ่านคล่อง เขียนได้ เขียนคลอ่ ง 2. ด้านคิดเลขเปน็ คิดเลขคล่อง (1) 3. ดา้ นการคดิ ขน้ั พื้นฐาน 4. ด้านการคิดขน้ั สูง ✓ 5. ด้านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวัย 6. ดา้ นการใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ✓ 7. ดา้ นการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรู้ 8. ดา้ นการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ✓ 9. ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้ 10. ด้านใฝ่ดี ✓ 11. ดา้ นทกั ษะชวี ติ 12. ด้านการอยู่อยา่ งพอเพยี ง มุง่ มัน่ ในการศึกษาและการทำงาน ✓ รวม ✓ คะแนนรวม/การแปลผล ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 12 12 2 26/อยใู่ นระดับปานกลาง เกณฑ์ คะแนน 12 – 20 ระดบั ศกั ยภาพน้อย คะแนน 21 – 28 ระดบั ศกั ยภาพปานกลาง คะแนน 29 – 36 ระดบั ศักยภาพสูงมาก จากผลการประเมิน พบว่า ระดับศักยภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาตามจุดเน้นของ สพฐ. โดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า ดา้ นท่ตี ้องได้รบั การปรับปรงุ คือ ดา้ นการคิดขน้ั สงู และดา้ นการใช้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) และระดับศักยภาพอยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านอ่านออก อ่านคล่อง เขียนได้ เขียนคลอ่ ง ดา้ นคิดเลขเป็น คดิ เลขคล่อง ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ ดา้ นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ดา้ นใฝ่เรียนรู้ และด้านทกั ษะชวี ิต ทีจ่ ะตอ้ งได้รบั การสง่ เสริมในลำดบั ตอ่ มา
9 ตอนที่ 3 ผลการประเมินศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคดิ ของหลักสูตรของสถาบันครุ ุพัฒนา ระดับศักยภาพ รายการศักยภาพของผ้เู รยี นตามจดุ เนน้ สูงมาก ปานกลาง ยงั ต้อง (3) (2) ปรับปรงุ 1. การสอนในศตวรรษท่ี 21 2. การแก้ปญั หาผเู้ รยี น (1) 3. จติ วิทยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจดั การเรียนรู้ 4. การจัดการช้นั เรยี น ✓ 5. การวจิ ัย 6. การพฒั นาหลกั สูตร ✓ 7. สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) 8. การใช้สือ่ และเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้ ✓ 9. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 10. การออกแบบการเรยี นรู้ ✓ รวม ✓ คะแนนรวม/การแปลผล ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 9 12 1 22/อยูใ่ นระดบั ปานกลาง เกณฑ์ คะแนน 10 – 16 ระดับศาสตร์การสอนน้อย คะแนน 17 – 23 ระดับศาสตรก์ ารสอนปานกลาง คะแนน 24 – 30 ระดบั ศาสตรก์ ารสอนสูงมาก จากผลการประเมนิ พบวา่ ระดบั ศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคดิ ของหลักสูตรของสถาบนั คุรพุ ัฒนา โดยรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ด้านทต่ี ้องได้รับการปรบั ปรงุ คอื สะเต็มศึกษา (STEM Education) และระดบั ศาสตร์การสอน ปานกลาง คอื การสอนในศตวรรษที่ 21 การวิจัย การพัฒนา หลักสูตร การใชส้ ื่อและเทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และการออกแบบการ เรยี นรู้
10 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. ดา้ นท่ี 1 ความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ตั ิงานในหน้าที่ ควรไดร้ บั การสง่ เสริมความรใู้ นด้านเนอ้ื หา รายวชิ า หลกั สูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ และการประเมนิ การใชห้ ลักสตู ร พน้ื ฐานการศกึ ษา หลักการศกึ ษา ปรชั ญาการศึกษา จิตวิทยาสงั คม นโยบายการศึกษา จุดมงุ่ หมายการจัดการศกึ ษาตั้งแต่ระดบั ชาตจิ นถงึ ระดบั หลักสูตร ทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาการเรียนรู้ การใชเ้ ทคโนโลยี และสอื่ นวัตกรรมเพ่ือการเรียนรู้ และการวดั ประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านท่ี 2 ทักษะการปฏิบัติงาน ควรได้รบั การส่งเสรมิ ความรใู้ นเรอื่ งของการใช้กลยุทธใ์ นการจดั การเรียนรู้ พัฒนาการสรา้ งส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้ ดา้ นท่ี 3 ความเป็นครู ปฏบิ ัติหนา้ ท่ไี ดใ้ นระดบั สงู มาก ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ศกั ยภาพของผูเ้ รยี นในสถานศกึ ษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. ระดบั ศักยภาพของผ้เู รยี นในสถานศึกษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. ดา้ นที่ต้องได้รับการปรับปรงุ คือ ดา้ นการ คิดข้นั สงู และด้านการใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ตอนท่ี 3 ผลการประเมินศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลกั สูตรของสถาบนั คุรุพฒั นา ระดบั ศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลกั สูตรของสถาบันครุ ุพฒั นา ดา้ นที่ตอ้ งไดร้ บั การ ปรบั ปรุง คือ สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) เพื่อนำความรูท้ างวิทยาศาสตรไ์ ปเช่ือมโยงกบั ศาสตร์อ่นื ๆ เช่น คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี รวมไปถึงการใช้กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วยแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่างๆ หรือสร้างนวัตกรรมการเรยี นรู้ขึ้น
11 ส่วนที่ 3 แผนการพฒั นาตนเอง 1. อันดบั ความสำคัญ/สมรรถนะท่จี ะพัฒนา (ใหใ้ ส่หมายเลขเรียงลำดับความสำคัญของสมรรถนะท่จี ะพัฒนา) ( 2 ) การสอนในศตวรรษที่ 21 ( 5 ) การแก้ปัญหาผเู้ รียน ( 8 ) จติ วิทยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรยี นรู้ ( 9 ) การจดั การชั้นเรยี น ( 7 ) การวิจัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (10) การพัฒนาหลักสูตร ( 3 ) สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) ( 1 ) การใชส้ ื่อและเทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ ( 6 ) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ( 4 ) การออกแบบการเรียนรู้ 2. วธิ กี าร / รปู แบบการพัฒนา รอการลงทะเบยี นหลกั สูตร และเขา้ รบั การอบรมตามหลักสูตร 3. ระยะเวลาในการพัฒนา - 4. การขอรบั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงาน - 5. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ผลลพั ธ์ท่คี าดหวงั ดา้ นความรู้ พฒั นาความรู้ของตนเอง เพอ่ื นำไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดกับนกั เรยี น ดา้ นทักษะ สามารถจดั การเรยี นรู้ได้อยา่ งหลากหลาย สามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยตนเอง และเป็นตวั อยา่ งให้ผูอ้ ื่นปฏิบตั ไิ ด้ ด้านความเปน็ ครู พฒั นาใหม้ ีความพร้อม และมีความเปน็ ครโู ดยสมบูรณ์ในทุกดา้ น เพ่ือประโยชนใ์ นการถา่ ยทอดความรู้ ให้กบั นกั เรียน
สว่ นท่ี 4 รายละเอียดการพัฒนาตนเอง อนั ดับ สมรรถนะทจี่ ะพัฒนา วิธีการ /รปู แบบการพัฒนา ความสำคัญ สมรรถนะหลัก 1 การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ เ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำ 1. ความสามารถในการวางแผนการ โดยเนน้ การจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยการปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติงาน (Active Learning) ร่วมกบั การใชส้ ่ือการส และแหล่งเรยี นรู้ เทคโนโลยี ท่คี รไู ดส้ รา้ งแ 2. ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน รวบรวมข้นึ มาประกอบกับการจดั กิจกรรม 3. ผลการปฏิบัติงาน เรยี นรู้ 9 การบรกิ ารท่ีดี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชว่ ยเหลอื ใหค้ ำแนะนำเพ่อื นครูในการเ แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจดั การเรีย รปู แบบ OLA การออกแบบกจิ กรรมการเร เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ และการพัฒนาคณุ ภ ผ้เู รยี นทง้ั ความรู้ และมีพฤติกรรมท่เี หมาะ
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรับการ ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ เรม่ิ ตน้ ส้ินสุด สนบั สนนุ จาก หนว่ ยงาน ำคญั 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรยี น ครมู ีแผนการจดั การเรยี นรู้ท่เี น้น 2565 2566 วังจันทร์วิทยา การเรยี นรูโ้ ดยการปฏบิ ตั ิ มีสือ่ การ สอน เรียนรแู้ ละแนวทางการวดั และ และ ประเมินผลทีห่ ลากหลาย และทำให้ มการ นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธเิ์ ป็นไปตาม เกณฑ์ที่กำหนดโดยไมม่ นี ักเรียนมผี ล การเรยี นเปน็ 0, ร และ มส. เขยี น 1 ต.ค. 31 มี.ค. โรงเรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ บั วงั จนั ทร์วิทยา ความรู้เกยี่ วกับการจดั การเรียนรทู้ ี่ ยนรู้ใน 2565 2566 เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั และการจดั ทำ รียนรู้ท่ี โครงการที่ถูกตอ้ ง ภาพ ะสม 12
อนั ดับ สมรรถนะทจ่ี ะพัฒนา วธิ กี าร /รปู แบบการพัฒนา ความสำคัญ แผนงานและงบประมาณ ให้คำแนะนำ การจัดทำโครงการแก่คร รวบรวมเอกสารโครงการ การประมาณกา จำนวนเงินในแตล่ ะโครงการ อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การเกบ็ รวบรวมสรปุ โครงกา อย่างมรี ะบบ การพฒั นาตนเอง 3 1. ความสามารถในการวิเคราะห์ ใชแ้ บบประเมนิ สมรรถนะครขู ัน้ พน้ื ฐานป ตนเอง ตนเอง และให้เพอ่ื นครหู รือผบู้ ังคบั บญั ชา แลว้ นำข้อมูลมาวเิ คราะหเ์ พ่อื ดวู า่ ต้องพฒั ตนเองในสมรรถนะใด 2. ความสามารถในการจดั กจิ กรรม ฝกึ ฝนจดั กิจกรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสต การเรยี นรูค้ ูก่ บั การใชเ้ ทคโนโลยี ควบคูก่ ับการใชเ้ ทคโนโลยี ใชเ้ ว็ปไซตส์ รา้ ง ออนไลน์ เพือ่ ใหน้ ักเรียนได้พฒั นากา้ วทนั เทคโนโลยี ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นเกม และจัดการเ การสอนแบบ Active Learning ทเ่ี น้นผู้เร สำคญั เขา้ ใจความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรบั การ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั เริม่ ต้น ส้นิ สดุ สนบั สนุนจาก หนว่ ยงาน รู ารใช้เงนิ ส าร ประเมนิ 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรียน รู้วา่ ตนเองตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาใน าประเมิน 2565 2566 วงั จันทร์วทิ ยา สมรรถนะใดทส่ี ดุ และเขา้ รับการ ฒนา พัฒนาได้ตรงกับความต้องการ และ โรงเรยี น ได้ฝึกความสามารถในการจดั ตร์ วงั จันทร์วทิ ยา กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรท์ ่ี งเกม กระต้ันทกั ษะการคดิ ได้ฝึก ความสามารถในบูรณาการความรใู้ น เรยี น สาขาวชิ าต่าง ๆ ได้แลกเปลี่ยน รยี นเป็น เรียนรู้ ประสบการณ์ในการจดั การ ล เรียนรู้
อันดับ สมรรถนะทจี่ ะพัฒนา วธิ กี าร /รูปแบบการพัฒนา ความสำคญั มีความเช่อื มนั่ วา่ นักเรียนสามารถเรยี นรแู้ ล พัฒนาตนเองได้ ฝกึ ฝนการใช้เทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยเป็นสื่อ เรียนรู้ และมสี ารสนเทศทเ่ี ป็นระบบสำหร เตรียมกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. ความสามารถในการใชแ้ ละพฒั นา ฝกึ ฝนการออกข้อสอบจากตน้ แบบท่ดี ี ม เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือจัดการ วิเคราะหข์ ้อสอบเพื่อนำไปปรบั ปรงุ ศึกษา เรียนรู้ วดั และประเมินผลการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ผลงานวิจยั หนังสอื การวดั ผลและประเมิน 4. ความสามารถในการวัดและ วารสาร และสบื ค้นความรจู้ ากอนิ เตอร์เนต็ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 8 การทำงานเป็นทีม 1. ความสามารถในการวางแผนเพอื่ รว่ มกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิงานเปน็ ทมี ม การปฏบิ ัตงิ านเปน็ ทีม วางแผนงานรว่ มกนั กอ่ นปฏบิ ัตงิ าน และรับ ความคิดเห็นของผู้อน่ื เพื่อได้ขอ้ สรปุ ทีม่ าจ ความคิดเหน็ ของทกุ คน และเปิดโอกาสให
ระยะเวลาในการพฒั นา การขอรับการ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ เร่มิ ตน้ สิ้นสดุ สนบั สนุนจาก หน่วยงาน ละ อการ รับการ มกี าร โรงเรียน าวิธกี าร วังจันทรว์ ทิ ยา ยจาก นผล โรงเรยี น ต วังจันทรว์ ทิ ยา มกี าร 1 ต.ค. 31 มี.ค. โรงเรยี น มคี วามสามารถในการวางแผนเพ่อื บฟัง 2565 2566 วังจันทรว์ ทิ ยา ปฏบิ ัติงานเปน็ ทมี และสามารถ จาก ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับผ้อู นื่ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี หบ้ ุคคล และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของเพอื่ นครู 14 6
อันดับ สมรรถนะทจี่ ะพัฒนา วิธกี าร /รูปแบบการพัฒนา ความสำคญั 2. ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน ในทีมมีสว่ นรว่ มในการปฏิบตั งิ านและเสน รว่ มกนั ความคดิ เห็น สมรรถนะประจำสายงาน 2 การจัดการเรียนรู้ ศกึ ษาเอกสารความรเู้ กี่ยวกบั การสร้างแ 1. ความสามารถในการสร้างและ พฒั นาหลักสตู ร พัฒนาหลกั สตู ร เขา้ อบรมกบั โรงเรียน ศึก การบรรยายของวทิ ยากร การสอบถามคร ผู้รับผดิ ชอบการทำหลักสตู รสถานศกึ ษา ใ จดั ทำหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จากน ข้อมลู เขยี นคำอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งร หนว่ ยการเรียนรแู้ ละจดั ทำเป็นแผนการจัด เรยี น สอื่ การเรยี นรู้ และแนวทางการวดั แ ประเมินผล พรอ้ มเครื่องมอื ตา่ ง ๆ
ระยะเวลาในการพฒั นา การขอรบั การ ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รับ เริ่มต้น ส้นิ สุด สนับสนุนจาก นอแนะ หนว่ ยงาน มากขน้ึ พร้อมท้ังได้แลกเปลย่ี นความ คิดเห็น เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ งานมี ประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น ทำใหเ้ กดิ สมั พันธภาพทด่ี ีในการทำงานรว่ มกัน และ 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรยี น เขา้ ใจการจัดทำหลักสูตรกลมุ่ สาระ วงั จนั ทรว์ ทิ ยา การเรยี นรู้ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กษาจาก 2565 2566 และการนำหลกั สตู รไปจดั ทำ รู คำอธบิ ายรายวชิ า โครงสรา้ งรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจดั การ ในการ เรยี นรู้ นน้ั นำ มคี วามสามารถในการออกแบบ การจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ิจกรรมการ รายวชิ า เรยี นรดู้ ้วยการปฏิบัติ ร่วมกับการนำ สื่อ เทคโนโลยีมาช่วยสง่ เสรมิ ให้ ดการ นักเรียนเรยี นรไู้ ด้อยา่ งเขา้ ใจ และ และ 15
อันดับ สมรรถนะทจ่ี ะพัฒนา วธิ กี าร /รูปแบบการพัฒนา ความสำคญั 2. ความสามารถในเน้ือหาสาระท่ี ศกึ ษาค้นควา้ และหาความรเู้ พิ่มเตมิ จากห สอน ค่มู ือวิชาวทิ ยาศาสตร์ทงั้ ภาษาไทยและภา ต่างประเทศ จากวดิ ที ศั น์ และการ Infogr 3. ความสามารถในการจดั ตา่ งๆ รวมไปถงึ ศึกษาสอ่ื และเทคโนโลยใี ห กระบวนการเรียนรทู้ ่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ นา่ สนใจ สำคัญ ศึกษาเทคนิควธิ ีการสอนของผสู้ อนที่มี ประสบการณด์ า้ นการสอน รวมไปถงึ ศกึ ษ เอกสารคมู่ อื โดยเนน้ การจดั การเรยี นรูท้ ่ใี ห ได้ปฏิบตั ิ 4. ความสามารถในการใชแ้ ละพัฒนา ฝกึ การใชเ้ ทคโนโลยี เพื่อรองรับในการใ นวัตกรรม เทคโนโลยี การเรยี นรู้ สร้างและพัฒนานวตั กรรมสำห สารสนเทศ เพือ่ จดั การเรียนรู้ ในการจัดการเรยี นรู้ ปรับปรุงแกไ้ ขใหม้ ี ประสิทธภิ าพที่ดีย่งิ ข้นึ 5. ความสามารถในการวดั และ ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร หนังสอื เกย่ี วก ประเมนิ ผลการเรียนรู้ วดั และประเมินผลการเรยี นรู้และฝกึ การอ เคร่อื งมือ เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลที่ สอดคลอ้ งกบั ธรรมชาตวิ ชิ าและเนอื้ หา
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรับการ ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ สนบั สนนุ จาก เรมิ่ ต้น ส้นิ สุด หนว่ ยงาน รวดเรว็ ย่ิงขนึ้ ตลอดจนสามารถ สบื ค้นขอ้ มูลจากแหลง่ เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ ง หนังสอื ถกู ตอ้ งและรวดเร็ว าษา raphic หมๆ่ ท่ี ษาจาก หผ้ ูเ้ รยี น ใช้ส่อื หรบั ใช้ กับการ ออกแบบ 16
อนั ดับ สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา วธิ ีการ /รปู แบบการพัฒนา ความสำคญั การพฒั นาผู้เรียน 4 1. การปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมแก่ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ และปลูกฝงั คณุ ธรร ผู้เรยี น จริยธรรมทด่ี ใี ห้กบั นักเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ ต่อเนอ่ื ง ผา่ นกิจกรรมโฮมรมู และในชว่ งเช ก่อนเข้าแถวและกจิ กรรมกอ่ นกลบั บา้ น 2. การสง่ เสริมกิจกรรมการคิด จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในห้องเรยี นและ วิเคราะหผ์ เู้ รียน นอกห้องเรียน โดยเน้นใหน้ ักเรยี นได้ฝกึ กา 3. การส่งเสริมทักษะและ วิเคราะหผ์ ่านสถานการณ์หรือคำถามทค่ี ร กระบวนการ และนำมาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กนั ในระหวา่ ง จดั การเรียนรู้ พรอ้ มทง้ั ฝกึ ใหน้ ักเรยี นอธบิ คดิ นน้ั อย่างเป็นข้ันตอน จัดกจิ กรรมที่สง่ เส ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และฝ นกั เรยี นมีจติ วิทยาศาสตร์ มีความรบั ผดิ ชอ 5 การบรหิ ารจดั การช้นั เรียน ดำเนินการจดั บรรยากาศในการเรยี นใหเ้ สงั คมแห่งการเรียนรู้ เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ ใหน้ กั เรียนได้มสี ว่ นร่วมในการเรยี นรู้ จัดประสบการณต์ า่ ง ๆ ผ่านกจิ กรรมการเ
ระยะเวลาในการพฒั นา การขอรบั การ ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั เรมิ่ ต้น ส้นิ สุด สนับสนนุ จาก หน่วยงาน รม 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรยี น นักเรยี นเปน็ บคุ คลทม่ี คี ุณธรรม อและ 2565 2566 วงั จนั ทรว์ ทิ ยา จรยิ ธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ ช้า รู้จักหนา้ ทขี่ องตนเอง และการปฏบิ ัติ ตวั ท่ีถกู ต้องตามระเบยี บ กฎเกณฑ์ ารคิด ของโรงเรยี น รูสร้างข้นึ งการ นักเรียนมีความสามารถในการคิด บายการ วิเคราะห์ในสถานการณ์ตา่ งและมี สริม ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ฝึกให้ มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มีความสามารถใน อบ การใหเ้ หตผุ ล การส่อื สารนำเสนอ และมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็น 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรยี น สามารถบริหารจัดการชัน้ เรยี น 2565 2566 วังจนั ทรว์ ิทยา ออนไลน์ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและ เออื้ ตอ่ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น เรียนรู้ ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นเรียนรไู้ ด้อย่างมี 17
อันดับ สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา วิธกี าร /รปู แบบการพัฒนา ความสำคญั เช่น กจิ กรรมแกว้ เกบ็ ความรอ้ น กจิ กรรมเ Racing by Blooket กจิ กรรมเกม Quizz กจิ กรรมขนส่งทางอากาศ กิจกรรมการปร ของใชเ้ พอื่ แกไ้ ขปัญหา นำมาเช่อื มโยงกับ วิทยาศาสตรส์ ชู่ วี ิตประจำวัน ใหค้ วามรู้ใน Infographic หรือเอกสารให้ความรูเ้ พ่อื เป ข่าวสารสำหรบั การเรยี นรู้ และจดั ทำหอ้ ง ออนไลน์เพือ่ ใหน้ ักเรยี นได้เขา้ มาทบทวนบ จัดทำเอกสารในช้นั เรยี น เชน่ ประวัตนิ กั เอกสารการเยยี่ มบ้านนกั เรียน SDQ เอกส การมาโรงเรียนของนักเรยี น ใหเ้ ปน็ ปัจจุบ สามารถนำมาใชป้ ระกอบการวางแผนในก จดั การเรยี นรไู้ ด้ จัดระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น เอกสาร การคัดกรองนักเรียนกลมุ่ เสีย่ ง เอกสารกา บ้านนกั เรยี น เอกสารการจดั ประชมุ ผปู้ กค เครอื ข่าย รวมไปถึงสร้างช่องทางตดิ ต่อผูป้ (LINE) เพื่อใชป้ ระสานงานไดส้ ะดวก รวดเ
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรบั การ ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ สนบั สนนุ จาก เร่มิ ตน้ สน้ิ สุด หนว่ ยงาน ความสขุ นักเรยี นมีปฏสิ ัมพนั ธ์และ แลกเปลย่ี นเรยี นรูป้ ระสบการณ์ผา่ น เกม กิจกรรมต่าง ๆ ในชนั้ เรียน zi ระดษิ ฐ์ นอกจากนย้ี งั มีรูปแบบในการ บริหารจดั การชั้นเรยี นที่เป็นระบบ นรูปแบบ มขี ้ันตอน มเี อกสารในช้นั เรยี นท่ีเป็น ปน็ ขอ้ มูล ปัจจบุ นั และสามารถนำมาใช้เป็น งเรียน ข้อมูลสารสนเทศในการจดั กจิ กรรม บทเรยี น การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นได้เป็น อย่างดี กเรียน สาร บนั และ การ ร ารเย่ยี ม ครอง ปกครอง เรว็ 18
อนั ดบั สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา วิธกี าร /รูปแบบการพัฒนา ความสำคัญ นำขอ้ มูลไปใชใ้ นการพัฒนานักเรียนดา้ น พฤติกรรม ดา้ นการเรียน เป็นตน้ 7 การวิเคราะห์ สังเคราะหแ์ ละการ วิจยั ในชั้นเรยี น 1. ความสามารถในการวิเคราะห์ ศึกษาเอกสารและค้นควา้ หาความร้เู ก 2. ความสามารถในการสังเคราะห์ การจัดทำวิจยั ในช้นั เรยี น รปู แบบการวจิ ัย ท่ีจะช่วยในการพฒั นาคุณภาพนักเรยี น แล 3. ความสามารถในการเขียนเอกสาร วิเคราะหส์ งั เคราะห์ บันทกึ หลังแผนการจ ทางวชิ าการ เรยี นรเู้ พือ่ นำมาสู่การคน้ พบปญั หาของนกั ทีต่ ้องแก้ปญั หาดา้ นการเรยี นรู้ ด้านพฤติก 4. ความสามารถในการวิจยั และด้านอื่นๆ ทส่ี ำคญั ของนักเรยี น เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถเรยี นรเู้ นอ้ื หาวิทยา ไดต้ ามที่จุดประสงคก์ ารเรียนรกู้ ำหนดไว้ แ จัดทำรูปเล่ม 1 เร่อื งต่อหน่งึ ภาคเรียน สง่ ย วิจยั และพัฒนา 10 การสร้างความรว่ มมอื กับชมุ ชน ดำเนนิ การประสานงานกบั ผู้ปกครองเคร และประชมุ ผู้ปกครอง เพ่อื ช้แี จงแนวทางใ
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรบั การ ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ เรมิ่ ต้น สนิ้ สดุ สนับสนุนจาก หนว่ ยงาน กีย่ วกับ 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรียน ครมู ีความสามารถในการทำวิจยั วังจันทร์วิทยา ในช้ันเรยี น โดยการวิเคราะห์ ยต่าง ๆ 2565 2566 สังเคราะห์ ขอ้ มูลจากบันทึกหลงั จาก ละ การจัดการเรยี นรู้ และศกึ ษาค้นควา้ หาวิธใี นการแก้ปญั หาท่ีเกดิ ข้นึ จดั การ จากน้ันสามารถนำมาเขยี นรายงาน และจดั ทำรปู เลม่ วิจยั ในช้ันเรียนได้ กเรยี น กรรม าศาสตร์ แลว้ นำ ยงั ฝ่าย รอื ขา่ ย 1 ต.ค. 31 มี.ค. ในการ 19
อนั ดบั สมรรถนะทจี่ ะพัฒนา วิธกี าร /รูปแบบการพัฒนา ความสำคญั 1. ความสามารถในการนำชมุ ชนมา จัดการศกึ ษาของโรงเรยี น นโยบายของผู้บ มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของ และการปฏบิ ตั ิของผปู้ กครองในการรว่ มก สถานศึกษา นักเรยี น กบั ทางโรงเรียน 2. ความสามารถในการเข้าร่วม เขา้ รว่ มกจิ กรรมของชมุ ชนอย่างสมำ่ เสม กจิ กรรมของชุมชน การรณรงค์ต่อตา้ นยาเสพติด การทำพธิ ใี น สำคญั ของประเทศ วนั สำคญั ทางศาสนา 6 ความประพฤติ วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. การมีวนิ ัย อุทศิ เวลาให้กับการทำงานมาโรงเรยี นก่อ กลบั บา้ นหลงั เวลา ลงเวลาทุกคร้งั รับผิดช หน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมายอย่างเต็มความสา สามารถทำงานรว่ มกบั ผ้อู ื่นได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ เหน็ ประโยชนส์ ว่ นรวมมาก่อ ประโยชนส์ ว่ นตน
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรบั การ ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั สนับสนุนจาก เริ่มต้น สนิ้ สดุ หนว่ ยงาน โรงเรียนและชมุ ชนมคี วามสมั พนั ธ์ อนั ดีตอ่ กัน และช่วยเหลอื เอื้อเฟ้อื บรหิ าร 2565 2566 โรงเรียน ซง่ึ กันและกนั กนั พฒั นา วงั จนั ทร์วิทยา ผปู้ กครองไดเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มใน มอ เช่น การพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี น และเหน็ นวนั ความสำคญั ในการพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษาโรงเรยี น อนเวลา 1 ต.ค. 31 ม.ี ค. โรงเรียน ครูเป็นผู้มีวนิ ยั ในการปฏิบตั งิ าน วังจันทรวิ ทิ ยา เปน็ แบบอย่างที่ดีตอ่ นักเรยี น ชอบตอ่ 2565 2566 เพ่อื นร่วมงาน และผูป้ กครอง ามารถ ครมู ีความรกั ศรัทธาในวชิ าชีพ อน และมคี วามรับผดิ ชอบในวิชาชีพครู รว่ มกิจกรรมสำคัญทสี่ ง่ เสรมิ ความรัก และศรทั ธาในวชิ าชีพอย่างสมำ่ เสมอ 20
อันดับ สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา วิธกี าร /รปู แบบการพัฒนา ความสำคญั 2. การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเป็น ประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีให แบบอยา่ งทด่ี ี นกั เรียนและเพ่ือนครู เช่น การแตง่ กายให ตามระเบียบ และสภุ าพเรียบร้อย ใช้คำพดู 3. การดำรงชีพอยา่ งเหมาะสม ทส่ี ุภาพ สร้างสรรค์ ไมบ่ ิดเบือนไปจากควา 4. ความรักและศรทั ธาในวชิ าชีพ 5. ความรับผดิ ชอบในวชิ าชีพ เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีสง่ เสริมความรักและศ ในวชิ าชพี เช่น การประชุม สมั มนาในรูปแ ออนไลน์ท่จี ดั โดยองคก์ รวชิ าชพี ครู เช่น ค สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ชมนิทรรศการออนไลน์ เปน็ ต้น เข้าร่วมศ งาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนร้แู นวทางในการ เรียนรเู้ พ่ือพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน และศึกษ แบบอย่างทด่ี ีจากครผู ู้มปี ระสบการณ์ นอก ยังเปน็ แบบอย่างใหเ้ พื่อนครไู ด้วางแผนกา ปฏิบตั ิงานอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลการก การศกึ ษามาแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ันผ่าน กระบวนการ PLC ศึกษาเกยี่ วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐก พอเพียงและนำมาปรบั ประยุกตใ์ ช้ในการด
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรบั การ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ สนับสนนุ จาก เริ่มต้น ส้นิ สุด หนว่ ยงาน และเขา้ รว่ มการพัฒนาตนเองและ พฒั นาวชิ าชพี เปน็ ประจำอยา่ ง ห้กับ ต่อเนอื่ ง ห้ถกู ต้อง ด ามจรงิ ศรทั ธา แบบ คุรุสภา เข้ารว่ ม ศกึ ษาดู รจัดการ ษา กจากน้ี าร การจดั กจิ ดำเนนิ 21
อนั ดบั สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา วิธกี าร /รปู แบบการพัฒนา ความสำคญั ชีวติ พรอ้ มทั้งนำความรนู้ ไ้ี ป ถ่ายทอดให้ก นกั เรยี น เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดน้ ำไปปฏบิ ัติผา่ กิจกรรม สถานการณต์ า่ ง ๆ ในห้องเรียน และเนน้ ยำ้ ใหน้ กั เรยี นเหน็ คณุ ค่าและประโ ของหลักปรชั ญาของเศรษกจิ พอเพียง ลงช่ือ........................................................................ (นางสาวธนั ยาภรณ์ จุลศกั ดิ์) ผจู้ ดั ทำแผนพัฒนาตนเอง
ระยะเวลาในการพัฒนา การขอรับการ ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับ เร่มิ ตน้ ส้นิ สดุ สนบั สนนุ จาก หน่วยงาน กบั าน โยชน์ ความเห็นของผู้บังคบั บัญชา ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ลงชือ่ ........................................................................ (นายศกั ดา สรรเสรญิ ) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสนุ ทรภู่พทิ ยา ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวงั จนั ทรว์ ิทยา 22
23 ประวตั กิ ารเข้าการรบั พัฒนา / เกยี รติบัตร / รางวัล (1 ภาคเรียน) ลำดบั ที่ เรื่อง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1 ครูผสู้ อนนกั เรยี นได้รับรางวลั เหรียญทอง สำนกั งานเขตพ้นื ที่ -- ชนะเลิศ กจิ กรรมการประกวดโครงงาน การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง ชลบรุ ี ระยอง ระดับชน้ั ม.1 - ม.3 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดบั สหวทิ ยาเขต ระยอง 2 ครง้ั ท่ี 70 ประจำปีการศกึ ษา 2565 2 กรรมการตดั สนิ การแขง่ ขัน สำนักงานเขตพ้นื ที่ -- กจิ กรรมการประกวดผลงานส่งิ ประดษิ ฐ์ การศกึ ษามัธยมศกึ ษา -- -- ทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับชน้ั ม.4 - ม.6 ชลบุรี ระยอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับสหวทิ ยาเขต ระยอง 2 ครง้ั ที่ 70 ประจำปีการศกึ ษา 2565 3 เขา้ รว่ เสวนา งานมหกรรมงานวจิ ยั สำนักงานการวิจัย ส่วนภูมภิ าค ประจำปี 2566 แหง่ ชาติ กระทรวงการ (Regional Research Expo 2023) อุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม 4 เขา้ ร่วมกิจกรรมปาฐกถา สำนกั งานเลขาธกิ าร หมอ่ มหลวงป่นิ มาลากลุ คร้งั ท่ี 6 คุรุสภา เนอื่ งในงานวนั ครู ครงั้ ท่ี 67 พ.ศ. 2566 “พลังครู คือ หัวใจของการพลกิ โฉมคณุ ภาพ การศกึ ษา” - พลงั ครู คือ หัวใจของการพลกิ โฉม คุณภาพการศึกษา - การเปลีย่ นแปลงคณุ ภาพการศกึ ษา : บทบาทและภารกิจของผู้บริหาร สถานศึกษา - พลังครูสูก่ ารสรา้ งความเท่าเทยี ม
24 ลำดบั ที่ เรอื่ ง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ 5 ชว่ั โมง ผ่านการพัฒนาในหลักสตู รออนไลน์เพ่ือ สำนักงานเลขาธิการ 6 เพิ่มพูนสมรรถนะวิชาชีพทางการศึกษา ครุ ุสภา 12 - 7 เนือ่ งในงานวนั ครู ครง้ั ท่ี 67 พ.ศ. 2566 “พลังครู คือ หวั ใจของการพลิกโฉมคุณภาพ สำนักงานคณะกรรมการ - - การศกึ ษา” การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน - - เรื่อง การออกแบบการเรยี นรู้อย่างไรให้ตอบ สำนักงานคณะกรรมการ โจทย์การพฒั นาวิชาชีพแนวใหม่ การรักษาความม่ันคง ผา่ นการอบรม “ภยั Call Center ปลอดภยั ไซเบอรแ์ ห่งชาติ กลลวงบทเรยี นออนไลน์ราคาแพง” สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ครูผ้สู อนนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับช้นั ม.1 - ม.3 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 70 ประจำปีการศึกษา 2565 8 วทิ ยากรกิจกรรมคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนวังจันทร์วทิ ยา - - ประจำปกี ารศึกษา 2565 โรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา - - 9 วทิ ยากรอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การจดั ทำแผนปฏบิ ัติการ ประจำปีการศกึ ษา 2566
25 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
26 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
27 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
28 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถกู ต้อง (นางสาวธนั ยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
29 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
30 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
31 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
32 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
33 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
34 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
35 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
36 เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบัตร ในการเขา้ ร่วมพัฒนาตนเอง สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ดิ์)
Search