รายงานการศึกษาคน้ คว้า เรื่อง กีฬาเซปกั ตะกรอ้ เสนอ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สาโรช สอาดเอ่ยี ม จัดทำโดย นางสาวศิริพร อมรใฝน่ กุ ลุ รหสั นกั ศึกษา 6410540131015 รายงานน้ีเป็นส่วนหนึง่ ของรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นควา้ รหสั GE4005 ภาคเรยี นท่ี 1/2566 สาขาการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา
ก คำนำ ราย งาน เล่ ม น้ี เป็ น ส่ วน ห นึ่ งข อ งราย วิ ช าเท ค โน โล ยี ส ารส น เท ศ เพื่ อก ารศึ ก ษ าค้ น ค ว้ า (GE4005) ผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเก่ียวกับกีฬาเซปักตะกร้อ เน้ือหาของรายงานกีฬาเซปัก ตะกร้อมีดังน้ี ประวัติตะกร้อในประเทศไทย ประวัติและความเป็นมาของกีฬาเซปักตะกรอ้ หลักการ อบอุ่นร่างกายและการผ่อนคลาย หลักการฝึกการเล่นเซปักตะกร้อระดับพื้นฐาน กติกาเซปักตะกร้อ ของสหพันธ์ เซปักตะกร้อนานาชาติ เป็นต้น จุดประสงค์จัดทำขึ้นเพ่ือเผยแพร่ความรู้ด้านการฝึกเล่น กีฬาเซปกั ตะกร้อให้มคี วามทนั สมยั ผู้สนใจสามารถนำมาอา่ นและใช้ในการฝกึ เลน่ กีฬาเซปกั ตะกรอ้ ได้ ผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาโรช สะอาดเอ่ียม อาจารย์ประจำวิชา ท่ีนำความรู้ มาสอนและเป็นแนวทางในการศึกษา และขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ผู้ท่ีคอยช่วยเหลือ และให้ กำลังใจจนรายงานเล่มน้ีสำเร็จในคร้ังน้ี และท้ายนี้หวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ให้ความรู้กับ ผู้อ่านไมม่ ากก็นอ้ ย ศริ พิ ร อมรใฝน่ ุกลุ 20 สงิ หาคม 2566
สารบญั ข เรอ่ื ง หน้า คำนำ สารบญั ก สารบญั (ตอ่ ) ข ประวตั ติ ะกร้อในประเทศไทย ค ประวัติและความเป็นมาของกีฬาเซปกั ตะกรอ้ 1 หลักการอบอุ่นร่างกายและการผ่อนคลาย 2 หลักการฝึกการเล่นเซปักตะกร้อระดบั พน้ื ฐาน 3 4 ขน้ั ตอนท่ี 1 การโยน 5 ขั้นตอนท่ี 2 การเสริ ฟ์ 5 ข้ันตอนที่ 3 การรับลกู เสริ ์ฟ 6 ขัน้ ตอนที่ 4 การตั้งหรอื การชงลกู ตะกรอ้ 7 ขน้ั ตอนท่ี 5 การรุก 7 ขนั้ ตอนท่ี 6 การสกดั ก้ัน 8 ขัน้ ตอนท่ี 7 การรับลกู ทีเ่ กิดข้ึนจากการสกดั กั้น 9 ขั้นตอนที่ 8 การตั้งรบั 9 กตกิ าเซปักตะกร้อของสหพันธ์ เซปกั ตะกร้อนานาชาติ 10 ขอ้ 1 สนามแข่งขัน 10 ข้อ 2 เสา 11 ข้อ 3 ตาขา่ ย 11 ขอ้ 4 ลูกตะกรอ้ 12 ข้อ 5 ผ้เู ลน่ 13 ขอ้ ท่ี 6 เคร่ืองแต่งกายของผเู้ ลน่ 13
สารบญั (ต่อ) ค ขอ้ ที่ 7 การเปลีย่ นตวั ผู้เลน่ ขอ้ 8 การเสีย่ งและการอบอุ่นรา่ งกาย 14 ขอ้ 9 ตำแหน่งผู้เลน่ ในระหว่างการเสิรฟ์ 15 ขอ้ 10 การเริ่มเล่นและการเสริ ฟ์ 15 ข้อ 11 การผดิ กติกา 15 ขอ้ 12 การนบั คะแนน 16 ขอ้ 13 การขอเวลานอก 17 ข้อ 14 การหยดุ การแข่งขันช่ัวคราว 18 ข้อ 15 วินยั 18 ข้อ 16 การลงโทษ 18 ข้อ 17 ความผดิ ของเจ้าหนา้ ท่ีทีม 19 ขอ้ 18 บทท่วั ไป 20 บรรณานุกรม 20
1 ประวตั ิตะกร้อในประเทศไทย ในสมัยโบราณนั้น ประเทศไทยมีกฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระทำความผิด โดยการ นำเอานักโทษใส่ลงไปในสิ่งกลมๆ ท่ีสานดว้ ยหวายให้ชา้ งเตะ แต่ส่ิงท่ีช่วยสนับสนุนประวัติของตะกร้อ ได้ดี คือ ในพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของรัชกาลที่ 2 ในเร่ืองมีบางตอนท่ีกล่าวถึงการเล่นตะกร้อ และท่ีระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซ่ึงเขียนเรื่องรามเกียรติ์ ก็มีภาพการเล่นตะกร้อ แสดงไวใ้ หอ้ นชุ นรนุ่ หลังได้รบั รู้ โดยภูมิศาสตร์ของไทยเองก็ส่งเสริมสนับสนุนให้ได้ทราบประวัติของตะกร้อ คือประเทศไทน น้ันอุดมไปด้วยไม้ไผ่ หวาย คนไทยนิยมนำเอาหวายมาสานเป็นสิ่งของเคร่ืองใช้ รวมถึงการละเล่น พื้นบ้านด้วย ประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทยก็มีหลายประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อลอด หว่ ง ตะกร้อชงิ ธงและการแสดงตะกร้อพลกิ แพลงตา่ งๆ ซง่ึ การเล่นตะกรอ้ ของประเทศอืน่ ๆ นัน้ มีการ เล่นไมห่ ลายแบบหลายวธิ ีเช่นของไทย การเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเน่ืองมาตามลำดับท้ังด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการทำ จากสมยั แรกเป็นผา้ , หนงั สตั ว์, หวาย, จนถึงประเภทสงั เคราะห์ (พลาสตกิ ) ความหมาย คำว่าตะกร้อ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ ว่า \"ลกู กลมสานดว้ ยหวายเปน็ ตา สำหรับเตะ\" วิวัฒนาการการเลน่ การเล่นตะกร้อได้มีวิวัฒนาการในการเล่นมาอย่างต่อเนื่อง ในสมัยแรก ๆ ก็เป็นเพียงการ ช่วยกันเตะลูกไม่ให้ตกถึงพื้น ต่อมาเมื่อเกิดความชำนาญและหลีกหนีความจำเจ ก็คงมีการเร่ิมเล่น ด้วยศีรษะ เข่า ศอก ไหล่ มีการจัดเพ่ิมท่าให้ยากและสวยงามขึ้นตามลำดับ จากนั้นก็ตกลงวางกติกา การเลน่ โดยเอือ้ อำนวยต่อผู้เลน่ เปน็ ส่วนรวม อาจแตกต่างไปตามสภาพภมู ิประเทศของแตล่ ะพื้นท่ี แต่ คงมีความใกลเ้ คยี งกนั มากพอสมควร ตะกร้อนัน้ มีการเลน่ ที่มากมายหลายประเภท เชน่ - ตะกร้อขา้ มตาข่าย - ตะกร้อลอดบว่ ง - ตะกร้อพลิกแพลง เป็นต้น เม่ือมีการวางกติกาและท่าทางในการเล่นอย่างลงตัวแล้วก็เร่ิมมีการแข่งขันกันเกิดข้ึนใน ประเทศไทย
2 ประวัติและความเปน็ มาของกีฬาเซปักตะกร้อ ความเป็นมาของกีฬาเซปักตะกร้อ ไม่ค่อยมีคนสนใจบันทึกประวัติความเป็นมา จึงไม่ค่อยจะ มีคนทราบและรู้เร่ืองได้ดี นอกจากคำว่า “ตะกร้อ” ซึ่งคุ้นเคยกับคนไทยมากกว่า เช่น กีฬาตะกร้อ ข้ามตาข่าย กีฬาตะกร้อลอดห่วง และกีฬาตะกร้อเตะทนวงเล็กและวงใหญ่ เพ่ือให้ผู้สนใจท่ีจะศึกษา ทราบถึงความเป็นมาของกีฬาชนิดนี้ อาจารย์บุญยัง ทะนง เป็นบุคคลหน่ึง ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์การ แข่งขันเพื่อแลกเปลี่ยนศิลปะและวัฒนธรรมระหว่างไทยกับมาเลเซีย ในปี พ.ศ. 2508 ณ ท้อง สนามหลวง ประเทศไทยและมาเลเซียได้จัดการแข่งขันกีฬาตะกร้อของท้ัง 2 ประเทศ เพื่อ แลกเปล่ียนศิลปวัฒนธรรมซ่ึงกันและกัน ซึ่งการแข่งขันในครั้งน้ัน นักกีฬาทีมชาติไทยมีความถนัดใน การเล่นกีฬาตะกร้อแบบกติกาของมาเลเซีย (Sepak Raga) คณะกรรมการจัดการแข่งขัน จึงได้ กำหนดข้อตกลงในการแข่งขันโดยให้แข่งขันท้ัง 2 แบบ ผลการแข่งขันกีฬาตะกร้อแบบกติกาไทย ปรากฏว่านักกีฬาทีมชาติไทยชนะทีมชาติมาเลเซีย 2 เซ็ตรวด ส่วนการแข่งขันแบบกติกามาเลเซีย ปรากฏว่านักกีฬาทีมชาติไทยแพ้นักกีฬาทีมชาติมาเลเซีย 2 เซ็ตรวดเช่นเดียวกัน จากการจัดการ แข่งขันในครั้งนน้ั ณ ท้องสนามหลวง ซึ่งเป็นสนามแข่งขันโดยการสร้างขึ้นเป็นอัฒจันทร์ชั่วคราว ได้มี ประชาชนผู้สนใจเขา้ ชมกันอย่างมาก เนื่องจากเข้าใจวา่ โลกนี้คงจะมีทมี ชาติที่เล่นตะกร้ออยู่เพียงชาติ เดียว คือ ประเทศไทย จึงเป็นสิง่ ทแี่ ปลกประหลาดเป็นอย่างยิง่ จึงทำใหภ้ ายในสนามในวันนั้นอัดแน่น ไปด้วยผู้ท่ีอยากรู้จนทำให้สนามชั่วคราวพังลงมา ภายหลังการแข่งขันในครั้งน้ัน คณะผู้ประสานงาน กีฬาตะกร้อทั้ง 2 ประเทศ ได้มีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือในการเผยแพร่กีฬาชนิดนี้ให้กว้างขวาง เป็นที่นิยมต่อนานาอารยประเทศ ในหมู่ประเทศคาบสมุทรอินโดจีนหรือคาบสมุทรแหลมทอง จึงได้ ตกลงร่วมกันกำหนดชื่อกีฬาน้ีใหม่ ซ่ึงทั้ง 2 ประเทศ ใช้ชื่อไม่เหมือนกัน ประเทศไทยใช้ช่ือว่า “กีฬา ตะกร้อ” ส่วนประเทศมาเลเซีย ใช้ช่ือว่า “Sepak Raga” อ่านว่า ซีปัก ราก้า ซ่ึงคำว่า Raga นั้น แปลว่าตะกร้อ นั่นเอง คณะกรรมการประสานงานหรือสมาคมกีฬาของทั้ง 2 ประเทศ จึงได้นำเอาคำ ว่า “Sepak” ของประเทศมาเลเซียมาบวกกับคำว่า “ตะกร้อ” ของประเทศไทย รวมเป็นคำว่า “Sepak + ตะกร้อ” จนกระท่ังเป็นชื่อเรียกกีฬาชนิดนี้ว่า “Sepak-Takraw” หรือเซปักตะกร้อมา ตราบเท่าทุกวันน้ี และคณะกรรมการประสานงานทั้ง 2 ประเทศ จึงได้ช่วยกันผลักดันให้กีฬา “Sepak-Takraw” บรรจุเข้าในการแข่งขันแหลมทอง หรือกีฬา Seap Games ครั้งที่ 3 ปี พ.ศ. 2508 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันท่ี 14-21 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ซ่ึงได้ เปลี่ยนมาเป็นกีฬา Sea Games หรือกีฬาซีเกมสใ์ นปัจจบุ ัน
3 หลักการอบอุ่นร่างกายและการผอ่ นคลาย - เพ่อื กระตุ้นระบบการเผาผลาญอาหารในร่างกายสำหรบั ความพร้อมทจ่ี ะหล่ังสารพลงั งาน - เพื่อกระตุน้ การไหลเวียนโลหิตของรา่ งกาย - เพอื่ ลดระยะเวลาการหดตัวและการตอบสนองของกลา้ มเน้ือ วิธีการอบอนุ่ ร่างกาย ควรมกี จิ กรรมดังน้ี - การยดื กล้ามเนื้อ (Stretching Exercise) - การเพ่มิ มมุ การเคลื่อนไหวของข้อตอ่ ให้พร้อมที่ฝึกหัดต่อไป - เพ่ือป้องกันการบาดเจ็บชองกลา้ มเน้ือ - เพื่อพัฒนาความแขง็ แรงเอน็ ยดึ ขอ้ ต่างๆ เอ็นขอ้ ตอ่ ท่ีคอ ไหล่ เขา่ ขอ้ เท้า ข้อศอก การฝกึ ดว้ ยทักษะกฬี าชนิดนนั้ ๆ กีฬาชนิดใดก็จะใช้การฝึกทักษะกีฬาชนิดนั้นๆ เป็นแบบฝึกต่อจากการยึดกล้ามเน้ือและการ กายบรหิ ารเพอ่ื เตรียมความพร้อมระหวา่ งกล้ามเนอ้ื ตา่ งๆ กบั การส่งั การด้วยสายตา เชน่ การรับ-สง่ การอบอุ่นรา่ งกายโดยทว่ั ไปประกอบด้วย - การว่งิ เหยาะๆ การบริหารกลา้ มเนือ้ ด้วยการยดื (Strech) - มีระยะเวลาความเข้มให้พอเหมาะ โดยไม่เกิดความเมื่อยล้า เม่ือเหงื่อเริ่มออกแสดงว่า อุณหภูมใิ นร่างกายถึงจดุ เหมาะสมแลว้ อย่างไรก็ตามการอบอนุ่ ร่างกายสำหรบั นกั กีฬาตะกรอ้ ควรเริ่มจากการวง่ิ ช้าๆ การบรหิ ารกาย ต่อจากนั้นจึงเป็นไปในท่าเฉพาะอย่าง เพื่อเตรียมพร้อมร่างกายไว้แข่งขันใช้เวลาไม่ควรเกิน 20-30 นาที มากไปจะเป็นการใช้พลังงานมากไป ควรเก็บไว้ใช้ขณะแข่งขันจริง คำว่า “เหมาะสมหรือ พอเหมาะ” จะเปล่ยี นไปแตล่ ะบุคคลและสภาพอากาศ ภาพประกอบการอบอุ่นรา่ งกาย
4 ภาพประกอบการอบอนุ่ ร่างกาย(1) หลักการฝกึ การเลน่ เซปักตะกร้อระดบั พน้ื ฐาน 8 ข้ันตอนท่ีสำคัญในการนำไปสู่การเล่นเกมเซปักตะกร้อนั้น ถือว่าเป็นขบวนการต่อเน่ือง หรือองค์ประกอบท่ีสำคัญของการเล่นหรือการแข่งขัน ในแต่ละขั้นตอนจะมีความสำคัญท่ีแตกต่างกัน แตจ่ ะมีความต่อเนอื่ งและสมั พนั ธ์กนั ต้ังแต่เร่ิมต้นในข้นั ตอนท่ี 1 จนส้ินสุดในขัน้ ตอนที่ 8 การเรียนรู้ เกมเซปักตะกร้อไม่ควรมองข้ามหรือละเลยความสำคัญในขั้นตอนใดข้ันตอนหน่ึง เพราะจะทำให้เกิด ช่องว่างหรือปัญหาในการแก้ไขปรับปรุง และขาดความเชื่อม่ันในตนเอง โดยเฉพาะขาดความเข้าใจใน การนำผลไปเชื่อมโยงกบั ขน้ั ตอนอ่ืนๆ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ขบวนการทง้ั 8 ขัน้ ตอน ในการนำไปสกู่ ารเลน่ เกมเซปักตะกร้อ มีดงั น้ี 1. การโยน 2. การเสิร์ฟ 3. การรับลูกเสิร์ฟ 4. การต้งั หรือการชงลกู ตะกรอ้ 5. การรุก 6. การสกดั กนั้ 7. การรบั ลกู ที่เกิดขึน้ จากการสกัดก้นั 8. การตง้ั รับ ขบวนการทั้งหมดดังกล่าว ผู้เล่นจำเป็นต้องศึกษาและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้องสามารถ นำไปฝึกฝนปฏิบัติให้เกิดทักษะ ไม่ควรมองข้ามหรือละเลยในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งจะต้องให้ความ สำคญั และสร้างความเขา้ ใจศึกษารายละเอียดทุกขนั้ ตอนดงั น้ี
5 ขั้นตอนท่ี 1 การโยน ลักษณะของการโยน ผู้โยนจะต้องมีทักษะท่ีดีพอ โดยต้องโยนให้พอดีมีความสัมพันธ์กับ จังหวะของการเสิร์ฟ ซึ่งจะส่งผลให้การเสิร์ฟมีประสิทธิภาพ ถือเป็นข้ันตอนที่มีความสำคัญเป็นอย่าง ย่ิงหรอื อาจจะไมม่ คี วามสำคัญเลยก็ได้ ถ้าหากเกิดความผิดพลาดในการโยน เนื่องจากคะแนนท่ไี ด้จาก การเสิรฟ์ ถือไดว้ า่ มีผลมาจากคุณภาพของการโยนเป็นสำคัญ วธิ ีการฝกึ การโยนลูกตะกรอ้ ใหผ้ ู้เสิรฟ์ การวางเท้าอยู่ในเส้ยี ววงกลมท้ังสองเท้า ให้วางเท้าหลกั (เทา้ ขา้ งทีถ่ นัด) อยดู่ ้านหนา้ เท้ารอง (เท้าขา้ งที่ไม่ถนัด) อยดู่ า้ นหลัง หนั ปลายเท้าช้ีไปทางดา้ นผู้เสิรฟ์ วางลูกตะกร้อไวบ้ นฝา่ มือขา้ งท่ถี นัด ประคองลกู ตะกร้อไวใ้ นอ้งุ มือ ไม่กำลูกตะกรอ้ แนน่ มาก ยกแขนชลู กู ตะกร้อขนึ้ สงู สายตาคาดคะเนลูก ตะกร้อใหต้ รงเป้าหมาย (ต้องทำความเข้าใจกบั ผเู้ สิร์ฟด้วยวา่ ผเู้ สิร์ฟชอบการโยนแบบลูกตะกร้อพงุ่ รวดเรว็ ลูกสูงย้อย ลูกใกล้ตัวหรอื ลกู ไกลตัว) ยอ่ เขา่ ทัง้ สองข้างลง ลดแขนขา้ งท่ีถือลูกตะกร้อลงด้วย เม่ือไดจ้ งั หวะทดี่ ีพร้อมยืดเข่า ลำตวั ขึ้นอีกครงั้ หนง่ึ ปลอ่ ยลูกตะกร้อใหห้ ลดุ ออกจากมือในลักษณะลกู ตะกร้อหมุนกล้ิงรอบตวั ไปดา้ นหน่งึ เพือ่ ไปส่ทู ศิ ทางและเป้าหมายทต่ี ้องการ ข้นั ตอนท่ี 2 การเสิรฟ์ การเสริ ฟ์ หมายถงึ การส่งลกู ตะกร้อด้วยขา้ งเท้าด้านในได้กำหนดไว้ การเสริ ์ฟเปน็ ขั้นตอน ท่ีต่อเนื่องจากการโยน บางคร้ังเรียกว่าการเสิร์ฟว่าเป็นลักษณะของการรุกอย่างหน่ึง คือรุกด้วยการ เสิร์ฟ การเสิร์ฟท่ีมีประสิทธิภาพสูง มีความแน่นอนแม่นยำย่อมมีผลตอบแทนที่มีค่าสูงอย่างย่ิง คือ การได้รับคะแนนถือว่าเป็นคะแนนที่มีความโชคดีที่ผู้เล่นไม่ต้องออกแรงกันทั้งทีม อย่าลืมว่าเกมการ แข่งขันเซปักตะกร้อน้ัน มีคะแนนสำหรับผู้ชนะดังนี้ เซ็ตที่ 1 21 คะแนน (ดิวส์คู่ไม่เกิน25 คะแนน) เซ็ตที่ 2 21 คะแนน (ดิวส์คู่ไม่เกิน 25 คะแนน) เซ็ตท่ี 3 15 คะแนน (ดิวส์คู่ไม่เกิน17 คะแนน) หากครึ่งหนึ่งของคะแนนในแต่ละเกมได้มาจากการเสิร์ฟ ก็จะทำให้เป็นผู้ชนะในเกมการแข่งขันได้ โดยไม่ยาก
6 วิธีการฝกึ การเสริ ์ฟเบอื้ งต้น วางเท้าหลักข้างทไ่ี มเ่ สิร์ฟอยู่ภายในวงกลม หันปลายเท้าช้ีไปทางด้านผู้โยน เท้าขา้ งท่ีจะเสิร์ฟ วางไว้ที่ดา้ นหลัง ยกแขนข้างใดข้างหนึ่งชข้ี ้ึน เพ่ือบอกระดับความต้องการ เมื่อลูกตะกร้อถูกโยนมาให้ ถอยเท้าข้างท่ีจะเสิร์ฟไปทางด้านหลัง 1 ก้าว เพ่ือหาจังหวะส่งแรง พร้อมกับยกเท้าข้ึนสูงเป็นรูปวง สวิงสัมผสั ลกู ตะกร้อ พร้อมกบั ออกแรงโน้นลำตวั ไปทางด้านหน้า ส่งลูกตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ยโดยเทา้ หลัก ไมห่ ลุดออกจากวงกลม ขน้ั ตอนที่ 3 การรับลกู เสิรฟ์ การรับลูกเสิร์ฟเป็นข้ันตอนที่สำคัญเป็นอย่างย่ิง การรับลูกเสิร์ฟหรือการเปิดลูกเสิร์ฟ หมายถึง การเล่นลูกตะกร้อคร้ังที่ 1 จากการเสิร์ฟของคู่แข่งขัน โดยใช้อวัยวะส่วนใดส่วนหน่ึงของ รา่ งกาย ได้แก่ ศีรษะ เข่า หลังเทา้ ข้างเท้าด้านในและอวัยวะสว่ นอื่นๆท่ไี ม่ผดิ กติการับลูก หากรับเสีย จะทำให้เสียคะแนน หรือหากคุณภาพในการรับไม่ดี จะทำให้การสรา้ งขบวนการรุกไม่ดีไปด้วย หรือ ทำให้ประสิทธิภาพการโต้ตอบกลับไม่ดี ดังน้ัน การรับลูกเสริ ์ฟครงั้ แรกจะตอ้ งทำใหเ้ ป็นลูกดเี สมอ (ซึ่ง ก็เป็นการยากหากผู้เล่นได้พบกับลูกเสิร์ฟที่มีความรุนแรง) เพื่อส่งผลให้การเล่นลูกตะกร้อคร้ังที่ 2 มี ความสมบรู ณห์ รอื ง่ายต่อการเลน่ วิธีการฝึกรับลกู เสิรฟ์ เบ้ืองต้น ให้ผ้ฝู ึกสงั เกตวิถที างของลกู เสิร์ฟซ่ึงมีอยู่ 4 ระดบั ดังนี้ 1. ระดับสงู ใชศ้ รี ษะรับ สว่ นมากจะเปน็ ผเู้ ล่นคู่หน้าเพราะยนื อย่ใู กล้ชิดตาข่าย 2. ระดบั กลางพุ่งเขา้ หาลำตวั ใช้เข่ารับ 3. ระดับตำ่ ถึงตวั ผเู้ ลน่ ใชข้ า้ งเทา้ ดา้ นในท้ังเท้าซ้ายและเทา้ ขวา 4. ระดบั ตำ่ ไม่ถงึ ตวั ผ้เู ลน่ ใช้หลงั เท้าเคลอ่ื นท่ีไปรบั ข้างหน้า
7 ขั้นตอนท่ี 4 การตั้งหรือการชงลูกตะกรอ้ การต้ังหรือการชงลกู ตะกรอ้ หมายถึง การเล่นลกู ตะกรอ้ ครัง้ ท2ี่ หรอื อาจจะเป็นครัง้ ท่ี1 ก็ได้ (ในกรณีทีล่ ูกเสิรฟ์ หรือลูกอ่ืนๆ ท่ขี ้ามตาข่ายมาในลักษณะเบาไม่รุนแรง ซึ่งงา่ ยตอ่ การเล่น แต่วนมาก จะเป็นการเล่นลูกครั้งท่ี2 โดยใช้ทักษะข้างเท้าด้านในและศีรษะเท่าน้ันในการต้ังลูกตะกร้อ หรือ อาจจะใช้ได้ในบางโอกาสก็ได้ในที่ไม่ผิดกติกา แต่ไม่ค่อยใช้หรอื อาจใช้ได้ในบางโอกาส เช่น การใชเ้ ข่า ข้างเทา้ ด้านนอกและหลงั เท้า แต่จะไมม่ ีความแน่นอนและแม่นยำในทิศทางการตง้ั ลูกจะดหี รือไม่ ส่วน หน่ึงจะเกิดจากการรับลูกตะกร้อคร้งั แรก จะเปน็ การเล่นด้วยตัวเองหรือคนอ่ืนเล่นก็ตาม หากครง้ั แรก เลน่ ผดิ พลาดมากแล้ว ครงั้ ที่ 2 ก็ไดร้ บั เพยี งการแก้ไข หรืออาจจะแก้ไข้ไมไ่ ด้เลย วธิ ีการฝกึ การตง้ั ลกู ตะกร้อเบอ้ื งต้น ให้ผู้เล่นตำแหน่งรุก และตำแหน่งต้ังไปยืนคู่กันระยะห่างคนละด้านของตาข่าย ผู้ฝึกสอน ขว้างลูกตะกร้อ 4 ระดับ (วิถีทางของลูกเสิร์ฟมี 4 ระดับ จากขั้นตอนที่ 3) ใส่ผู้เล่นตำแหน่งรุก โดย ให้เปดิ ลูกไปตามจุดต่างๆ แลว้ ให้ผู้เล่นตำแหน่งต้ังเคล่ือนท่ีติดตามลูกตะกร้อให้ทัน พร้อมกับตั้งลูกไป ให้ผู้เลน่ ตำแหนง่ รุกทเี่ คล่ือนตวั เข้าไปเตรียมพรอ้ มทจี่ ะรกุ โดยยืนหนั หลังให้ตาขา่ ย ขน้ั ตอนที่ 5 การรุก การรุก หมายถึง การเล่นตะกร้อ คร้ังที่ 1, 2 หรือ 3 ก็ได้หากมีโอกาสหรอื สร้างโอกาสได้เอง หรือแล้ว แต่สถานการณ์ของเกมการเล่นด้วยการรุกในท่าต่างๆ ที่ตนเองถนัด ส่วนมากจะมีท่าการรุก ที่ถนัดเป็นหลักในการรุกอยู่แล้ว ส่วนท่ารุกอย่างอื่นจะเป็นท่ารุกสำรอง แล้วแต่โอกาสท่ีจะนำออกมา ใช้ เช่น การรุกโดยการกระโดดลอยตวั กลางอากาศ การกระโดดสลบั เท้าดา้ นหลังการกระโดดใช้ศีรษะ กดลูกตะกรอ้ ลง การกระโดดเหยียบด้วยฝ่าเท้า การกระโดดปาดดา้ นข้างด้วยฝา่ เท้า เปน็ ต้น ประสทิ ธิภาพของการรุกจะดีหรือไม่ ย่อมขน้ึ อยูด่ บั ขบวนการที่ใกลช้ ิดทสี่ ุด คือ การต้ังลูกหรือ อีกความหมายหนึ่ง “การต้ังลูกดีจะมีผลทำให้การรุกมีประสิทธิภาพดีด้วย” ซึ่งข้อความดังกล่าวเป็น เพียงเหตุผลหนึ่งเท่านั้น เหตุผลที่สำคัญคือจะต้องมีการฝึกฝนปฏิบัติพัฒนาขีดความสามารถเฉพาะ
8 ตำแหน่งในการเล่นของตนเองให้ดีด้วย เพื่อจะได้ส่งผลหรือเอื้อประโยชน์ต่อกันในการแก้ไขปรับปรุง ให้ประสิทธิภาพในการรกุ ดีขนึ้ ขนั้ ตอนการรุกถือว่าเป็นข้ันตอนท่ีมีความสำคัญมาก เพราะถือว่าโอกาสท่ีจะมาถึงในขั้นตอน น้ีจะต้องผ่านขบวนการรับลูกเสิร์ฟ และตั้งลูกมาก่อน ถือว่าเป็นข้ันตอนสุดท้ายที่ผู้เล่นที่มีความม่ันใจ ในตนเองสูง มีช้ันเชิงกลยุทธ์ มีเทคนิค มีแทคติก และมีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ซ่ึงการรุกที่ ได้ผลดกี ็หมายถึงมสี ิทธิในการเสิรฟ์ ลูกใหม่และได้คะแนน ขัน้ ตอนที่ 6 การสกดั กนั้ การสกัดก้ันหรือการบล๊อก หมายถึง การต้ังรับท่ีเกิดข้ึนภายหลังจากการรุก ซ่ึงเป็นการรุกที่ รุนแรงและรวดเร็ว ยากแก่การต้ังรับแบบธรรมดา จึงเกิดแนวคิดหาวิธีสกัดก้ันท่ีมีประสิทธิภาพเช่น การใชข้ า ลำตัว หลัง และศีรษะ การสกดั กัน้ มี 3 แบบ คือ 1. การสกัดกนั้ ด้วยขาและลำตัว 2. การสกดั กั้นด้วยศีรษะ 3. การสกดั ก้ันด้วยแผ่นหลงั ตรงและเอยี งข้าง การสกัดก้ัน คือ การนำเอาอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย ยกเว้นส่วนที่เป็นแขน (ตั้งแต่หัวไหล่ลงไป จนถึงปลายนิ้วมือ) ขึ้นสกัดก้ันการรกุ ของคู่แข่งเหนือตาข่าย การสกัดก้นั เปรียบเหมือนการตั้งรับอย่าง หนึ่ง แต่เป็นการตั้งรับเฉพาะการรุกที่รุกแรงเท่าน้ัน การสกัดกน้ั ท่ีได้ผลดีนั้นต้องคำนึงถึงจังหวะของผู้ สกัดก้ันกับจังหวะของผู้รุกให้มีความสัมพันธ์กัน โดยการกะระยะให้พอดีพร้อมกับจัดระเบียบส่วน ต่างๆ ของร่างกายให้รัดกุมและไม่เสียการทรงตัว การสกัดกน้ั เป็นการสร้างความกดดันให้เกิดขึ้นกับคู่ แข่งขนั หากสามารถทำไดผ้ ลติดต่อกันหลายๆ คร้ัง
9 วธิ ีการฝึกการสกัดกน้ั ระดบั เบื้องตน้ 1. หากผู้เล่นถนัดขวา ให้ฝึกการกระโดดเตะเท้าขวาข้ึนสูงติดต่อกัน โดยใช้เท้าซ้ายเป็นเท้า หลักในการยกน้ำหนักตัวเอง เป็นการฝึกสปริงข้อเท้า โดยทำเป็นยกๆ ละ 20 คร้ัง พัก 1 นาที จำนวน 5 ยก 2. ให้ผู้เล่นฝึกกระโดดเลียบตาข่ายในระดับต่ำพร้อมกับการจัดระเบียบของร่างกายให้รัดกุม ถกู ต้องและไม่เสยี การทรงตวั ข้ันตอนที่ 7 การรบั ลูกท่เี กิดขึน้ จากการสกดั กนั้ การรับลูกท่ีเกดิ ขึ้นจากการสกัดกนั้ หมายถึง การตั้งรับลูกตะกร้อ ซ่ึงเป็นผลท่ีเกิดขึ้นจากการ สกัดกั้นที่ได้ผล คือ การกระดอนกลับของลูกตะกร้อที่จะต้องตกลงในเขตของฝ่ายรุก ดังนั้นฝ่ายที่มี หน้าที่ท่ีจะรับลูกที่เกิดจากการสกัดกั้นก็คือ ผู้เล่นท่ีเหลือ 2 คนของฝ่ายรุกนั้นเอง ต้องติดตามรับลูก ตะกรอ้ ไม่ว่าจะตกในส่วนใดของสนาม โดยต้องแบง่ หน้าท่ใี นการรับออกเปน็ 2 สว่ น คือ 1. บรเิ วณใกล้ตาขา่ ย 2. บรเิ วณไกลตาขา่ ย ขนั้ ตอนท่ี 8 การตัง้ รับ การตั้งรับ หมายถึง การวางแผนในการตั้งรับลูกตะกร้อ จากเกมการรุกของคู่แข่งขันซ่ึง อาจจะเป็นการรุกที่รุนแรงหรือรุนแรงปานกลางในเขตการรุกระยะไกลจากตาข่าย โดยไม่มีการสกัด ก้ัน จะต้องวาง แผนการตั้งรับจากจุดต่างๆ ท่ีฝ่ายรุกโต้ตอบกลับมา ผลตอบแทนท่ีได้รับในข้ันตอนนี้ คือ 1. เม่ือเป็นฝา่ ยเสิร์ฟ หากสามารถรบั ได้จะกลับเปน็ ฝ่ายรกุ ตอบ ถา้ การรกุ ไดผ้ ลสงิ่ ทีไ่ ด้รบั คอื คะแนน
10 2. เม่ือเป็นฝ่ายรับ หากสามารถรับได้และรุกตอบได้ผล ส่ิงที่ได้รับคือกลับมามีสิทธ์ิในการ เสริ ฟ์ และไดค้ ะแนน กตกิ าเซปักตะกรอ้ ของสหพนั ธ์ เซปักตะกร้อนานาชาติ ขอ้ 1 สนามแขง่ ขัน 1.1 สนาม พื้นท่ีของสนามมีความยาว 13.40 เมตร และกว้าง 6.10 เมตร จะต้องไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ วัดจากพน้ื สนามสูงขึ้นไป 8 เมตร ( พื้นสนามไม่ควรเป็นหญ้าหรือ สนามทราย)
11 1.2 เส้นสนาม ขนาดของเสน้ สนามทุกเส้นท่ีเป็นขอบเขตของสนามต้องไมก่ วา้ งกว่า 4 เซนติเมตร ให้ตีเส้นจากขอบนอกเข้ามาในสนาม และถือเป็นส่วนหนึ่งของพื้นท่ีสนามแข่ง ขนั ดว้ ยเสน้ เขตสนามทุกเส้นต้องห่างจากส่งิ กดี ขวางอย่างน้อย 3 เมตร 1.3 เสน้ กลาง มขี นาดความกวา้ งของเส้น 2 เซนตเิ มตร โดยจะแบง่ พืน้ ทขี่ องสนาม ออกเปน็ ด้านซา้ ยและขวาเท่าๆ กนั 1.4 เส้นเสี้ยววงกลม ท่ีมุมสนามของแต่ละด้านตรงเส้นกลาง ให้จุดศูนย์กลางอยู่ท่ี ก่งึ กลางของเส้นกลางตดั กับเส้นขอบนอกของเส้นข้าง เขียนเสน้ เส้ียววงกลมทั้งสองด้าน รัศมี 90 เซนตเิ มตร ใหต้ ีเส้นขนาดความกว้าง 4 เซนตเิ มตร นอกเขตรัศมี 90 เซนติเมตร 1.5 วงกลมเสิร์ฟ ให้มีรัศมี 30 เซนติเมตร โดยวัดจากขอบด้านนอกของเส้นหลัง เข้าไปในสนามยาว 2.45 เมตร และวัดจากเส้นข้างเข้าไปในสนามยาว 3.05 เมตร ให้ตรง จุดตัดจากเส้นหลังและเส้นข้างเป็นจุดศูนย์กลาง ให้เขียนเส้นวงกลมขนาดความกว้าง 4 เซนติเมตร นอกเขตรศั มี 30 เซนตเิ มตร ขอ้ 2 เสา 2.1 เสามีความสูง 1.55 เมตร สำหรับผู้ชาย และ 1.45 เมตร สำหรับผู้หญิง เสา ให้ต้ังอยู่อย่างมั่นคงพอที่จะทำให้ตาข่ายตึงได้ โดยเสาจะต้องทำจากวัตถุที่มีความแข็งแกร่ง และรัศมีไมเ่ กนิ 4 เซนตเิ มตร 2.2 ตำแหน่งของเสา ให้ตัง้ หรอื วางไวอ้ ยา่ งมนั่ คงนอกสนามตรงกับแนวเสน้ กลาง หา่ งจากเส้นข้าง 30 เซนตเิ มตร ข้อ 3 ตาข่าย 3.1 ตาข่ายให้ทำด้วยเชือกอย่างดีหรือไนล่อน มีรูตาข่ายกว้าง 6-8 เซนติเมตร มี ความกว้างของผืนตาข่าย 70 เซนติเมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 6.10 เมตร ให้มีวัสดุที่ ทำเป็นแถบ ขนาดความกว้าง 5 เซนติเมตร ตรงด้านข้างของตาข่ายท้ังสองด้านจากบนถึง ล่างตรงกับแนวเส้นข้าง ซ่ึงเรยี กว่า “แถบแสดงเขตสนาม”
12 3.2 ตาข่ายให้มีแถบหุ้ม ขนาดกว้าง 5 เซนติเมตร ทั้งด้านบนและด้านล่าง โดยมี ลวดหรือเชอื กไนล่อนอย่างดรี ้อยผ่านแถบ และตึงตาขา่ ยให้ตึงเสมอระดับหัวเสา ความสูงของ ตาข่ายวัดจากพ้ืนถึงส่วนบนของตาข่ายท่ีกึ่งกลางสนามมีความสูง 1.52 เมตร สำหรับผู้ชาย และ 1.45 เมตร สำหรับผหู้ ญิง ข้อ 4 ลกู ตะกรอ้ 4.1 ลูกตะกร้อกอ่ นหน้านี้ทำมาจากหวาย ต้องมลี กั ษณะลกู ทรงกลม ในปจั จบุ ันทำ ดว้ ยใยสังเคราะห์ถักสานชนั้ เดยี ว 4.2 ลกู ตะกรอ้ ที่ไม่ไดเ้ คลือบดว้ ยยางสังเคราะห์ ต้องมีลักษณะดงั นี้ 4.2.1 มี 12 รู 4.2.2 มีจุดตดั ไขว้ 20 จุด 4.2.3 มขี นาดเส้นรอบวง 41-43 เซนติเมตร สำหรับผชู้ าย และ 42-44 เซนติเมตร สำหรบั ผ้หู ญงิ 4.2.4 มีนำ้ หนกั 170-180 กรัม สำหรับผชู้ าย และ 150-160 กรมั สำหรบั ผู้หญิง 4.3 ลูกตะกรอ้ อาจมีสเี ดียวหรอื หลายสี หรอื ใช้สสี ะท้อนแสงกไ็ ด้ แตจ่ ะต้องไม่เปน็ สี ท่ีเป็นอุปสรรคต่อผ้เู ล่น (ลดความสามารถของผเู้ ล่น) 4.4 ลูกตะกร้ออาจทำด้วยยางสังเคราะห์หรือเคลือบด้วยวัสดุนุ่มที่มีความคงทน เพ่อื ให้มีความออ่ นนุ่มต่อการกระทบกบั ผู้เล่น ลักษณะของวสั ดุและวิธีการผลิตลกู ตะกร้อหรือ การเคลือบลูกตะกร้อด้วยยาง หรือวัสดุที่อ่อนนุ่มต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากISTAF (สหพันธ)์ กอ่ นการใช้ในการแข่งขัน 4.5 รายการแข่งขันระดับโลก นานาชาติ และการแข่งขันระดับภูมิภาคท่ีได้รับรอง จาก ISTAF รวมท้ังในการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ เวิลด์เกมส์ กีฬาเครือจักภาพ เอเชี่ยนเกมส์ และซีเกมส์ ตอ้ งใชล้ ูกตะกร้อที่ได้รับการรับรองจาก ISTAF
13 ข้อ 5 ผ้เู ล่น 5.1 การแขง่ ขนั มี 2 ทีม ประกอบดว้ ยผ้เู ลน่ ฝ่ายละ 3 คน 5.2 ผเู้ ล่นคนหนึง่ ในสามคนจะเปน็ ผเู้ สริ ์ฟและอยู่ด้านหลัง เรยี กว่า “ผู้เสิร์ฟ” (Server or Tekong) 5.3 ผูเ้ ลน่ อกี สองคนอยดู่ า้ นหน้าโดยคนหน่ึงจะอย่ดู า้ นซ้ายและอีกคนจะอยู่ด้านขวา คนทีอ่ ยดู่ ้านซ้ายเรียกวา่ หนา้ ซ้าย (Left Inside) และคนที่อยู่ด้านขวา เรียกว่า หน้า ขวา (Right Inside) ประเภททีมชุด 5.4.1 แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นอย่างน้อย 9 คน และไม่เกิน 15 คน (ผู้เล่นทีม ละ 3 คน 3 ทีม) แต่ใหข้ ้ึนทะเบียนผู้เล่นเพียง 12 คน 5.4.2 ก่อนการแข่งขัน แต่ละทีมต้องมีผู้เล่นที่ขึ้นทะเบียนอย่างน้อย 9 คนใน สนามแข่งขนั 5.4.3 ในระหว่างการแข่งขันทีมใดที่มีผู้เล่นน้อยกว่า 9 คน ในสนามแข่งขันจะไม่ อนญุ าตใหเ้ ข้าแขง่ ขัน ถูกปรับใหเ้ ป็นแพใ้ นการแข่งขนั ประเภททีมเดี่ยว 5.5.1 แต่ละทีมประกอบด้วยผูเ้ ลน่ อย่างนอ้ ย 3 คน และไมเ่ กิน 5 คน (ผู้เล่น 3 คน สำรอง 2 คน) ผเู้ ล่นทุกคนตอ้ งขึ้นทะเบยี น 5.5.2 ก่อนการแข่งขันแตล่ ะทมี ต้องมผี เู้ ลน่ อย่างนอ้ ย 3 คน 5.5.3 ในระหว่างการแข่งขันทีมใดมีผู้เล่นน้อยกว่า 3 คน ในสนามแข่งขันจะไม่ อนุญาตให้เขา้ แขง่ ขนั และถูกปรบั ให้เปน็ แพ้ในการแข่งขนั ขอ้ ท่ี 6 เครื่องแตง่ กายของผู้เล่น 6.1 อุปกรณ์ที่ผู้เล่นใช้ต้องเหมาะสมกับการเล่นเซปักตะกร้อ อุปกรณ์ใดที่ออกแบบเพ่ือเพิ่ม หรือลดความเร็วของลูกตะกร้อ เพ่ิมความสูงของผู้เล่นหรือการเคลื่อนไหว หรือทำให้ได้เปรียบหรือ อาจเปน็ อนั ตรายต่อตวั ผ้เู ล่นและคู่แข่งขัน จะไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตให้ใช้
14 6.2 เพือ่ ป้องกนั การขัดแยง้ หรอื โต้เถียงกนั โดยไม่จำเปน็ ทีมทีเ่ ข้าแขง่ ขนั ต้องใช้เส้ือสีตา่ งกนั 6.3 แต่ละทีมต้องมีชุดแข่งขันอย่างน้อย 2 ชุด เป็นสีอ่อนและสีเข้ม หากทีมท่ีเข้าแข่งขันใช้ เสอ้ื สีเดียวกนั ทีมเจา้ บา้ นต้องเปลีย่ นเสื้อทีม ในกรณีสนามกลางทมี ที่มีชือ่ แรกในโปรแกรมแขง่ ขันตอ้ ง เปล่ยี นสเี สือ้ 6.4 อุปกรณ์ของผู้เล่นประกอบด้วย เส้ือยืดคอปกหรือไม่มีปก กางเกงขาสั้น ถุงเท้าและ รองเท้าพื้นยางไม่มีส้น ส่วนต่างๆ ของเคร่ืองแต่งกายของผู้เล่นถือเป็นส่วนหนึ่งของร่างกายและเสื้อ จะต้องอยู่ในกางเกงตลอดเวลาการแข่งขัน ในกรณีท่ีอากาศเย็น อนุญาตให้ผู้เล่นสวมชุดวอร์มในการ แขง่ ขัน 6.5 เส้อื ผู้เล่นทุกคนจะต้องติดหมายเลขท้ังด้านหน้าและด้านหลัง และผู้เล่นแต่ละคนต้องใช้ หมายเลขประจำน้ันตลอดการแข่งขัน ให้แต่ละทีมใช้หมายเลข 1-36 เท่าน้ัน สำหรับขนาดของ หมายเลขด้านหลังสูงไม่น้อยกว่า 19 เซนติเมตร และสูงไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร ด้านหน้า(ตรง กลางหนา้ อก) 6.6 หวั หน้าทมี ตอ้ งสวมปลอกแขนดา้ นซา้ ยของแขนและใหส้ ีตา่ งจากสีเส้อื ของผ้เู ลน่ 6.7 กรณที ีไ่ ม่ได้ระบุไวใ้ นกตกิ านี้ ตอ้ งได้รับการรับรองจากรรมการเทคนิคของ ISTAF กอ่ น ขอ้ ที่ 7 การเปลี่ยนตัวผเู้ ลน่ 7.1 ผเู้ ล่นคนใดทล่ี งแข่งขันในแตล่ ะทีมหรือได้เปลี่ยนตวั ไปแล้ว จะไม่อนุญาตให้ลงแข่งขันใน ทมี อนื่ ๆ อีก สำหรับการแข่งขันประเภททมี ชุด เฉพาะครัง้ นน้ั ๆ 7.2 การเปล่ียนตัวผู้เล่นจะกระทำในเวลาใดก็ได้ โดยผู้จัดการทีมยื่นขอต่อกรรมการประจำ สนาม (Official Referee) เมือ่ ลูกตะกรอ้ ไม่ได้อยู่ในการเล่น (ลกู ตาย) 7.3 ประเภททีมเดียว ในการแข่งขันแต่ละคร้ังให้แต่ละทีมมีผู้เล่นสำรองได้ไม่เกิน 2 คน นอกเหนือจากผู้เล่น 3 คน ที่เร่ิมเล่นในสนามและสามารถทำการเปลี่ยนตัวได้ไม่เกิน 2 คร้ังในแต่ ละเซ็ท ประเภททมี ชดุ ในการแข่งขันแต่ละครั้งให้แต่ละทีมเดี่ยวเปลี่ยนตัวผู้เล่นสำรองได้ไม่เกิน 1 คนนอกเหนือ จากผู้เล่น 3 คน ท่ีเริ่มเล่นในสนามและสามารถทำการเปล่ียนตัวได้ไม่เกิน 2 คร้ังในแต่ละเซ็ท การ เปลี่ยนตัวทุกครั้งให้อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรรมการประจำสนาม (Court Referee) และให้กระทำท่ี ด้านข้างของสนาม โดยให้อยู่ในสายตาของผู้ตัดสิน (Match Referee) การเปล่ียนตัวสามารถกระทำ ได้ในระหว่างการแข่งขัน เมื่อลูกตะกร้อไม่ได้อยู่ในการเล่นหรือในทันทีท่ีเร่ิมการแข่งขันในแต่ละเซ็ท การเปล่ยี นตวั สามารถเปลี่ยนตัวได้ 1 คนหรือ 2 คนพร้อมกันในเวลาเดยี วกัน
15 สำหรบั ประเภททีมเด่ียวเท่าน้ัน (เปลย่ี น 2 คนพร้อมกัน ให้นับเป็นสองครง้ั ) ก่อนการแข่งขัน ในเซท็ ใหม่ ทีมใดมกี ารเปลยี่ นตัวในการพักระหวา่ งเซท็ ให้ถือเปน็ การเปลยี่ นตัวในเซ็ทใหม่ 7.4 ถ้ามีผู้เล่นเกิดการบาดเจ็บและไม่สามารถทำการแข่งขันต่อไปได้ อนุญาตให้ทีมน้ัน ทำ การเปลยี่ นตวั ผู้เลน่ ถ้ายงั ไมไ่ ด้ใช้สทิ ธิในการเปลี่ยนตัว แต่ถ้ามีการเปลีย่ นตวั ครบ 2 คร้ังในเซท็ นั้นแล้ว การแข่งขันจะยตุ ลิ งและทีมดงั กล่าวจะถูกปรบั ให้เปน็ แพ้ในการแข่งขัน 7.5 ถ้าผู้เล่นได้รับบัตรแดง จะถูกลงโทษให้ออกจากการแข่งขัน อนุญาตให้ทีมนั้น ทำการ เปลี่ยนตัวผู้เล่นถ้ายังไม่ได้ใช้สิทธิในการเปลี่ยนตัว แต่ถ้ามีการเปลี่ยนตัวผู้เล่นครบ 2 คร้ัง ในเซ็ทน้ัน แลว้ การแขง่ ขันจะยตุ ลิ ง และทมี ดงั กลา่ วจะถกู ปรบั ให้เป็นแพใ้ นการแข่งขัน 7.6 มีผู้เลน่ น้อยกว่า 3 คน การแขง่ ขันจะยุติลง และทีมดังกลา่ วจะถูกปรับใหเ้ ป็นแพ้ ในการ แขง่ ขนั ขอ้ 8 การเสย่ี งและการอบอุ่นรา่ งกาย 8.1 กอ่ นเรม่ิ การแข่งขัน กรรมการผ้ตู ัดสนิ กระทำการเสยี่ งโดยใชเ้ หรยี ญหรอื วตั ถุกลมแบน ผชู้ นะการเส่ียงจะไดส้ ทิ ธ์เิ ลอื ก “ขา้ ง” หรือเลอื ก “ส่ง” ผ้แู พ้การเสี่ยงต้องปฏิบัติตามกติกาการเสี่ยง 8.2 ทีมท่ีชนะการเสี่ยงจะต้องอบอุ่นร่างกายเป็นระยะเวลา 2 นาที ในสนามแข่งขันก่อนทีม ท่ีแพก้ ารเสี่ยงด้วยลูกตะกรอ้ ทใ่ี ชใ้ นการแข่งขนั โดยอนุญาตใหม้ ีบคุ คลในสนามเพยี ง 5 คน ขอ้ 9 ตำแหน่งผู้เล่นในระหวา่ งการเสริ ฟ์ 9.1 เมือ่ เร่มิ เล่นผเู้ ล่นท้ังสองทีมตอ้ งยนื อยใู่ นท่ที ่ีกำหนดไว้ในแดนของตนในลักษณะ เตรยี มพร้อม 9.2 ผูเ้ ล่นเสิร์ฟตอ้ งวางเท้าข้างหนง่ึ ในวงกลมเสริ ์ฟ 9.3 ผเู้ ล่นหน้าทัง้ สองคนของฝ่ายเสิรฟ์ ต้องยนื ในเสยี้ ววงกลมของตนเอง 9.4 ผเู้ ลน่ ของฝา่ ยรับ (ฝ่ายตรงขา้ ม) จะยนื อยู่ท่ีใดก็ได้ในแดนของตนเอง ข้อ 10 การเริ่มเลน่ และการเสริ ฟ์ (The Start of Player & Service) 10.1 การแข่งขันถูกดำเนินการโดยผู้ตัดสิน (Match Referee) หน่ึงคน โดยอยู่ในตำแหน่ง ด้านหนึ่งของปลายตาข่าย มีผู้ช่วยผู้ตัดสิน (Assistant Match Referee) หน่ึงคนอยู่ตรงกันข้ามกับ ผู้ตัดสิน มีกรรมการประจำสนาม (Court Referee) หนึ่งคนอยู่ด้านหลังผู้ตัดสินมีผู้กำกับเส้น (Linesman) สองคน โดยคนหนงึ่ อยูท่ างเส้นข้างดา้ นขวามอื ของผตู้ ัดสนิ และอีกคนหนึ่งอยู่ทางเส้นขา้ ง ด้านขวามือของผูช้ ่วยผตู้ ัดสนิ ผู้ตัดสินจะได้รับความช่วยเหลือจากกรรมการผู้ชี้ขาด (Official Referee) ท่ีอยู่นอกสนาม ทีมที่ได้เสิร์ฟก่อนจะเสิร์ฟติดต่อกัน 3 ครั้ง ในขณะท่ีอีกทีมหน่ึงก็จะได้สิทธ์ิการเสิร์ฟ ในลักษณะ เดยี วกัน หลังจากนน้ั ให้สลับกนั เสริ ์ฟทกุ ๆ 3 คะแนน ไม่วา่ ฝา่ ยใดจะไดค้ ะแนนหรอื เสียคะแนน
16 การดวิ ส์ เมื่อท้ังสองทีมทำคะแนนได้เท่ากันที่ 14 - 14 การเสิร์ฟจะสลับกันทุกคะแนนทีมท่ีเป็นฝ่าย รับจาการเริ่มเล่นในเซ็ทใดก็ตาม จะเป็นฝ่ายเสิร์ฟก่อนในเซ็ทต่อไปและจะต้องเปลี่ยนแดนก่อนเริ่ม การแข่งขันในแตล่ ะเซท็ 10.2 ผู้ส่งลูกจะต้องโยนตะกร้อเมื่อกรรมการตัดสินขานคะแนน หากผู้เล่นโยนลูกตะกร้อ ก่อนที่กรรมการผู้ตัดสินขานคะแนน กรรมการต้องตักเตือนและให้เร่ิมใหม่ หากกระทำซ้ำดังกล่าวอีก จะตัดสินว่า “เสยี ” (Fault) 10.3 ระหว่างการเสิร์ฟ ทันทีที่ผู้เสิร์ฟเตะลูกตะกร้อ อนุญาตให้ผู้เล่นทุกคนเคลื่อนที่ได้ใน แดนของตน 10.4 การเสิร์ฟท่ีถูกต้องเมื่อลูกตะกร้อข้ามตาข่าย ไม่ว่าลูกตะกร้อจะสัมผัสตาข่ายหรือไม่ และตกลงในแดนหรือขอบเขตของสนามฝ่ายตรงข้าม 10.5 ในระบบการแข่งขันแบบแพ้คัดออก ไม่จำเป็นต้องแข่งขันในทีมท่ี 3 เมื่อมีผลการ แขง่ ขนั แพ้ชนะเกิดขน้ึ แล้ว 10.6 ในการแข่งขันในระบบแบ่งสายต้องแข่งขันท้ัง 3 ทีม หากชุดใดไม่มีทีมที่ 3ต้องตัดสิน เป็นยอมให้ชนะผ่าน และทมี ที่ชนะผา่ นจะไดร้ ับคะแนน 21 คะแนน ในแตล่ ะเซ็ท ข้อ 11 การผดิ กตกิ า 11.1 ผเู้ ลน่ ฝ่ายเสริ ฟ์ ระหว่างการเสิรฟ์ (The Serving Side During Service) 11.1.1 ภายหลังจากท่ีผู้ตัดสินขานคะแนนไปแล้ว ผู้เล่นท่ีทำหน้าท่ีโยนลูกกระทำ อย่างหนึ่งอย่างใดกับลูกตะกร้อ เช่น โนลูกเล่น เคาะลูกเล่น โยนลูกให้ผู้เล่นหน้าอีกคนหน่ึง เปน็ ต้น 11.1.2 ผูเ้ ล่นหน้ายกเทา้ หรอื เหยยี บเส้น หรอื วางเทา้ นอกเส้น หรือส่วนหนึง่ ส่วน ใดของรา่ งกายแตะตาข่ายขณะโยนลกู ตะกรอ้ 11.1.3 ผู้เสิรฟ์ กระโดดเสิร์ฟในขณะเตะส่งลูกหรือเทา้ หลกั ทีแ่ ตะพ้ืนเหยียบเสน้ วงกลมก่อนและระหว่างการส่งลกู 11.1.4 ผู้เสิรฟ์ ไมไ่ ดเ้ ตะลูกที่ผโู้ ยนโยนไปใหเ้ พ่ือการเสิรฟ์ 11.1.5 ลกู ตะกร้อถกู ผู้เล่นคนอน่ื ภายในทีมก่อนข้ามไปยังพื้นท่ขี องฝา่ ยตรงข้าม 11.1.6 ลกู ตะกร้อข้ามตาขา่ ยแตต่ กลงนอกเขตสนาม 11.1.7 ลูกตะกร้อไม่ขา้ มไปยงั ฝ่ายตรงข้าม
17 11.1.8 ผู้เลน่ ใชม้ อื ข้างหน่ึงข้างใดหรือท้งั สองขา้ ง หรือสว่ นอนื่ ของแขนเพื่อช่วยใน การเตะลูกแม้มือหรือแขนไม่ได้แตะลกู ตะกรอ้ โดยตรง แต่เตะหรอื สัมผสั ส่งิ หนึ่งส่งิ ใด ในขณะกระทำดังกลา่ ว 11.1.9 ผสู้ ่งลกู โยนลกู ตะกร้อก่อนทีก่ รรมการผตู้ ัดสนิ ขานคะแนนเปน็ คร้ังทส่ี อง หรือครัง้ ต่อไปในการแขง่ ขนั 11.2 ฝ่ายเสิรฟ์ และฝ่ายรับในระหวา่ งการเสริ ฟ์ (Serving And Reciving Side During Service) 11.2.1 กระทำการในลกั ษณะทำให้เสยี สมาธิ หรอื สง่ เสยี งรบกวน หรอื ตะโกนไปยัง ฝา่ ยตรงขา้ ม 11.3 สำหรบั ผเู้ ลน่ ท้ังสองฝา่ ยระหวา่ งการแขง่ ขัน (For Both Side During The Gam) 11.3.1 เหยียบเสน้ แบ่งครึง่ สนาม ยกเว้นการเคล่อื นไหวต่อเน่ือง (Follow Through)ภายหลงั การรุกหรือการป้องกนั 11.3.2 ผเู้ ลน่ ทส่ี มั ผัสลกู ตะกรอ้ ในแดนของฝา่ ยตรงข้าม 11.3.3 ส่วนหนงึ่ ส่วนใดของรา่ งกายผู้เลน่ ลำ้ ไปในแดนของคแู่ ข่งขันไมว่ ่าจะเป็น ดา้ นบนหรือดา้ นลา่ งของตาข่าย ยกเวน้ การเคล่ือนไหวต่อเน่ือง (Follow Though) 11.3.4 เล่นลกู เกิน 3 ครั้งตดิ ตอ่ กนั 11.3.5 ลกู ตะกรอ้ สัมผสั แขน 11.3.6 หยดุ ลกู หรือยดึ ลกู ตะกร้อไว้ใตแ้ ขน หรอื ระหว่างขา หรือรา่ งกาย 11.3.7 สว่ นหน่ึงสว่ นใดของร่างกายผเู้ ลน่ หรืออุปกรณ์ เชน่ รองเทา้ เสือ้ ผ้าพนั ศรี ษะ แตะตาขา่ ย หรือเสาตาข่าย หรือเกา้ อี้กรรมการผู้ตดั สนิ หรือตกลงในแดนของฝา่ ย ตรงขา้ ม 11.3.8 ลกู ตะกร้อถกู เพดาน หลงั คา หรอื ผนัง หรือวตั ถสุ ิง่ ใด 11.3.9 ผู้เลน่ คนใดทใ่ี ช้อปุ กรณภ์ ายนอกเพ่ือช่วยในการเตะ ขอ้ 12 การนับคะแนน 12.1 ผ้เู ลน่ ฝ่ายเสริ ์ฟหรอื ฝ่ายรบั ทำผดิ กตกิ า (Fault) ฝา่ ยตรงขา้ มจะได้คะแนน 12.2 การชนะในแต่ละเซ็ทผู้ชนะต้องทำคะแนนได้ 15 คะแนน จึงจะถือว่าชนะในการ แข่งขันคร้ังนั้น ในกรณีแต่ละทีมมีคะแนนเท่ากัน 14 - 14 ผู้ตัดสินต้องขานว่า “ดิวส์คู่ไม่เกิน 17 คะแนน” (Setting up to 17 point) 12.3 ประเภททีมเด่ียว การแข่งขันต้องชนะกัน 3 ใน 5 เซ็ท มีการพักระหว่างเซ็ท 2 นาที และเรยี กแต่ละเซท็ ว่า เซ็ททีห่ นึ่ง เซท็ ท่สี อง เซท็ ท่สี าม เซ็ททส่ี ี่ และ เซท็ ทหี่ ้า
18 ประเภททีมชุด การแข่งขันต้องชนะกัน 2 ใน 3 เซ็ท มีการพักระหวา่ งเซท็ 2 นาที และเรียก แต่ละเซ็ทวา่ เซ็ททีห่ นงึ่ เซ็ทท่ีสอง และเซ็ทที่สาม 12.4 กอ่ นเริม่ การแข่งขันในเซ็ทที่ห้า ในประเภททมี เด่ียวและเซท็ ทีส่ ามในประเภททมี ชุดให้ ผตู้ ัดสินกระทำการเส่ียงโดยใชเ้ หรียญหรอื วตั ถุกลมแบน ฝ่ายทช่ี นะการเส่ยี งจะเปน็ ฝ่ายท่เี รม่ิ เสิร์ฟ ก่อน เมื่อทีมใดทีมหนึ่งทำคะแนนได้ถึง 8 คะแนนต้องทำการเปลีย่ นแดน ข้อ 13 การขอเวลานอก 13.1 แต่ละทีมสามารถขอเวลานอกได้ 1 คร้ัง คร้ังละ 1 นาที ต่อเซ็ท การขอเวลานอกให้ ขอโดยผู้จัดการทีมหรือผู้ฝึกสอน เมื่อลูกตะกร้อไม่ได้อยู่ในการเล่น ระหว่างการพักเวลานอกประเภท ทีมเดี่ยวจะอนุญาตให้มีผูเ้ ล่นและเจา้ หนา้ ทีท่ ีมอยู่นอกสนามบรเิ วณเส้นหลังจำนวน 5 คนประเภททีม ชุดจะอนุญาตให้มผี ู้เล่นและเจา้ หน้าทที่ มี อยู่นอกสนามบรเิ วณเส้นหลังจำนวน 6 คน 13.2 ประเภททีมเด่ียวบุคคลท้ัง 5 คน ประกอบด้วย ผู้เล่น 3 คน และบุคคลท่ีแต่งกาย แตกต่างจากนกั กฬี าอีก 2 คน ประเภททมี ชุดบคุ คลท้ัง 6 คน ประกอบด้วย ผูเ้ ล่น 3 คน และบุคคลท่ี แตง่ กายแตกต่างจากนกั กีฬาอีก 3 คน ขอ้ 14 การหยุดการแข่งขันชว่ั คราว 14.1 กรรมการผู้ตัดสินสามารถหยุดการแข่งขันช่ัวคราว เมื่อผ้เู ล่นบาดเจ็บและต้องการปฐม พยาบาล โดยใหเ้ วลาไมเ่ กิน 5 นาที 14.2 นักกีฬาท่ีบาดเจ็บจะได้รับการพักไม่เกิน 5 นาที หลังจาก 5 นาทีแล้ว นักกีฬาไม่ สามารถทำการแข่งขันต่อ ต้องมีการเปล่ียนตัวผู้เล่น แต่ถ้าทีมท่ีมีนักกีฬาบาดเจ็บได้มีการเปล่ียนตัวผู้ เลน่ ไปแลว้ การแข่งขนั จะไดร้ บั การประกาศให้ทมี ตรงขา้ มชนะ 14.3 ในกรณีทม่ี ีการขัดขวาง รบกวนการแขง่ ขัน หรือสาเหตุอื่นใด กรรมการผู้ตัดสินจะเป็น ผู้พิจารณาหยดุ การแขง่ ขนั ชัว่ คราวโดยการหารอื กบั คณะกรรมการจัดการแข่งขัน 14.4 ในการหยดุ การแข่งขนั ช่ัวคราว ไม่อนุญาตใหผ้ ู้เล่นทุกคนออกจากสนามและไมอ่ นุญาต ให้ดม่ื น้ำหรอื ไดร้ ับความช่วยเหลอื ใดๆ ข้อ 15 วินยั 15.1 ผเู้ ล่นทุกคนต้องปฏิบตั ิตามกติกาการแข่งขัน 15.2 ในระหวา่ งการแข่งขนั เฉพาะหวั หน้าทีมเท่าน้ันที่จะเป็นผู้ติดตอ่ กบั กรรมการผูต้ ดั สนิ ไม่ ว่าจะเป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวกับตนเอง หรือเร่ืองท่ีเกีย่ วข้องกับผู้เล่นในทมี หรือเรือ่ งที่ต้องการซักถามเพื่อขอ อธิบายในการตัดสินของกรรมการผู้ตัดสิน ซ่ึงกรรมการผู้ตัดสินต้องอธิบายหรือช้ีแจงตามท่ีหัวหน้าทีม ซกั ถาม
19 15.3 ผ้จู ัดการทีม ผู้ฝึกสอน นกั กีฬา และเจ้าหนา้ ท่ีประจำทีม จะไม่ได้รบั อนุญาตให้ถกเถียง ต่อการตัดสินของกรรมการผู้ตัดสินในระหว่างการแข่งขัน หรือแสดงปฏิกิริยาที่จะเป็นผลเสียต่อการ แข่งขนั หากมีการกระทำดงั กลา่ วจะถอื เปน็ การผดิ วินยั อยา่ งแรง ขอ้ 16 การลงโทษ การทำผดิ กติกาและผดิ วนิ ยั จะมกี ารลงโทษ ดังน้ี การลงโทษทางวนิ ยั 16.1 การตักเตอื นผเู้ ล่นจะถูกตกั เตือนและไดร้ บั บตั รสเี หลืองหากมคี วามผดิ ข้อหน่ึงข้อใดใน 6 ประการ ดงั นี้ 16.1.1 ปฏิบัติตนในลกั ษณะขาดวินัยและไมม่ ีนำ้ ใจนักกฬี า 16.1.2 แสดงกิรยิ าและวาจาไม่สุภาพ 16.1.3 ไม่ปฏิบตั ิตามกติกาการแขง่ ขนั บ่อยๆ 16.1.4 ถว่ งเวลาการแขง่ ขนั 16.1.5 เข้าหรอื ออกสนามแข่งขันโดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผู้ตดั สนิ 16.1.6 เจตนาเดนิ ออกจากสนามแขง่ ขนั โดยไม่ได้รับอนุญาตจากกรรมการผู้ตัดสิน 16.2 ความผดิ ทถี่ ูกให้ออกจากการแขง่ ขันผูเ้ ลน่ กระทำผิดข้อใดข้อหนง่ึ ใน 5 ข้อดังกล่าว จะ ถกู ให้ออกจากการแขง่ ขันและให้บตั รสีนำ้ ตาล ดงั นี้ 16.2.1 กระทำผดิ กตกิ าอยา่ งรา้ ยแรง 16.2.2 ประพฤติผิดรา้ ยแรง โดยเจตนาทำให้ฝา่ ยตรงขา้ มบาดเจบ็ 16.2.3 ถม่ น้ำลายใส่ฝ่ายตรงขา้ มหรอื ผู้อ่ืน 16.2.4 ใช้วาจาหรอื ปฏกิ ริ ิยาหยาบคาย หรอื ดูถูกฝา่ ยตรงขา้ ม 16.2.5 ไดร้ ับการเตือนและบตั รเหลอื งเป็นคร้ังที่ 2 ในการแขง่ ขัน 16.3 ผู้เล่นทก่ี ระทำผดิ ถูกตักเตือนดว้ ยบตั รเหลอื งหรือให้ออกจากการแขง่ ขนั ไมว่ ่าจะเป็น ความผดิ ทั้งในและนอกสนามแข่งขนั ทก่ี ระทำต่อคู่แขง่ ขัน ผู้เลน่ ฝ่ายเดยี วกนั กรรมการผู้ตดั สินผู้ช่วยผู้ ตดั สิน หรอื บุคคลอน่ื ๆ ให้พิจารณาโทษวินัยดงั น้ี 16.3.1 ไดร้ บั บตั รเหลอื งใบแรก โทษ : ตกั เตอื น 16.3.2 ได้รบั บตั รเหลืองใบที่สอง ในผู้เล่นคนเดิมในเกมแข่งขันต่างเกม แต่เป็น รายการแขง่ ขันเดยี วกนั โทษ : พกั การแขง่ ขนั 1 เกม 16.3.3 ได้รบั บัตรเหลอื งใบที่สาม หลังจากพักการแขง่ ขัน เพราะได้รบั บัตรเหลือง 2 ใบในรายการเดยี วกันและในผ้เู ล่นคนเดิม
20 โทษ : พกั การแข่งขัน 2 เกม ปรับเป็นเงิน 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยสโมสรหรือบุคคลที่ผู้เล่นสังกัดเป็น ผรู้ บั ผิดชอบ 16.3.4 ไดร้ บั บัตรเหลอื งใบที่ส่ี ได้รับบัตรเหลืองหลังจากต้องพักการแข่งขัน 2 เกม จากการที่ได้รับใบเหลืองใบที่ สามในรายการแขง่ ขนั เดียวกนั ในผเู้ ลน่ คนเดิม โทษ : ให้พักการแข่งขันในเกมต่อไป และในรายการแข่งขันท่ีรับรองโดยองค์กรกีฬา ตะกรอ้ ท่ีเกย่ี วข้องจนกว่าจะไดร้ ับการพิจารณาจากคณะกรรมการวนิ ัยในเร่ืองดังกลา่ ว 16.3.5 ได้รบั บตั รเหลอื งสองใบ ในผเู้ ล่นคนเดยี วกันและในเกมการแขง่ ขันเดยี วกนั โทษ : พกั การแข่งขัน 2 เกม ปรับเป็นเงิน 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยสโมสรหรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง รับผิดชอบ ได้รับบัตรแดงในกรณีทำผิดวนิ ัย หรือกระทำผิดกติกาการแขง่ ขันในเกมอ่ืน ซึ่งอยู่ ในรายการแข่งขันเดยี วกนั 16.4 ผ้เู ล่นที่กระทำผิดกติกาอย่างร้ายแรง ไม่วา่ จะกระทำในสนามหรือนอกสนามแข่งขันซ่ึง กระทำผิดต่อฝ่ายตรงขา้ ม เพื่อนรว่ มทมี กรรมการผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตดั สิน หรอื บุคคลอื่นโดยได้รบั บัตร แดง จะไดร้ ับพิจารณาโทษดงั นี้ ได้รับบตั รแดง โทษ : ให้ไล่ออกจากการแข่งขันและพักการแข่งขันในทุกรายการแข่งขันที่รับรองจากองค์กร ทก่ี ำกับดูแลกีฬาเซปักตะกร้อ จนกวา่ คณะกรรมการวินยั จะมีการประชมุ และพิจารณาในเรือ่ งดงั กล่าว ขอ้ 17 ความผิดของเจ้าหน้าที่ทีม 17.1 กฎระเบียบด้านวินัย จะใชก้ บั เจา้ หน้าทป่ี ระจำทีม ในกรณที ่ีทำผิดวินยั หรือรบกวนการ แขง่ ขันท้ังภายในและภายนอกสนาม 17.2 เจ้าหน้าที่ประจำทีม ผู้ใดประพฤติไม่สมควรหรือกระทำการรบกวนการแข่งขันจะถูก เชิญออกจากบรเิ วณสนามแข่งขัน โดยเจ้าหน้าที่จดั การแข่งขันหรอื กรรมการผตู้ ัดสนิ และจะถูกพักการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทภ่ี ายในทมี จนกว่าคณะกรรมการวินัยจะมกี ารประชุมเพื่อพจิ ารณาตัดสนิ ปญั หาดังกล่าว ข้อ 18 บททัว่ ไป ในการแข่งขันหากมีปญั หาหรือเรื่องราวใดๆ เกิดขึ้นซงึ่ ไม่ได้กำหนดหรอื ระบุไวใ้ นกติกาการ แข่งขัน ให้ถอื การตดั สนิ ของกรรมการผูต้ ดั สินเป็นทส่ี ิ้นสดุ
บรรณานุกรม Sanook, (2566). ประวัติตะกร้อในประเทศไทย.[ค้นหาเมื่อ 20 สิงหาคม 2566] จากแหล่งท่ีมา https://shorturl.asia/MRPNl กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.(2555). คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาเซปักตะกร้อ T-Certificate.สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์. จาก https://shorturl.asia/CQsNj
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: