Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่1-14 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง2104

แผนที่1-14 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง2104

Published by chaisombat2535, 2017-08-05 22:34:31

Description: แผนที่1-14 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง2104

Search

Read the Text Version

51บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผูสอน

52 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 10 หนวยท่ี 10 ชื่อวิชา วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ช่ือหนวย วธิ ีแรงดนั โนด สอนครั้งท่ี 11/18ชอื่ เร่ือง วธิ แี รงดันโนด จํานวน 4 คาบหวั ขอ เรื่อง 10.1 แนวคิดของวิธีแรงดนั โนด 10.2 การนําวิธีแรงดันโนดมาใชแ กปญ หาวงจรไฟฟา 10.3 สรปุ สาระสําคัญสมรรถนะยอ ย 1. แสดงความรเู กย่ี วกบั วิธแี รงดนั โนด 2. ปฏิบัติการตอวงจร วัด และทดสอบคาดวยวธิ แี รงดันโนดจดุ ประสงคการปฏิบตั ิ ดา นความรู 1. อธิบายความหมายของวธิ ีแรงดันโนด 2. บอกขน้ั ตอนการแกปญหาวงจรไฟฟาดว ยวธิ ีแรงดันโนด 3. เขยี นสมการโนดจากวงจรไฟฟา ทก่ี าํ หนดให 4. คาํ นวณคา ในวงจรไฟฟาดว ยวธิ แี รงดันโนด ดา นทกั ษะ 1. ตอวงจรการทดลองดว ยวธิ ีแรงดนั โนด 2. วดั แรงดนั ไฟฟา ในวงจรดว ยวิธแี รงดันโนด 3. วดั กระแสไฟฟาในวงจรดว ยวธิ ีแรงดันโนด 4. บนั ทึกขอมลู การทดลองดวยวิธีแรงดันโนด 5. เปรียบเทียบขอมูลดว ยวธิ แี รงดนั โนด 6. เขียนสรปุ ผลการทดลองดว ยวิธีแรงดนั โนด ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ความเชอื่ มัน่ ในตนเองและความซอื่ สัตยสจุ ริต

53เนือ้ หาสาระ 10.1 แนวคิดของวธิ ีแรงดนั โนด การแกปญหาวงจรไฟฟาดวยวิธีแรงดันโนด (Node Voltage Method) หรือวิธีโนดจะอาศัยกฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ (KCL) เปนหลักในการแกปญหา วิธีแรงดันโนดเปนวิธีเปรียบเทียบแรงดันไฟฟาระหวางจุดที่มีความตางศักยไฟฟาซ่ึงจะตองเขาใจความหมายที่กําหนดในวงจร อธิบายประกอบดังรูปโนด R1 โนVดAA R1 โนดVBB 100 V 2 A R2 R3 4A VCก) แสดงจุดโนด ข) แสดงจุดโนดหลกั และจดุ โนดอางองิ รูป โนด (Node) คอื จดุ ตอ ในวงจรไฟฟาระหวา งสวนประกอบของวงจร ดงั รูป โนดหลัก (Principle Node or Major Node) คือ จุดตอในวงจรท่ีมีสาขาอยางนอย 2 สาขาขึ้นไปจากรปู ข) โนดหลกั ไดแก โนด A และโนด B กําหนดช่อื โนดหลักเปน VA และ VB หรอื ใชตวั เลขกไ็ ด โนดอางอิง (Reference Node) คือ โนดหลักท่ีถูกกําหนดใหแรงดันไฟฟามีคาเทากับศูนย ซึ่งเปนจดุ อางอิงในวงจรทําหนาทีเ่ ปน กราวด จากรปู ข) โนดอางองิ คอื VC แรงดันโนด (Node Voltage) คือ ความตางศักยระหวางโนดใด ๆ 2 จุด ซ่ึงกําหนดใหแรงดันโนดมีคาสูงกวา แรงดันไฟฟา ทโ่ี นดอา งองิ เสมอ 10.1.1 ขั้นตอนการแกป ญหาวงจรไฟฟา ดวยวิธีแรงดันโนด การนาํ วิธแี รงดนั โนดไปใชแกปญหาวงจรไฟฟา มีขนั้ ตอนดังนี้ 1. กําหนดจํานวนโนดหลักในวงจรและเลือกโนดหลกั โนดใดโนดหน่งึ ใชเ ปน โนดอา งองิ 2. กําหนดทิศทางกระแสไฟฟาไหลเขาหรอื ไหลออกทจี่ ุดโนดหลกั ทุกจดุ ยกเวนโนดอา งองิ 3. เขยี นสมการกระแสไฟฟาตามกฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ (KCL) ที่จุดโนดหลักทุกจดุ ในวงจรโดยใช VRR แทนกระแสไฟฟา และเขยี นสมการโนด จะไดต ามสมการ จํานวนสมการโนด = จาํ นวนโนด – 1 4. แทนคา ในสมการตามขอ 3 และแกส มการหาคาแรงดันโนดทีไ่ มทราบคา

54 5. ผลท่ีไดจากขอ 4 สามารถหาคากระแสไฟฟาท่ีไหลผานตัวตานทาน แรงดันไฟฟาตกครอ มตัวตา นทานแตละตัวและคาอน่ื ทีต่ อ งการทราบได 6. พสิ ูจนหรือตรวจสอบผลการคํานวณ (ถา ตอ งการ) จะใชกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟ(KVL) ในวงจรไฟฟา ไดเ ชนเดียวกับวิธกี ระแสเมช 10.2 การนําวิธแี รงดนั โนดมาใชแ กปญหาวงจรไฟฟา จากรูป จงหาคา กระแสไฟฟาทกุ สาขา โดยใชว ิธีแรงดันโนด วธิ ที ํา ข้ันที่ 1: กําหนดจุดโนดหลัก ไดแก VA และกาํ หนดจุดโนดอางอิงไดแก VB ขั้นท่ี 2: กําหนดทิศทางกระแสไฟฟาท่ีโนดหลักโดยใชกฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ แสดงดังรปูขั้นท่ี 3: เขยี นสมการกระแสไฟฟา และเขยี นสมการโนดโนด VA : I3 = I1 + I2 หรือ I3 – I1 – I2 = 0 (1)จะได I1 = E1 − VA I2 = E 2 − VA R1 R2 VA + E 3และ I3 = R3แทนคากระแสไฟฟาในเทอมของแรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานในสมการที่ (1)จะไดส มการโนด 1 สมการ เนื่องจากมโี นดหลกั เพยี งโนดเดยี ว คือVA + E 3 – E1 − VA – E 2 − VA =0 (2) R3 R1 R2

55ขั้นที่ 4: แทนคาแรงดันไฟฟาและความตานทานไฟฟาท่ีทราบคาในสมการท่ี (2)และแกส มการหาคา แรงดนั โนดท่ไี มทราบคา VA4+2 – 6−2VA – 4 −2VA = 0 นาํ 4 คูณตลอด จะได(VA + 2) – (12 – 2VA) – (8 – 2VA) = 0VA + 2 – 12 + 2VA – 8 + 2VA = 0 5VA – 18 = 0 18 VA = 5 = 3.6 Vข้นั ท่ี 5 หาคา กระแสไฟฟาทไี่ หลผานตัวตานทานในวงจรI1 = E1 − VA = 6 − 3.6I1 = R1 2 2.4 = 1.2 A ตอบ 2 ตอบ E 2 − VA ตอบI2 = R2 = 4 − 3.6 2I2 = 0.2 A VA + E 3I3 = R3 = 3.6 + 2I3 = 4 5.6 4 = 1.4 Aกจิ กรรมการเรยี นรู (สปั ดาหท่ี 11/18, คาบท่ี 41–44/72) 1. ครขู านชอื่ ผูเรียน เตรยี มความพรอมกอ นเขาเรียน 2. ครทู บทวนเนอ้ื หาโดยยอ เรื่อง วิธีกระแสเมช 3. นักเรียนทาํ แบบทดสอบกอนเรียนหนวยที่ 10 4. ข้ัน M ครนู าํ เขา สบู ทเรียนเรือ่ ง แรงดันโนด และครแู จง จุดประสงคการเรยี น 5. ขน้ั I ครูสอนเนื้อหาสาระ 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอเสนอแนะการทํางานกลมุ 7. ขั้น P นักเรียนทดลองตามใบงานที่ 10 เร่ือง วิธีแรงดันโนด ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝก หดั ตามกลมุ และรวมอภิปรายผลจากการทดลอง 8. ครูมอบหมายการบา น 9. นักเรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหนวยท่ี 10

56สื่อและแหลงการเรียนรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 10, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรียน และหลงั เรยี น 2. แหลง การเรียนรู หนังสือ วารสารเกีย่ วกบั วิธแี รงดนั โนด, อินเทอรเ นต็ www.google.comการวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใชเคร่ืองมอื ) (นาํ ผลเทียบกบั เกณฑและแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอ นเรียน (Pre–test) หนว ยท่ี 10 (ไวเ ปรียบเทยี บกบั คะแนนสอบหลังเรยี น)2. แบบสังเกตการทํางานกลมุ และนําเสนอผลงานกลมุ เกณฑผ า น 60%3. แบบฝก หัดหนวยท่ี 10 เกณฑผาน 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว ยที่ 10 เกณฑผาน 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ าน 60%งานทม่ี อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหท าํ แบบฝกหัดขอ ท่ีเหลือจากทาํ ในชน้ั เรยี นใหเ รยี บรอ ยถกู ตอง สมบรู ณผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาํ เรจ็ ของผเู รยี น 1. ผลการทาํ และนาํ เสนอแบบฝก หัดหนวยท่ี 10 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 10 เร่อื งวิธีแรงดนั โนด และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนวยที่ 10 และผา นเกณฑเอกสารอา งองิ ธาํ รงศักดิ์ หมนิ กาหรมี . วงจรไฟฟา กระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศนู ยห นงั สือเมอื งไทย.

57บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผูสอน

58 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 11 หนวยที่ 11 ชอื่ วชิ า วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชือ่ หนว ย ทฤษฎีการทับซอ น สอนครงั้ ท่ี 12/18ชอื่ เรอื่ ง ทฤษฎกี ารทบั ซอ น จํานวน 4 คาบหัวขอเรื่อง 11.1 แนวคดิ ของทฤษฎีการทับซอ น 11.2 การนําทฤษฎีการทบั ซอ นมาใชแกป ญ หาวงจรไฟฟา 11.3 สรุปสาระสําคญัสมรรถนะยอ ย 1. แสดงความรเู กี่ยวกบั ทฤษฎกี ารทบั ซอ น 2. ปฏบิ ัติการตอ วงจร วัด และทดสอบคาดว ยทฤษฎีการทบั ซอนจดุ ประสงคการปฏิบตั ิ ดา นความรู 1. บอกความหมายของทฤษฎีการทบั ซอ น 2. บอกข้นั ตอนการนําทฤษฎีการทับซอ นมาใชแ กป ญ หาวงจรไฟฟา 3. คาํ นวณคาในวงจรไฟฟา โดยใชท ฤษฎีการทับซอ น ดานทกั ษะ 1. ตอ วงจรการทดลองดวยทฤษฎีการทับซอ น 2. วดั กระแสไฟฟาในวงจรการทดลองทฤษฎีการทับซอน 3. บนั ทึกขอมลู ในการทดลองทฤษฎีการทบั ซอน 4. เขยี นสรุปผลการทดลองทฤษฎกี ารทับซอน ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ความเชือ่ ม่ันในตนเองและความซือ่ สัตยสุจริตเนือ้ หาสาระ 11.1 แนวคดิ ของทฤษฎีการทบั ซอ น ขน้ั ตอนหาคากระแสไฟฟา หรอื แรงดนั ไฟฟา ของวงจรเชงิ เสนท่มี ีหลายแหลง จาย โดยหาคาคร้ังละแหลงจายและใหแหลงจายที่เหลืออื่นเปนศูนย มีข้ันตอนกรณีวงจรไฟฟามี 2 แหลงจาย ดังน้ี (Floyd,Thomas L., 2001: 259) 1. กําหนดใหมีแหลงจายครั้งละ 1 แหลงจาย แหลงจายท่ีเหลืออื่นเปนศูนย ถาเปนแหลงจายแรงดันไฟฟาใหลัดวงจร (ความตานทานที่ข้ัวลัดวงจรเปนศูนย) และถาเปนแหลงจายกระแสไฟฟาใหเปด-

59วงจร แลว จงึ หาคากระแสไฟฟา หรอื แรงดนั ไฟฟา ตามโจทยกาํ หนด จากแหลงจา ย 1 แหลง จา ย ครั้งท่ี 1 ดังรูปท่ี 11.1–11.2E ลัดวงจร I เปดวงจรก) แหลงจายแรงดนั ไฟฟา ใหลัดวงจร ข) แหลงจายกระแสไฟฟาใหเ ปด วงจร รูปที่ 11.1 การนําแหลง จายออกจากวงจรเพ่ือใหแหลง จายเปน ศูนยก) จุดทม่ี ีแหลงจายแรงดนั ไฟฟา ใหลดั วงจร ข) จุดทม่ี ีแหลงจา ยกระแสไฟฟาใหเปดวงจร รปู ท่ี 11.2 ตัวอยา งผลจากการนําแหลงจายออกจากวงจร 2. กําหนดแหลงจายครั้งที่ 2 ตอเขาไปในวงจรที่จุดเดิม ที่แหลงจายท่ีกําหนดคร้ังที่ 1 ใหเปนศนู ยแ ลว จงึ หาคากระแสไฟฟา หรือแรงดันไฟฟา ตามโจทยก าํ หนด จากแหลงจาย 1 แหลงจาย คร้งั ท่ี 2 3. นําคากระแสไฟฟา หรอื แรงดันไฟฟา จากครัง้ ที่ 1 และคร้ังที่ 2 มารวมกันทางพชี คณติ จะไดกระแสไฟฟาหรือแรงดันไฟฟาตามโจทยต องการ จากข้ันตอนการประยุกตใชทฤษฎีการทับซอน อธิบายประกอบดังรูปท่ี 11.3 ซ่ึงเปนวงจรผสมท่ีมี 2 แหลง จาย ดังน้ี (Floyd, Thomas L., 2001: 260)ก) ปญหาคอื ตอ งการหาคา I2 ข) ลดั วงจร E2 ใหค วามตานทานเปน ศนู ย

60 R1 R3 R1 R3E1 I1 R2 E1 R2 I′2ค) หาคา RT1 และ I1 มองจาก E1 ง) หาคา I′2 โดยประยกุ ตใ ชก ฎการแบง กระแสไฟฟา RT1 = R1 + R2//R3 และ I1 = E1/RT1 I′2 = R2R+3R3 × I1 R1 R3 R1 R3 R2 E2 R2 I3 E2จ) ลดั วงจร E1 ใหค วามตานทานเปน ศนู ย ฉ) หาคา RT2 และ I3 มองจาก E2 RT2 = R3 + R1//R2 และ I3 = E2/RT2R1 R3 R1 R3R2 I′2′ E2 E1 I′2 I′2′ E2ช) หาคา I′2′ โดยประยกุ ตใ ชก ฎการแบงกระแสไฟฟา ซ) แหลง จา ยวงจรเดิมมีกระแสไฟฟา ไหล 2 คาI′2′ = R1R+1R2 × I3 มีทศิ ทางเดยี วกันดังน้นั I2 = I′2 + I′2′ รูปท่ี 11.3 การประยุกตใชทฤษฎกี ารทบั ซอน11.2 การนําทฤษฎกี ารทับซอนมาใชแกปญหาวงจรไฟฟา จากรปู จงหาคา กระแสไฟฟาและแรงดนั ไฟฟา ตกครอ ม R2โดยใชท ฤษฎกี ารทับซอ น R1 R3 100 100E1 10V R2 100 E2 5 Vวิธีทาํ ข้ันที่ 1 ลัดวงจร E2 เพื่อหาคากระแสไฟฟาท่ีไหลผาน R2 ท่ีเกิดจากแหลงจาย E1 และ ประยกุ ตใชก ฎการแบงกระแสไฟฟา ดังรูป

61 R1 R3E1 I1 100 I′2 100 10 V R2 100RT1 = R1 + R2 = 100 + 100 = 150 Ω 2 2I1 = RET11 10 = 150 = 0.0667 Aประยกุ ตใ ชกฎการแบง กระแสไฟฟาเพอื่ หาคา I′2 โดยที่ I1 = 0.0667 A = 66.7 mAI′2 = ⎜⎛ R3 ⎞⎟ × I1 = 100 × 66.7 ⎝ R2 +R3 ⎠ 200I′2 = 6670 = 33.35 mA 200ข้นั ท่ี 2 ลดั วงจร E1 เพื่อหาคา กระแสไฟฟา ท่ีไหลผาน R2ทเ่ี กดิ จากแหลงจา ย E2 และ ประยกุ ตใ ชกฎการแบง กระแสไฟฟา ดังรปู R1 R3 100 I′2′ 100 I3 R2 100 E2 5 VRT2 = R3 + R21 = 100 + 100 = 150 ΩI3 = RET22 2 = 0.0333 A 5 = 150ประยกุ ตใ ชก ฎการแบง กระแสไฟฟาเพื่อหาคา I′2′โดยที่ I3 = 0.0333 A = 33.3 mAI′2′ = ⎜⎛ R1R+1R 2 ⎟⎞ × I3 = 100 × 33.3 ⎝ ⎠ 200I′2′ = 3330 = 16.75 mA 200ขั้นท่ี 3 นําคากระแสไฟฟาจากคร้ังที่ 1 และคร้ังท่ี 2 มารวมกันทางพีชคณิตจะได กระแสไฟฟาทไี่ หลผา น R2I2 = I′2 + I′2′ = 33.35 + 16.75I2 = 50 mA ตอบแรงดันไฟฟาตกครอม R2 จะได

62V2 = I2 × R2 = 50× 100V2 = 5 V ตอบกิจกรรมการเรียนรู (สปั ดาหท่ี 12/18, คาบท่ี 44–48/72) 1. ครขู านชอื่ ผเู รียน เตรยี มความพรอ มกอ นเขาเรียน 2. ครทู บทวนเนอ้ื หาโดยยอเร่อื ง วิธีแรงดันโนด และนกั เรยี นสงการบาน 3. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นหนว ยท่ี 11 4. ข้นั M ครูนาํ เขา สบู ทเรยี นเร่ือง การทบั ซอน และครูแจง จดุ ประสงคการเรยี น 5. ขัน้ I ครูสอนเนื้อหาสาระ 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอ เสนอแนะการทํางานกลุม 7. ขั้น P นักเรียนทดลองตามใบงานท่ี 11 เร่ือง ทฤษฎีการทับซอน ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝก หัดตามกลมุ และรวมอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครมู อบหมายการบาน 9. นักเรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี นหนวยที่ 11สอ่ื และแหลงการเรียนรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 11, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรียน 2. แหลง การเรียนรู หนังสอื วารสารเกย่ี วกับทฤษฎีการทบั ซอ น, อนิ เทอรเ นต็ www.google.comการวัดและการประเมินผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ คร่ืองมือ) (นําผลเทียบกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอ นเรียน (Pre–test) หนว ยที่ 11 (ไวเ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสังเกตการทํางานกลมุ และนาํ เสนอผลงานกลุม เกณฑผ า น 60%3. แบบฝกหดั หนวยท่ี 11 เกณฑผ า น 50%4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 11 เกณฑผา น 50%5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผาน 60%

63งานที่มอบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหท าํ แบบฝก หดั ขอ ทเ่ี หลอื จากทาํ ในชนั้ เรยี นใหเ รยี บรอ ยถูกตอ ง สมบูรณผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาํ เร็จของผูเรยี น 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝก หัดหนวยที่ 11 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานที่ 11 เรือ่ งทฤษฎีการทบั ซอ น และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนวยที่ 11 และผานเกณฑเอกสารอางอิง 1. ธํารงศกั ดิ์ หมนิ กา หรมี . วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002. (2556). นนทบรุ :ี ศูนยหนังสอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

64บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

65 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 12 หนว ยท่ี 12 ชื่อวชิ า วงจรไฟฟากระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ชอ่ื หนวย ทฤษฎีเทเวนนิ สอนครงั้ ท่ี 13–14/18ชือ่ เรอ่ื ง ทฤษฎีเทเวนนิ จํานวน 8 คาบหวั ขอ เรื่อง12.1 แนวคดิ ของทฤษฎเี ทเวนนิ12.2 การนาํ ทฤษฎีเทเวนนิ มาใชแ กป ญ หาวงจรไฟฟา12.3 สรุปสาระสําคญัสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรูพน้ื ฐานเก่ียวกับทฤษฎีเทเวนนิ2. ปฏบิ ตั ิการตอวงจร วดั และทดสอบคา ดว ยทฤษฎีเทเวนินจุดประสงคการปฏิบัติดานความรู1. อธบิ ายความหมายของทฤษฎเี ทเวนิน2. บอกขน้ั ตอนของการแกปญ หาวงจรไฟฟา ดว ยทฤษฎเี ทเวนนิ3. คํานวณคา ในวงจรไฟฟา ดว ยทฤษฎีเทเวนนิดานทักษะ1. ตอวงจรการทดลอง 2. วดั ความตา นทานเทเวนนิ3. วดั แรงดนั เทเวนนิ 4. ตอวงจรสมมลู เทเวนิน5. บนั ทึกขอมูลในการทดลองทฤษฎเี ทเวนนิ 6. เปรียบเทียบขอมูลในการทดลองทฤษฎีเทเวนิน7. เขียนสรปุ ผลการทดลองทฤษฎเี ทเวนินดา นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแสดงออกถงึ ความมวี นิ ัย ความรับผิดชอบ ความเชอ่ื มนั่ ในตนเองและความซอ่ื สตั ยสุจริตเน้ือหาสาระ 12.1 แนวคดิ ของทฤษฎีเทเวนิน ข้ันตอนการแกปญหาวงจรไฟฟาโดยการกลับวงจรเดิมไปเปนวงจรสมมูลเทเวนินมขี ั้นตอนดงั น้ี 1. ปลดโหลดทีต่ อ งการหาคา ออกจากวงจรเหลือไวเ พียงขัว้ ทีถ่ กู เปดวงจร 2. ใหสัญลักษณที่ข้ัวท่ีถูกเปดวงจรท้ัง 2 ข้ัว อาจกําหนดสัญลักษณเปน A–B หรือ a–b หรือx–y หรอื อน่ื ๆ ทตี่ อ งการใช

66 3. แหลงจายใด ๆ ในวงจรตองปรับใหเปนศูนย น่ันคือ แหลงจายแรงดันไฟฟาจะตองลัดวงจร (ศูนยโวลต) และแหลงจา ยกระแสไฟฟาตองเปด วงจร (ศนู ยแอมแปร) 4. คํานวณคาความตานทานเทเวนิน (RTh) โดยคํานวณความตานทานไฟฟาท่ีมองระหวาง 2ขว้ั (อาจจะตองเขียนวงจรใหมใหอยูใ นรูปอยางงา ย) 5. นําแหลงจายจากข้ันตอนที่ 3 มาตอในวงจรเหมือนเดิม และคํานวณแรงดันเทเวนิน (ETh)โดยอาศัยวิธีการท่ีไดศึกษาจากหนวยการเรียนตอนตน เชน ใชวิธีกระแสเมช กฎการแบงแรงดันไฟฟา กฎ–ของเคอรช อฟฟ เปนตน 6. เขียนวงจรสมมูลเทเวนินโดยนํา ETh และ RTh มาตออนุกรม และนําโหลดท่ีปลดออกในข้นั ท่ี 1 มาตอระหวา งขัว้ 2 ข้ัว อีกครง้ั เพื่อแกปญหาทีต่ องการตอไปก) ETh = R1 + RR23 + R3 × E ข) RTh = R3 //(R1+R2) ค) วงจรสมมลู เทเวนิน12.2 การนําทฤษฎีเทเวนนิ มาใชแ กปญ หาวงจรไฟฟา จากรูป จงหาคา กระแสไฟฟา ที่ไหลผา น RL ที่คา 2 โอหม 10 โอหม และ 100 โอหม โดยใชท ฤษฎีเทเวนนิ (Boylested, Robert. 2003: 324)วิธีทํา ขน้ั ท่ี 1 ปลด RL ออกจากวงจร a ขนั้ ที่ 2 กําหนดข้วั a–b ดูรูป b R1 3E 9V R2 6

67 ขนั้ ท่ี 3 ปรบั แหลง จา ยใหเปน ศูนย (ถาเปน แหลง จายแรงดันไฟฟา ใหลดั วงจร ถา เปนแหลง จายกระแสไฟฟาใหเปดวงจร) ดังรูป R1 a ลดั วงจรแหลงจาย 3 RTh แรงดันไฟฟา R2 6 b ข้นั ท่ี 4 หาความตานทานเทเวนนิ ระหวา งขวั้ a–b (R1//R2) ดังรปู RTh = R1R2 = 3×6 R1 + R2 3+6 RTh = 18 = 2Ω 9 ขนั้ ที่ 5 นําแหลงจา ยมาตอ และหา ETh ดังรปู R1 a R1 V E ET h 3 ET h b R2E 9V R2 6 ก) หา ETh ข) แสดงการวัดหา ETh ประยุกตใชก ฎการแบงแรงดนั ไฟฟา เพ่ือหา ETh ⎛⎜⎝ RRT2 ⎠⎟⎞× E = ETh = 6 ×9 3+6 ETh = 54 = 6V 9 ขัน้ ท่ี 6 เขียนวงจรสมมลู เทเวนนิ โดยนาํ ETh และ RTh มาตออนุกรมและนํา RL มาตอเพื่อหาคา ทต่ี องการไดดงั รปู

68หาคา กระแสไฟฟาทีไ่ หลผา น RL ก็คือ IL และประยกุ ตใชก ฎของโอหม E Th 6ท่ี RL = 2 Ω : IL = R R L = 2+2 IL = 6 Th + 4 = 1.5 A ตอบ ตอบท่ี RL = 10 Ω : IL = R E Th R L = 6 ตอบ IL = 6 2 +10 Th + 12 = 0.5 Aท่ี RL = 100 Ω : IL = R6ThE+ThR L = 6 IL = 102 2 +100 = 0.059 Aกิจกรรมการเรียนรู (คร้งั ที่ 13/18, คาบที่ 49–52/72) 1. ครขู านชอ่ื ผูเรียน เตรียมความพรอ มกอนเขา เรยี น 2. ครทู บทวนเนอ้ื หาโดยยอ เรื่อง ทฤษฎีการทบั ซอ น และนักเรยี นสง การบาน 3. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวยท่ี 12 4. ขัน้ M ครูนําเขา สบู ทเรียน และครูแจงจุดประสงคการเรียน 5. ข้นั I ครสู อนเนือ้ หาสาระทฤษฎเี ทเวนนิ ทง้ั หมด โดยบรรยาย ถามตอบประกอบสื่อเพาเวอรพอยด 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุม ๆ ละ 1 ขอ ตามความสมัครใจ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตการทาํ งานกลมุ 7. ข้ัน P ครแู ละนักเรยี นรวมกนั เฉลยแบบฝก หดั ตามกลุม และรว มอภปิ รายสรปุ บทเรยี น 8. ครมู อบหมายใหท ําแบบฝก หดั ขอ ท่เี หลือจากการทําในชัน้ เรียนเปน การบา นกจิ กรรมการเรียนรู (ครัง้ ท่ี 14/18, คาบท่ี 53–56/72) 1. ครขู านชอื่ นกั เรยี น เตรยี มความพรอมกอนเขา เรยี น 2. ครทู บทวนเนอื้ หา จากการสอนคร้งั ท่ี 13 โดยการถามตอบและนักเรยี นสง การบา น 3. ข้ัน M ครูนาํ เขา สบู ทเรียน และครูแจงจดุ ประสงคการเรียน 4. ขั้น I ครูสอนสรุปเน้อื หาสาระเก่ยี วกับทฤษฎีเทเวนิน

69 5. ข้ัน A นักเรียนทาํ ตามใบงานที่ 12 เรอื่ งทฤษฎีเทเวนิน เปน กลมุ ขณะนักเรียนทําการทดลองครูจะสังเกตการทํางานกลมุ และประเมินผล 6. ขนั้ P นักเรยี นนาํ เสนอผลการทดลอง เปน รายกลมุ และรวมสรปุ ผล 7. นักเรียนเก็บเครอ่ื งมือและทาํ ความสะอาดหอ งเรยี น 8. นักเรียนทดสอบหลังเรยี นหนว ยที่ 12ส่อื และแหลงการเรียนรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 12, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรียน และหลงั เรยี น 2. แหลงการเรียนรู หนงั สอื วารสารเกี่ยวกบั ทฤษฎีเทเวนิน, อินเทอรเน็ต www.google.comการวดั และการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ ครื่องมอื ) (นําผลเทยี บกบั เกณฑและแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรยี น (Pre–test) หนว ยท่ี 12 (ไวเปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสังเกตการทาํ งานกลมุ และนําเสนอผลงานกลุม เกณฑผ า น 60%3. แบบฝกหดั หนว ยท่ี 12 เกณฑผาน 50%4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว ยที่ 12 เกณฑผ า น 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ า น 60%งานทีม่ อบหมาย งานทีม่ อบหมายนอกเวลาเรยี น ใหท าํ แบบฝก หัดขอ ทเ่ี หลอื จากในชั้นเรียนใหเรยี บรอ ย ถกู ตองสมบรู ณผลงาน/ชิน้ งาน/ความสําเร็จของผเู รียน 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝกหัดหนว ยที่ 12 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 12 เรอื่ งทฤษฎีเทเวนนิ และผานเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว ยท่ี 12 และผานเกณฑเอกสารอางอิง 1. ธาํ รงศกั ดิ์ หมินกา หรีม. วงจรไฟฟากระแสตรง รหัสวชิ า 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศนู ยห นงั สือเมอื งไทย. 2. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

70บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

71 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 13 หนว ยท่ี 13 ชอ่ื วชิ า วงจรไฟฟากระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชือ่ หนวย ทฤษฎนี อรต นั สอนครัง้ ที่ 15–16/18ชอื่ เรอื่ ง ทฤษฎีนอรตนั จํานวน 8 คาบหวั ขอเรื่อง13.1 แนวคดิ ของทฤษฎีนอรต นั13.2 การนําทฤษฎนี อรต ันมาใชแ กปญหาวงจรไฟฟา13.3 สรปุ สาระสาํ คัญสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรูพ น้ื ฐานเกี่ยวกับทฤษฎีนอรต ัน2. ปฏิบตั ิการตอวงจร วดั และทดสอบคา ดว ยทฤษฎนี อรตันจดุ ประสงคการปฏิบัติดา นความรู1. อธิบายความหมายของทฤษฎนี อรต ัน2. บอกข้ันตอนของการแกป ญ หาวงจรไฟฟา ดว ยทฤษฎนี อรตนั3. คาํ นวณคาในวงจรไฟฟา ดว ยทฤษฎนี อรต ัน4. แปลงวงจรสมมูลนอรต ันเปน วงจรสมมูลเทวนิ นิดานทกั ษะ1. ตอ วงจรการทดลอง 2. วดั ความตา นทานนอรตนั3. วดั กระแสนอรต นั 4. ตอวงจรสมมลู นอรตนั5. บนั ทึกขอมลู การทดลองนอรตัน 6. เปรียบเทียบขอ มูลการทดลองนอรตนั7. เขยี นสรปุ ผลการทดลองนอรต นัดานคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งแสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่ือมน่ั ในตนเองและความซ่อื สตั ยส ุจรติเนอื้ หาสาระ 13.1 แนวคดิ ของทฤษฎีนอรต นั ขนั้ ตอนการแกปญ หาวงจรไฟฟา โดยการกลบั วงจรเดมิ ไปเปน วงจรสมมลู นอรต ัน มีดงั นี้ 1. ปลดโหลดออกจากวงจร 2. ใหสัญลักษณข้ัวที่เปดวงจรท้ัง 2 ขั้ว อาจจะเปน a–b หรือ x–y หรือสัญลักษณอ่ืนที่จะเลือกใช

72 3. แหลงจายใด ๆ ในวงจรตองปรับใหเปนศูนยนั่นคือ แหลงจายแรงดันไฟฟาตองลัดวงจรและแหลง จา ยกระแสไฟฟา ตองเปด วงจร 4. คํานวณหาคาความตานทานนอรตัน (RN) มีวิธีการเหมือนกับการหาคาความตานทานเทเวนนิ (RTh) 5. คํานวณหาคากระแสนอรตัน (IN) ท่ีไหลผานระหวาง 2 ข้ัวโดยนําแหลงจายจากข้ันท่ี 3 มาตอในวงจรเหมือนเดิมและลัดวงจรระหวาง 2 ขั้วที่ปลดโหลดออก ถาในวงจรมีหลายแหลงจายอาจจําเปน ตองใชทฤษฎีการทับซอ น 6. เขยี นวงจรสมมูลนอรตันโดยนํา IN ตอ ขนานกับ RN และนาํ โหลดที่ปลดออกมาตอระหวาง2 ขว้ั อีกครงั้ เพอื่ แกปญ หาที่โจทยตองการตอ ไป RTh= 2 a ETh 8V R1 ab 3 วงจรสมมูลเทวินนิE 12 V R2 6 RL b IN 4A RN 2 a วงจรสมมูลนอรต ัน b 13.2 การนาํ ทฤษฎนี อรต นั มาใชแกป ญ หาวงจรไฟฟา จากรปู จงหาคา กระแสไฟฟา ทีไ่ หลผาน RL ทคี่ า 2 โอหม 10 โอหม และ100 โอหมโดยใชทฤษฎีนอรต ันวิธีทาํ ก) ข้นั ท่ี 1 ปลด RL ออกจากวงจร ขน้ั ที่ 2 กาํ หนดขว้ั a–b ดูรูป

73 ข้ันท่ี 3 ปรับแหลง จายใหเ ปน ศูนย (ถาเปน แหลงจายแรงดนั ไฟฟา ใหลดั วงจร ถาเปนแหลงจา ยกระแสไฟฟา ใหเปด วงจร) ดรู ปู ข้ันท่ี 4 หาความตานทานนอรตัน (เหมือนกับการหาคาความตานทานเทเวนิน)ระหวางขั้ว a–b (R1//R2) ดรู ูป R1 Ω R2 RN = R 1+RR2 2 = 3×6 R1 3+6 RN = 18 = 2Ω 9ข้ันที่ 5 นําแหลง จายมาตอและหา IN ดงั รปูก) หา IN ข) แสดงการวดั หา IN ประยุกตใชกฎของโอหม เพ่ือหา IN มีขอสังเกตวาเม่ือลัดวงจรระหวางข้ัว a–b จะทําใหกระแสไฟฟาไมไหลผาน R2

74 IN = E = 9 R1 3 IN = 3 Aข้ันท่ี 6 เขยี นวงจรสมมลู นอรตนั โดยนาํ IN และ RN มาตอ ขนานและนาํ RL มาตอเพอื่ หาคาท่ีตองการไดดงั รปูหาคากระแสไฟฟา ท่ไี หลผาน RL กค็ อื IL และประยกุ ตใชก ฎการแบงกระแสไฟฟา ⎝⎛⎜ R NR+NR L ⎞⎠⎟ × I N =ที่ RL = 2 Ω : IL = 2 × 3 2+2 IL = 6 = 1.5 A ตอบ 4ท่ี RL = 10 Ω : IL = ⎝⎛⎜ R NR+NR L ⎟⎠⎞ × I N = 2 ×3 2 +10 IL = 6 = 0.5 A ตอบ 12 ⎜⎛⎝ R NR+NR L ⎞⎟⎠ × I N = 2ที่ RL = 100 Ω : IL = 2 +100 × 3 IL = 6 = 0.059 A ตอบ 102กจิ กรรมการเรยี นรู (คร้งั ที่ 15/18, คาบที่ 57–60/72) 1. ครูขานชอ่ื ผูเรียน เตรียมความพรอ มกอนเขา เรียน 2. ครูทบทวนเนอื้ หาโดยยอ เรอื่ ง ทฤษฎเี ทเวนิน และนักเรียนสงการบา น 3. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบกอนเรียนหนว ยท่ี 13 4. ข้นั M ครนู ําเขาสูบทเรียน และครแู จง จดุ ประสงคก ารเรยี น 5. ขั้น I ครสู อนเนอ้ื หาสาระทฤษฎีนอรตนั ทัง้ หมด โดยบรรยาย ถามตอบประกอบสื่อเพาเวอรพ อยด 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุม ๆ ละ 1 ขอ ตามความสมัครใจ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครจู ะสงั เกตการทํางานกลุม 7. ข้นั P ครูและนกั เรียนรว มกันเฉลยแบบฝกหัดตามกลมุ และรวมอภปิ รายสรุปบทเรียน 8. ครูมอบหมายใหทาํ แบบฝกหัดขอทเี่ หลอื จากการทําในชน้ั เรยี นเปนการบา น

75กิจกรรมการเรียนรู (คร้งั ท่ี 16/18, คาบที่ 61–64/72) 1. ครขู านชอ่ื นักเรยี น เตรียมความพรอมกอ นเขา เรียน 2. ครูทบทวนเนอ้ื หา จากการสอนครั้งที่ 15 โดยการถามตอบและนกั เรียนสงการบาน 3. ขั้น M ครูนาํ เขาสบู ทเรยี น และครูแจงจดุ ประสงคก ารเรียน 4. ขัน้ I ครสู อนสรุปเน้ือหาสาระเก่ียวกบั ทฤษฎีนอร๖ฯ 5. ขน้ั A นกั เรยี นทาํ ตามใบงานที่ 12 เรอ่ื งทฤษฎนี อรต นั เปน กลมุ ขณะนักเรียนทําการทดลองครูจะสงั เกตการทํางานกลมุ และประเมินผล 6. ขนั้ P นกั เรียนนําเสนอผลการทดลอง เปน รายกลมุ และรวมสรปุ ผล 7. นักเรียนเก็บเคร่ืองมือและทําความสะอาดหอ งเรยี น 8. นกั เรียนทดสอบหลังเรียนหนว ยที่ 13ส่ือและแหลงการเรียนรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 13, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรียน 2. แหลง การเรยี นรู หนงั สอื วารสารเกย่ี วกับทฤษฎนี อรต นั , อนิ เทอรเ นต็ www.google.comการวัดและการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ ครื่องมอื ) (นําผลเทียบกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรียน (Pre–test) หนว ยท่ี 13 (ไวเปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรยี น)2. แบบสงั เกตการทาํ งานกลมุ และนําเสนอผลงานกลมุ เกณฑผา น 60%3. แบบฝกหัดหนว ยที่ 13 เกณฑผา น 50%4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว ยท่ี 13 เกณฑผา น 50%5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ าน 60%งานทม่ี อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเวลาเรยี น ใหทําแบบฝก หัดขอทเี่ หลอื จากในชัน้ เรยี นใหเ รยี บรอ ย ถูกตอ งสมบูรณ

76ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสําเรจ็ ของผูเรียน 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝก หัดหนวยที่ 13 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานที่ 13 เรือ่ งทฤษฎีนอรตนั และผานเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนวยที่ 13 และผานเกณฑเอกสารอา งอิง 1. ธํารงศักด์ิ หมินกา หรีม. วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศนู ยหนงั สอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

77บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

78 แผนการจดั การเรียนรูที่ 14 หนวยท่ี 14 ชือ่ วิชา วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอ่ื หนว ย ทฤษฎกี ารถายโอนกาํ ลังไฟฟา สูงสดุ สอนครัง้ ท่ี 17/18ช่ือเรื่อง ทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟาสูงสุด จาํ นวน 4 คาบหัวขอเรอื่ ง 14.1 แนวคิดของทฤษฎีการถา ยโอนกําลงั ไฟฟา สูงสุด 14.2 การนาํ ทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟาสูงสุดมาใชแ กป ญ หาวงจรไฟฟา 14.3 สรปุ สาระสาํ คัญสมรรถนะยอย 1. แสดงความรูเ กย่ี วกบั ทฤษฎกี ารถายโอนกําลงั ไฟฟาสงู สดุ 2. ปฏิบัตกิ ารตอวงจร วัด และทดสอบคาดว ยทฤษฎกี ารถา ยโอนกาํ ลงั ไฟฟา สูงสดุจดุ ประสงคการปฏิบตั ิ ดา นความรู 1. อธบิ ายความหมายของทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟาสงู สดุ 2. คาํ นวณวงจรไฟฟา ดวยทฤษฏกี ารถา ยโอนกําลังไฟฟา สงู สดุ ดา นทกั ษะ 1. ตอ วงจรการทดลอง 2. วัดความตา นทานเทวินิน 3. วดั แรงดันเทวินนิ 4. ตอ วงจรสมมลู เทวินนิ 5. บนั ทกึ ขอ มูลในการทดลองทฤษฎีการถา ยโอนกําลังไฟฟา สูงสุด 6. เปรยี บเทียบขอมูลในการทดลองทฤษฎีการถา ยโอนกาํ ลังไฟฟา สูงสดุ 7. เขียนสรุปผลการทดลองทฤษฎกี ารถายโอนกําลงั ไฟฟา สูงสุด ดานคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกถงึ ความมีวินยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเชอ่ื มั่นในตนเองและความซ่อื สัตยสจุ ริต

79เนื้อหาสาระ 14.1 แนวคดิ ของทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟา สงู สุด ทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟาสูงสุด (Maximum Power Transfer Theorem) ไดกลาวไววา “ในวงจรไฟฟากระแสตรงที่มีลักษณะเปนวงจรเชิงเสนใด ๆ ภาระทางไฟฟาหรือโหลด (Load) จะไดรับกําลังไฟฟาสูงสุด (Maximum Power: PL) ก็ตอเม่ือคาความตานทานรวมของวงจรมีคาเทากับคาความ–ตา นทานเทวินิน (RTh) ของวงจรน้ัน” (Boylestad, Robert. 2003: 336) จากรูปที่ 14.1 อธิบายการไดร บั กาํ ลังไฟฟาสงู สดุ (PL) ท่ีโหลด ดงั นี้ก) การไดรบั กําลังไฟฟาสงู สดุ ที่โหลด ข) การไดรับกําลังไฟฟา สงู สุดที่โหลดเม่อื ใชวงจรสมมลู เทวินิน เม่อื ใชว งจรสมมลู นอรต ันรปู ท่ี 14.1 การไดรบั กาํ ลงั ไฟฟาสูงสดุ (PL) ที่โหลดของวงจรโครงขายจากรปู ที่ 14.1 ก) โหลดไดร บั กําลงั ไฟฟา สงู สุดก็ตอ เม่อื RL = RTh (14.1) เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 14.1 ก) จะพบวาวงจรมี 2 สวนท่ีเก่ียวของกันและมีคาเทากัน คือสวนที่เปนวงจรสมมูลเทวินินและสวนที่เปนโหลด ดังนั้นเม่ือพิจารณากรณีเปนวงจรสมมูลเทวินินก็สามารถอางอิงถึงทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟาสูงสุดไดโดยสาระหลักท่ีพิจารณาคือ ผลรวมของโครงขายเปน RTh และตัว–ตา นทาน RL จากรปู ท่ี 14.1 ข) โหลดไดร บั กําลังไฟฟา สงู สุดกต็ อ เมอื่ RL = RN (14.2)สําหรับรปู ที่ 14.1 ก) สามารถหาคากําลังไฟฟา สงู สุดทโ่ี หลดไดค ือ I = RThE+ThRL = ⎜⎝⎛ RThE+ThRL ⎞⎟⎠2 × RLและ PL = I2 ×RLดังนน้ั PL = ET2h × RL (RTh + RL)2

80ถา พจิ ารณาเปน ตวั อยางดังรปู ที่ 14.2 โดยกาํ หนดให ETh = 60 V และ RTh = 9 Ω RTh = 9 IL ETh 60V RL PL VLรปู ที่ 14.2 วงจรสมมลู เทวนิ ินใชเปนกรณีตวั อยา งตามทฤษฎีการถา ยโอนกาํ ลงั ไฟฟาสูงสดุดังน้ันท่ีกําลังไฟฟาสูงสุดนี้วงจรจะมีประสิทธิภาพเพียง 50 % เทานั้น ท่ีแหลงจายสามารถสงกําลัง-ไฟฟาไปยังโหลดไดและภายใตเ งือ่ นไข RL = RTh จะได IL = RThE+ThRL = 2ERTThh PL = I2× RL = ⎜⎛⎝ 2ERTThh ⎟⎠⎞2 × RTh = ET2h × RTh 4RT2hจะได 2 (W) (14.4) ETh P = 4RLMAX Thจากรูปท่ี 14.1 ข) เม่อื เปน วงจรสมมลู นอรต ัน จะได PLMAX = I2N × R N (W) (14.5) 414.2 การนําทฤษฎีการถา ยโอนกําลังไฟฟา สงู สดุ มาใชแ กปญหาวงจรไฟฟา จากรปู จงหาคา RL ขณะไดรับกาํ ลงั ไฟฟา สงู สดุ และกาํ ลงั ไฟฟา สงู สุดมคี า เทา ไรวิธที ํา จากสมการท่ี 14.2 คา RL ขณะไดร บั กาํ ลงั ไฟฟา สงู สดุ จะเทา กับ RN RL = 10 kΩ ตอบ จากสมการท่ี 14.5 หาคากาํ ลงั ไฟฟา สูงสดุ P =LMAX I2N × R N = (10)2 × 40 = 1W 4 4

81กจิ กรรมการเรยี นรู (สัปดาหท ่ี 17/18, คาบที่ 65–68/72) 1. ครขู านชื่อผูเรยี น เตรียมความพรอมกอนเขาเรียน 2. ครทู บทวนเนอ้ื หาโดยยอเรือ่ ง ทฤษฎีนอรต ัน 3. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนหนวยท่ี 14 4. ขั้น M ครนู าํ เขา สบู ทเรยี น และครแู จง จุดประสงคการเรยี น 5. ขนั้ I ครูสอนเน้อื หาสาระ 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอ เสนอแนะการทาํ งานกลมุ 7. ขั้น P นักเรียนทดลองตามใบงานที่ 14 เรื่อง ทฤษฎีการถายโอนกําลังไฟฟาสูงสุด ครูและนักเรียนรว มกนั เฉลยแบบฝกหดั ตามกลมุ และรวมอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครมู อบหมายการบา นและอา นทบทวนเนอื้ หา 9. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลังเรียนหนวยท่ี 14สอื่ และแหลง การเรยี นรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 14, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรียน 2. แหลงการเรียนรู หนังสือ วารสารเกย่ี วกบั ทฤษฎีการถายโอนกําลงั ไฟฟา สงู สุด, อินเทอรเ นต็www.google.comการวัดและการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใชเ ครือ่ งมอื ) (นาํ ผลเทียบกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอ นเรยี น (Pre–test) หนว ยท่ี 14 (ไวเ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรียน)2. แบบสงั เกตการทํางานกลมุ และนาํ เสนอผลงานกลมุ เกณฑผาน 60%3. แบบฝก หดั หนว ยท่ี 14 เกณฑผาน 50%4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว ยที่ 14 เกณฑผา น 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผาน 60%งานท่ีมอบหมาย 1. งานทีม่ อบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ใหท ําแบบฝก หดั ขอ ทเ่ี หลอื จากทาํ ในช้นั เรยี นใหเ รยี บรอ ยถูกตอ ง สมบูรณ 2. ทบทวนเนอ้ื หาเพอ่ื เตรยี มสอบทฤษฎี และปฏบิ ัติ ปลายภาคเรียน ในสัปดาหท่ี 18

82ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสําเร็จของผเู รียน 1. ผลการทําและนาํ เสนอแบบฝก หัดหนว ยท่ี 14 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานที่ 14 เรอ่ื งทฤษฎกี ารถา ยโอนกาํ ลงั ไฟฟาสูงสุด และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนวยที่ 14 และผา นเกณฑเอกสารอางองิ ธาํ รงศกั ดิ์ หมนิ กาหรีม. วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศนู ยหนังสือเมอื งไทย.บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ ผนการจัดการเรยี นรู................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปญ หาทพี่ บ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกปญหา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชือ่ ............................................... ลงชอื่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนกั เรียน ครูผูสอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook