21/10/56ความหมายของแบบฟอรมแบบฟอรม หมายถึง เอกสารท่ีจัดทําขึ้นโดยเวนชองวางไวสําหรับใหบุคคลท่ีเก่ียวของกรอกขอมูลลงไปในชองวางใหสมบูรณ เพ่ือใหผูจัดทําแบบฟอรมไดขอมูลตามท่ีตองการ และสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 1
21/10/56ความสาํ คัญของการกรอกแบบฟอรมการกรอกแบบฟอรมทกุ ประเภทผกู รอกมคี วามซือ่ ตรง ใหขอมูลท่ีเป3นจริงมิฉะน้ันจะเกิดความเสียหายเมื่อขอมูลน้ันถูกนําไปใชงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งแบบฟอรมที่เป3นหลักฐานหรือเอกสารท่ีมีผลผูกพันทางกฎหมายซง่ึ ผกู รอกจะตองรบั ผดิ ชอบ ดงั น้นั การกรอกขอมูลลงในแบบฟอรม ตองทาํ ดวยความ ระมดั ระวัง รอบคอบ และถกู ตองตรงตามความเปนจรงิประเภทของแบบฟอรมแบงออกเปน3 ๔ ประเภทคือ๑. แบบฟอรมท่ีใชตดิ ตอสือ่ สารกบั หนวยงานเป3นแบบฟอรมท่ีใชติดตอกับหนวยงานท้ังภาครัฐและเอกชนเป3นฝ:ายจัดเตรียมข้ึนเพ่อื อํานวยความสะดวกแกผมู าติดตองาน๒. แบบฟอรมทผี่ อู น่ื ขอความรวมมอื ใหกรอกเป3นแบบฟอรมที่นักวิจัยหรือผูมีหนาท่ีสรุปประเมินผลจัดทําข้ึน เพื่อเก็บขอมูลสําหรบั การศึกษาวิจยั หรือสํารวจความเหน็ เก่ียวกับการดาํ เนนิ งาน๓. แบบฟอรมทใ่ี ชภายในหนวยงานเป3นแบบฟอรมที่แตละหนวยงานจัดทําขึ้นเพ่ือเก็บขอมูลสถิติตางๆ ของบุคลากรภายในหนวยงานไวอยางเปน3 ระบบ 2
21/10/56ประเภทของแบบฟอรม (ตอ)๔. แบบฟอรมสัญญาเป3นแบบฟอรมที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหวางผูทําสัญญาทั้ง ๒ ฝ:าย วาจะกระทาํ หรือละเวนการกระทาํ อยางใดอยางหน่งึ หรือหลายอยางตอกันขอควรปฏบิ ตั ใิ นการกรอกแบบฟอรมสญั ญา๔.๑ ควรอานแบบฟอรมสัญญาใหเขาใจทงั้ ฉบับ๔.๒ กรอกขอมลู ดวยลายมอื ท่ีชดั เจน สะอาดเรียบรอย๔.๓ ปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนําหรือขอบงั คับในแบบฟอรมอยางเครงครัด๔.๔ ตองไมลงลายมือชอ่ื ในแบบฟอรมสญั ญาจนกวาจะกรอกขอมลู ครบถวนสมบูรณ๔.๕ กรอกแบบฟอรมสัญญาอยางนอย ๒ ฉบับ แลวใหผูทําสัญญาแตละฝ:ายถือไวเป3นหลักฐาน๔.๖ เก็บแบบฟอรมสญั ญาไวจนกวาจะสนิ้ สดุ พนั ธะตามกฎหมายขอควรปฏิบัตใิ นการกรอกแบบฟอรม๑. อานแบบฟอรมใหเขาใจกอนลงมอื กรอกขอมูล๒. กรอกขอมูลตามความเปน3 จรงิ๓. กรอกขอมลู ใหครบถวน ๔. เขยี นดวยลายมอื ใหชดั เจน ๕. กรอกขอมูลดวยตนเอง ๖. อานทบทวน 3
21/10/56คณุ สมบัติของผกู รอกแบบฟอรม๑. มีความรู ความเขาใจเกีย่ วกบั เร่อื งทก่ี รอก๒. มีความสามารถทางภาษา๓. มคี วามซือ่ ตรง๔. มีความรบั ผิดชอบ๕. มคี วามรอบคอบการเขยี นประวัติยอเป3นการเขียนที่มีความสําคัญอีกรูปแบบหนึ่งที่นักเรียนควรศึกษาทาํ ความเขาใจ เพราะมโี อกาสไดใชขอมูลอยเู สมอ เมอ่ืไปติดตอกับหนวยงานตางๆ โดยเฉพาะการเขียนประวัติยอในการสมัครเขาทาํ งานในหนวยงานหรือบริษัทตางๆ 4
21/10/56หลกั การเขียนประวตั ยิ อ๑. ประวตั ิสวนตวั๒. ประวัติการศกึ ษา๓. ประวตั กิ ารทาํ งาน 4. ความสามารถพเิ ศษ 5. บุคคลอางอิง ๖. ระยะเวลาในการเร่ิมงานและเงินเดือนที่ ตองการขอควรระวังในการเขียนประวัตยิ อ๑. ไมควรเขยี นยาวหรือสั้นเกนิ ไป ประมาณ ๑-๒ หนากระดาษ๒. เขยี นใหกระชับ ไมเยน่ิ เยอ เขียนขอมลู ครบถวน๓. ระวงั เรือ่ งตวั สะกดการนั ต ๔. รูปแบบอานงาย สบายตา กระดาษสีขาว ไมมลี าย 5
21/10/56 6
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: