Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book

E book

Published by chutchawood, 2021-09-11 09:54:31

Description: E book

Search

Read the Text Version

งหs บทที่ 1 ระบบความปลอดภยั โดยนายชัชวุฒิ นราศรี วิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนกิ สเบ้ืองตน

บทท่ี 1 ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ หัวข้อเรื่อง 1.1. อนั ตรายของไฟฟ้าต่อร่างกายมนุษย์ 1.2. การปฏบิ ตั ิงานทางด้านไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ที่ ปลอดภัย 1.3. การปฏิบัติงานทางด้านการซ่อมบาํ รุงเก่ียวกบั ไฟฟ้า 1.4. การช่วยเหลือผู้ประสบอนั ตรายจากไฟฟ้า 1.5 การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูด

1.1 อนั ตรายของไฟฟ้าต่อร่างกายมนุษย์ ไฟฟ้าเป็ นพลงั งานทีส่ ามารถแปรรูปได้โดยอาศัยแรงดันและ กระแส จ่ายไปให้อุปกรณ์ไฟฟ้า ไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้ดีในวัตถุตัวนําจําพวกโลหะ เช่น ทองแดง เงิน เหล็ก ตะก่ัว และอะลูมิเนียมไฟฟ้าเคล่ือนที่ได้ลําบากในวัตถุท่ีเป็ นฉนวน เช่น พลาสตกิ ยาง แก้ว ไม้ และเซรามิก ร่างกายมนุษย์เป็ นตัวนําไฟฟ้าเช่นเดียวกัน ไฟฟ้าสามารถผ่านร่างกายไปได้อย่าง สะดวก และกรณีที่ร่างกายมนุษย์สัมผัสถูกสายไฟฟ้าพร้อมกันมากกว่าหน่ึงเส้น ร่างกาย มนุษย์จะกลายเป็ นภาระหรือโหลด แทนเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เกิดกระแสไหลผ่านร่างกาย เรียกว่า “ ไฟฟ้าดูด” หรือ “ไฟฟ้าช็อต” รูปที่ 1.1 การเกดิ ไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าช็อต

อนั ตรายของไฟฟ้าต่อร่างกายมนุษย์จะมมี ากหรือน้อยขึน้ อย่กู บั ขนาดของกระแส และ ระยะเวลาท่กี ระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ความสัมพนั ธ์ของกระแสกบั ปฏกิ ริ ิยาทเ่ี กดิ ขนึ้ ต่อ ร่างกายมนุษย์ ดงั ตารางท่ี 1.1 ตารางที่ 1.1 ความสัมพนั ธ์ของกระแสกบั ปฏกิ ริ ิยาท่เี กดิ ขนึ้ ต่อร่างกายมนุษย์ ปริมาณกระแสไหลผ่าน ปฏิกริ ิยาทเ่ี กดิ ขนึ้ ร่างกายมนุษย์เป็ นมิลลิ แอมแปร์ ( mA ) น้อยกว่า 0.5 - ไม่เกดิ ความรู้สึก 0.5 - 2 - เร่ิมเกดิ ความรู้สึก กล้ามเนื้อกระตกุ เลก็ น้อย 2 - 10 - กล้ามเนื้อหดตัว กระตกุ ปานกลาง ถึง กระตุกรุนแรง 10 – 25 - เจบ็ ปวดกล้ามเนื้อ เกร็ง ไม่สามารถขยับ เขยือ้ นได้ 25 – 50 - กล้ามเนื้อเกร็ง กระตกุ รุนแรง 50 – 100 - หวั ใจเต้นผดิ ปกติ เต้นถี่รัว และอาจเสียชีวติ มากกว่า 100 - หวั ใจหยดุ เต้น เนื้อหนงั ไหม้

1.2 การปฏิบัติงานทางด้านไฟฟ้าและ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ที่ปลอดภัย หลกั การปฏิบัติงานทางด้านไฟฟ้า – อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทป่ี ลอดภยั มีดังนี้ 1) ควรคาํ นงึ ถึงกฎแห่งความปลอดภัย 2) ก่อนการปฏบิ ัตงิ านเกย่ี วกบั ไฟฟ้า ต้องถือว่าอปุ กรณ์ไฟฟ้าเหล่าน้นั มไี ฟฟ้าจ่ายอยู่ 3) จะปฏบิ ตั ิงานเกยี่ วกบั ไฟฟ้าเรื่องใด ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้นั ก่อน ปฏบิ ัติงาน 4) อุปกรณ์และเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการปฏบิ ัติงาน หากมีส่วนชํารุดหรือไม่สมบูรณ์ไม่ ควรนาํ มาใช้งาน 5) อย่าปฏิบัตงิ านเม่ือรู้สึกอ่อนเพลยี เหน่ือย หรือรับประทานยาทําให้ง่วงนอน 6) อย่าปฏิบัติงานในขณะมือเปี ยก หรือยืนอย่บู นพื้นเปี ยก 7) ถ้าจาํ เป็ นต้องปฏบิ ัตงิ านในทม่ี ีคนพลกุ พล่าน ต้องแขวนป้ายแสดงการงดใช้ ไฟฟ้าให้ชัดเจน 8) ถ้าจาํ เป็ นต้องปฏบิ ัตงิ านในที่ๆ ไม่สามารถตดั ไฟได้ต้องก้นั บริเวณ 9) การปฏบิ ตั งิ านถ้ามีการละงานไปช่ัวคราว เช่นพกั เทย่ี ง เมื่อกลบั มาปฏบิ ตั งิ านต้อง ตรวจสอบสวติ ช์ตัดตอน สะพานไฟ ให้อย่ใู นสภาพเดมิ 10) การปฏบิ ัติงานแต่ละคร้ัง ควรมผี ้ปู ฏิบัติงานด้วยอย่างน้อย 2 คน 11) การปฏิบัตงิ านเกย่ี วกบั ไฟฟ้าแรงสูง ควรใช้เคร่ืองป้องกนั ไฟฟ้าให้มากขนึ้ กว่า ปกติ

รูปท่ี 1.2 การปฏบิ ตั ิงานเกยี่ วกบั ไฟฟ้าแรงสูง 1.3 การปฏบิ ัติงานทางด้านการซ่อมบาํ รุง เกย่ี วกบั ไฟฟ้า หลกั การปฏบิ ตั ิงานด้านการซ่อมบาํ รุงเกย่ี วกบั ไฟฟ้า มีดงั นี้

1) การตรวจสอบอปุ กรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ควรใช้เครื่องมือทดสอบ อย่าง ถูกต้อง 2) เคร่ืองมือช่างท่ีนํามาใช้งาน ต้องอย่ใู นสภาพปกติ ไม่ชํารุดบกพร่อง 3) การซ่อมบํารุงอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนดิ ใด ต้องรู้และเข้าใจการทํางานและวงจรเป็ นอย่างดี 4) ขณะทําการซ่อมบํารุงเกยี่ วกบั ไฟฟ้า ไม่ควรใส่เครื่องประดบั ต่างๆ ทเี่ ป็ นส่ือไฟฟ้า ควรสวมเคร่ืองป้องกนั ไฟฟ้าต่างๆให้รัดกมุ 5) การเปลยี่ นอปุ กรณ์ใหม่ทุกคร้ัง ควรใช้อะไหล่ทเ่ี ชื่อถือได้และมีมาตรฐาน 6) การเปลยี่ นฟิ วส์ อย่าใช้ฟิ วส์ขนาดใหญ่เกนิ ความจาํ เป็ น และห้ามใช้ ลวดทองแดงแทนฟิ วส์ 7) อปุ กรณ์หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทชี่ ํารุดเสียหาย หากยงั ไม่ทําการซ่อมบาํ รุง ควรติด ป้ายแจ้งบอกให้ชัดเจน รูปท่ี 1.3 การแขวนป้ายงดใช้ไฟฟ้าและป้ายห้ามใช้งานเมือ่ เครื่องใช้ไฟฟ้าชํารุด

8) เต้าเสียบ เต้ารับ และสวติ ช์ตัดตอน ถ้าชํารุดควรเปลย่ี นใหม่ทันที ไม่ควรใช้งาน ต่อไป 9) ควรตดั ไฟฟ้าออกก่อนและแขวนป้ายงดใช้ไฟฟ้า เม่ือซ่อมแซมหรือ เปลยี่ นแปลงอุปกรณ์ไฟฟ้า 10)อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทเ่ี ปี ยกชื้น ควรเช็ดให้แห้ง ก่อนการซ่อมแซม 11)การใช้นํา้ มันประเภทไวไฟล้างอปุ กรณ์ไฟฟ้า หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ก่อนใช้งาน ควรทําให้น้าํ มนั ทต่ี กค้างแห้งสนิทเสียก่อน 12)การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ต้องใช้ให้ถูกวธิ ี รูปท่ี 1.4 การใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าผดิ วิธที ําให้เกดิ เพลิงไหม้ 1.4 การช่วยเหลือผู้ประสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดูด ต้องรู้จักวธิ ีที่ถูกต้องในการช่วยเหลือดงั นี้

1) อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตวั ผ้ทู ่กี าํ ลงั ตดิ อย่กู บั สายไฟฟ้า 2) รีบหาทางตดั ทางเดินของไฟฟ้าก่อน รูปท่ี 1.5 ใช้ไม้แห้งเขี่ยสายไฟฟ้าออกจากร่างผ้ปู ระสบภัย 3) เมื่อไม่สามารถทําวธิ ีอ่ืนใดได้แล้ว ให้ใช้มดี ขวาน หรือของมีคม ฟันสายไฟฟ้า ให้ขาดหลุดออกจากผ้ปู ระสบภัยโดยเร็วที่สุด 4) อย่าลงไปในน้ํา ในกรณที มี่ ีกระแสอย่ใู นบริเวณทม่ี ีนา้ํ ขงั ให้หาทางเขยี น สายไฟฟ้าออกไปให้พ้นน้ํา 5) หากเป็ นสายไฟฟ้าแรงสูง ให้พยายามหลกี เลยี่ ง แล้วรีบแจ้งการไฟฟ้าที่ รับผดิ ชอบโดยเร็วที่สุด 1.5 การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูด ต้องรู้จกั วธิ ีทถ่ี ูกต้องในการช่วยเหลือดงั นี้

1.5.1 การผายปอดโดยวธิ ีให้ลมหายใจทางปาก ( เป่ าปาก ) 1) ให้ผ้ปู ่ วยนอนราบ จดั ท่าทเ่ี หมาะสม เพื่อเปิ ดทางให้อากาศเข้าสู่ปอดได้สะดวก ใช้ มือข้างหน่ึงดงึ คางคางผ้ปู ่ วยหรือดันใต้คอพร้อมกบั ใช้มืออกี ข้างดนั หน้าผากให้ หน้าแหงน เป็ นวธิ ีป้องกนั ไม่ให้ลนิ้ ตกไปอดุ ปิ ดทางเดนิ หายใจ 2) สอดนวิ้ หัวแม่มือเข้าไปในปากผ้ปู ่ วย จับขากรรไกรล่างยกขนึ้ จนปากอ้าออก รูปท่ี 1.6 การใช้น้ิวหวั แม่มือสอดเข้าปากผ้ปู ่ วยและอ้าปากผ้ปู ่ วยออก 3) ล้วงเอาส่ิงอ่ืนๆ ทอ่ี าจตดิ ค้างอย่ใู นปากและลาํ คอออกให้หมด 4) ผ้ปู ฐมพยาบาลอ้าปากให้กว้างหายใจเข้าปอดเต็มที่ มือข้างหนงึ่ บีบจมูกผ้ปู ่ วยให้ แน่นสนิท ในขณะที่มืออกี ข้างหน่ึงยงั ดึงคางผู้ป่ วยอยู่ แล้วจึงประกบปากปิ ดปาก

ผ้ปู ่ วยให้สนทิ พร้อมกบั เป่ าลมเข้าไปเป็ นจังหวะๆ ประมาณ 12 –15 คร้ัง/นาที เดก็ เลก็ ประมาณ 20-30 คร้ัง/นาที ดังรูปท่ี 1.7 รูปที่ 1.7 การเป่ าลมเข้าปากผ้ปู ่ วย ช่วยในการผายปอด 5) ขณะทาํ การเป่ าปาก ตาต้องเหลือบดดู ้วยว่าหน้าอกผ้ปู ่ วยมีอาการขยายขนึ้ ลง หรือไม่ 6) ถ้าไม่สามารถอ้าปากของผ้ปู ่ วยได้ ให้ใช้มือปิ ดปากผ้ปู ่ วยให้สนทิ และเป่ าลมเข้า ทางจมูกแทน 7) ขณะนาํ ส่งโรงพยาบาลให้ทาํ การเป่ าปากไปด้วยจนกว่าผ้ปู ่ วยจะฟื้ น 1.5.2 การนวดหัวใจ 1) ให้ผ้ปู ่ วยนอนราบกบั พืน้ แข็งๆ ผ้ปู ฐมพยาบาลคุกเข่าลงข้างขวา หรือข้างซ้าย บริเวณหน้าอกผ้ปู ่ วย คลาํ หาส่วนล่างสุดของกระดกู อกทตี่ ่อกบั กระดกู ซ่ีโครง โดย ใช้นิว้ สัมผัสชายโครงไล่ขึน้ มา ถ้าคุกเข่าข้างขวาใช้มือขวาคลาํ หากระดกู อก หาก

คุกเข่าข้างซ้ายใช้มือซ้ายคลาํ หากระดกู อก ตําแหน่งส่วนล่างสุดของกระดูกอก ดัง รูป 1.8 รูปท่ี 1.8 ตาํ แหน่งส่วนล่างสุดของกระดกู อก 2) เม่ือนวิ้ สัมผสั ชายโครงแล้ว เล่ือนนวิ้ มาตรงกลาง จนกระทั่งนิว้ นางสัมผัสปลาย กระดกู หน้าอกได้ ให้ปลายนิว้ ชี้และนิว้ กลางวาง บนกระดูกหน้าอกต่อจากนวิ้ นาง 3) วางมืออกี ข้างทบั บนหลงั มือ เหยียดนวิ้ มือตรงและเกยี่ วนวิ้ มือ 2 ข้างเข้าด้วยกนั เหยียดแขนตรงโน้มตัวต้งั ฉากกบั หน้าอกผ้ปู ่ วย ทิง้ นาํ้ หนักลงบนแขนขณะกดหน้าอก ผ้ปู ่ วยให้กระดกู ลดระดบั ลง 1.5 – 2 นิว้ กดสุดให้ผ่อนมือขนึ้ ทนั ที โดยท่ีตาํ แหน่งมือไม่ ต้องเล่ือนจากจุดท่ีกาํ หนด ขณะกดหน้าอกนวดหวั ใจ ห้ามใช้นิว้ กดลงซ่ีโครงผ้ปู ่ วย ดงั รูป ท่ี 1.9 รูปท่ี 1.9 การวางมอื และกดหน้าอกผ้ปู ่ วย

4) ขณะทก่ี ดหน้าอกแต่ละคร้ังต้องนับจํานวนคร้ังที่กดดังนี้ หนง่ึ และ สอง และ สาม และ ส่ี และห้า ... โดยกดหน้าอกทุกคร้ังทน่ี บั ตวั เลข และปล่อยมือตอนคาํ ว่า “ และ ” สลบั กนั ไปให้ได้ 90-100 คร้ัง/นาที 5) ถ้าผ้ปู ฏิบัตมิ คี นเดยี ว ให้นวดหัวใจ 15 คร้ัง สลบั กบั การเป่ าปาก 2 คร้ัง ทาํ สลบั กนั จนครบ 4 รอบ 6) ถ้ามีผ้ปู ฏบิ ตั ิ 2 คน ให้นวดหวั ใจ 5 คร้ัง สลบั กบั การเป่ าปาก 1 คร้ัง โดยขณะที่ เป่ าปาก อกี คนต้องหยดุ นวดหัวใจ 7) ในเด็กอ่อนหรือเดก็ แรกเกดิ การนวดหวั ใจใช้นวิ้ เพยี ง 2 นวิ้ กดบริเวณกง่ึ กลาง กระดกู หน้าอก ประมาณ 100-120คร้ัง/นาที 8) การนวดหวั ใจต้องทําอย่างระมัดระวงั และถูกวธิ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook