บทท่ี 7 การออกแบบสารสนเทศโลจสิ ตกิ ส์(Logistics information system Design)
1.การออกแบบระบบสารสนเทศโลจิสตกิ ส์ การออกแบบทาตามความต้องการนาไปใช้งาน โดยเริ่มจากการกาหนดความต้องการระบบ วิเคราะห์ระบบ โดยโปรแกรมเมอร์เป็ นผ้พู ฒั นาระบบ ผ้ใู ช้งานต้องเก่ียวข้องทกุ ขนั้ ตอนในการพฒั นา เพราะผู้ใช้จะตอบได้ว่าระบบท่ีพัฒนาตอบโจทย์ การใช้งานหรือไม่ ถ้ าไม่ก็พฒั นาตอ่ ถ้าใชก่ ็ต้องใช้ และ ปรับปรุงให้ครอบคลมุ ตอ่ ไป
2.การตดิ ต้งั ระบบทส่ี ามารถดูข้อมูลอย่างรวดเร็วระบบที่ติดตงั้ ต้องรวดเร็ว เข้าถงึ ข้อมลู ได้งา่ ย เช่น ผา่ นเวฟบราวเซอร์(WWW) ภายในหน่วยงานอาจเป็ นระบบปิ ด เชน่ EDI ,ERP ฯลฯสะดวกรวดเร็ วไหมหากสามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ ทุกท่ี ท่ีมีคอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพท์สมาร์ ทโฟน ทัง้ นีท้ ัง้ นัน้ บุคคลกรผู้ใช้ต้องมีความรู้ ในการใช้งาน
3.การตดิ ต้ังโดยการนาเสนอเชิงโครงสร้างการตดิ ตงั้ ชว่ ยในการบริหารระบบ ต้องจดั ทาเป็ นโครงสร้าง เพือ่ ให้การปรับปรุงแก้ไขทาได้เป็ นสดั สว่ น โดยอาจเสนอเป็ นลกั ษณะโครงสร้าง1.ความต้องการโครงการ(Project request)2.การสารวจระบบ(system investigation)3.การวิเคราะห์ความต้องการ(Analysis information needs)4.การวเิ คราะห์ต้นทนุ และผลประโยชน์(Cost/Benefit Analysis)5.การกาหนดรายละเอียดของระบบ(Specifying the system)6.การสร้างระบบ(Building the system)7.การควบคมุ โครงการ(Project control)8.การตดิ ตงั้ ระบบ(Installing the system)9.การทบทวนระบบ(Reviewing the system)
1.ความต้องการโครงการ(Project request)ต้องกาหนดขอบเขต วตั ถปุ ระสงค์ของผ้ใู ช้งาน จากความต้องการ รวมถงึ ปัญหาของในปัจจบุ นั ท่ีต้องการระบบมาใช้แก้ปัญหาข้อจากดั -การเงิน(Money) งบทม่ี ี << ไมม่ ีงบก็ไมค่ วรคิดตอ่ แตม่ นี ้อยก็คิดน้อยได้ -บคุ ลากร(People) ทกุ ฝ่ าย ทศั นคติ และ ความสามารถ -ฮาร์ดแวร์(Hardware) เป็นการตรวจสอบอปุ กรณ์ทีม่ หี าได้ -ความเป็นสว่ นตวั และความปลอดภยั (Privacy/Security)อาจเป็นระดบัการเข้าถงึ รวมถงึ ความปลอดภยั ของข้อมลู << ซเี รียส มาก เร่ืองความปลอดภยั -มาตราสว่ นเวลา(Time scale) เป็นการกาหนดเวลาท่ีแล้วเสร็จงานท่ีเป็นจริง -สภาพแวดล้อมทางธรุ กิจในอนาคต(Future Businessenvironment) รองรับการเปล่ยี นแปลง ซง่ึ สง่ ผลในการชาระเงนิ ลงทนุ คนื << คนื ทนุท่สี ร้างระบบ ทงั้ ทางตรง และโดยอ้อม
2.การสารวจระบบ(system investigation)ได้จากการรวมรวมเอกสารเก่ียวกบั ระบบเดิมท่ีใช้อยู่ ขนั้ ตอนการทางาน การร่างโครงสร้างของระบบอาจสามารถจดั ทาขนึ ้ จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ แตล่ ะฝ่ ายเพื่อให้ทราบความต้องการที่แท้จริง อาจใช้ผงั การไหลของข้อมลู (Data Flow diagrams) หรือพจนานกุ รมข้อมลู (Data Dictionary) หรือ บลอ็ กไดอะแกรม(Boxdiagrams)<< ร่างระบบเช่ือมความสัมพนั ธ์
3.การวเิ คราะห์ความต้องการ(Analysis information needs)เมื่อได้โครงสร้างแล้วนามาวเิ คราะห์ โดยต้องกาหนดอยา่ งระมดั ระวงั ระบบจะประมวลผล สงิ่ ที่ตามมาคือการถกู ต้องหรือไม่ ดงั นนั้ ต้องกาหนดตวับุคคลเพ่อื เข้ามารับผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจ ป้ องกันความผดิ พลาดเช่น การลดราคาจากปริมาณ จากประวตั กิ ารจา่ ยเงินลกู ค้า จากความเป็นสมาชิก จากโปรโมชน่ั ฯลฯ สง่ิ เหลา่ นีจ้ งึ ต้องระบผุ ้รู ับผิดชอบไว้** ระบบอาจกาหนดเป็ นความสามารถในการเข้าถงึ ความสามารถในการตดั สินใจ กาหนดตามงาน หรือฝ่ ายไว้ให้ชดั เจน เช่นการเงนิ ใช้งานเฉพาะการเงนิ จะเข้าถงึ การผลติ ไม่ได้ในบางส่วน เป็ นต้น
4.การวเิ คราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์(Cost/Benefit Analysis)การตดั สนิ ใจตดิ ตงั้ ระบบ นน่ั หมายถึงการลงทนุ การลงทนุ ก็หวงัผลประโยชน์ท่ีสะท้อนกลบั มา เช่นประสทิ ธิภาพ ลดต้นทนุ เดมิ ที่เป็นอยู่แก้ไขปัญหาเดมิ อยา่ งเป็ นระบบ โดยการเปรียบเทียบต้นทนุ ระบบเกา่ กบัต้นทนุ ระบบใหม่ อาจคดิ จากหลายปัจจยั-ประหยดั พืน้ ท่ีการสต๊อกสนิ ค้า-การจดั ซอื ้ ดขี นึ ้ เวลาถกู ต้อง บรรทกุ เตม็ เท่ียว-ลดข้อบกพร่องจากสนิ ค้าแตกหกั การขาดสต๊อก การขโมย-หลกี เล่ียงการสญู เสยี ยอดขาย-การใช้ประโยชน์ของพืน้ ที่ ไมต่ ้องเช่าพืน้ ที่ภายนอก-ลดเวลาของลกู หนี ้จากการใช้ EDI ในการวางบิล
5.การกาหนดรายละเอยี ดของระบบ(Specifying the system)กลา่ วถงึ สภาพปัจจบุ นั และวตั ถปุ ระสงค์ของระบบใหม่ ซง่ึ ต้องกาหนดความต้องการท่ีแท้จริง1.การร่างเอกสาร มีไว้ดวู า่ แตล่ ะฝ่ ายงานทาอะไร เพราะแตล่ ะฝ่ ายทางานแตกตา่ งกนั2.การกลน่ั กรอง รายละเอียดระบบต้องมกี ารกลน่ั กรองก่อนจดั ทาข้อเสนออยา่ งถาวร เช่น ทาโปรโมชน่ั เหมือนตรวจความถกู ต้องของข้อมลู3.การให้คาปรึกษา มีระบบการตรวจเช็คกบั ผ้เู ก่ียวข้อง ข้อเสนอแนะ4.การใช้งานได้ มีการทดสอบการออกแบบระบบ เพอ่ื ให้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ใช้งานได้จริง**หลังจากกาหนดรายละเอียดแล้ว ต้องนาเข้าพจิ ารณา อาจได้การยอมรับหรือตกี ลับได้ ผู้พฒั นาต้องเตรียมรับสถานการณ์
6.การสร้างระบบ(Building the system)การสร้างระบบอาจใช้โปรแกรมสาเร็จรูปที่มีผ้พู ฒั นาไว้แล้วนามาเชื่อมตอ่กบั ระบบใหม่ เพ่ือให้การทางานลดระยะเวลาในการพฒั นา หรือแยกระบบเป็นสว่ นๆ แผนงาน
7.การควบคุมโครงการ(Project control)อาจกาหนดเป็นระดบั เช่น ระดบั แรกตดิ ตงั้ ตามหนว่ ยงานโอนถ่ายงานให้แก่เจ้าหน้าท่ี นกั พฒั นาที่ดีควรมีการตดิ ตามผลงาน อย่าลืม คนใช้งานไม่ใช่โปรแกรมเมอร์ แต่เป็ นผู้ใช้งานจริงการสะท้อนกลับของผู้ใช้งานจริงถงึ โปรแกรมคุณดี ครอบคลุมแต่ผู้ใช้บอกขัน้ ตอนเยอะไป น่ันคอื ประเดน็ ท่ตี ้องพฒั นาต่อ
8.การติดต้งั ระบบ(Installing the system)การตดิ ตงั้ ระบบใหม่ แนน่ อนทกุ อย่างไม่เคยเกดิ ขนึ้ เช่นข้อมูล ช่ือบุคคลรับผิดชอบ เอกสาร ส่ิงเหล่านีท้ าด้วยมอื อาจต้องใช้เวลามากเชน่ ฐานข้อมลู ลกู ค้าอาจประกอบไปด้วย ชื่อ ท่ีอยู่ ประวตั ิ ฯลฯ นน่ั คอื สงิ่ ท่ีต้องบนั ทกึ ด้วยมือ
9.การทบทวนระบบ(Reviewing the system)เพ่อื ทาการตรวจสอบความถกู ต้องการใช้งานระบบ เพือ่ ตอบโจทย์ เช่น-สอดคล้องวตั ถปุ ระสงค์หรือไม่-ผ้ใู ช้ประสบปัญหาอะไรบ้าง-ระบบมีความปลอดภยั-ต้นทนุ ในการรักษาระบบ-ผลประโยชน์ท่ีตงั้ ไว้เป็ นจริงหรือไม่-มีประสทิ ธิผลหรือไม่-ต้องเสริมด้านใด
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: