บทท่ี 2 ระบบบาร์โค๊ดและ ระบบ RFID (Barcode system and RFID)
1.ภาพรวมของระบบบาร์โคด๊ (Barcode system)เครื่องอา่ นบาร์โค๊ดแทนการพมิ พ์ที่แป้ นพมิ พ์ ทาให้สามารถป้ อนข้อมลู ในคอมพิวเตอร์ด้วยความเร็วสงู ต้นทนุ ต่า นาไปใช้ในการรับสินค้าจดั เกบ็ หยบิ จัดส่ง จ่ายเงนิ ตดิ ตาม เป็ นระบบที่ใช้มากท่ีสดุ เม่ือเทียบกบั ระบบอ่นื ด้วยแท่งสดี าตดั กบั สขี าวหรือสีพืน้ เรียงเป็นแนวตงั้ ความกว้างของช่องและความหนาของแทง่ คือ รหสั ไบนาร่ีโค๊ด(binary code)แถบบาร์โค๊ดจะถกู อา่ นด้วยเคร่ืองอา่ นแบบเลเซอร์ สะท้อนแสงกลบั อา่ นคา่ตามลกั ษณะแทง่
2.รหสั สากล (Standard symbol)รหสั บาร์โค๊ดมีหลายชนิด ที่นิยมจะเป็น GS1Barcode ซง่ึ จะมีหลายมาตรฐานมหี ลายมาตรฐาน ยคุ แรกเร่ิมใช้มาตรฐาน EAN (Eroeanaeticle number)คอื ข้อมลู 13 หลกั แบง่ ข้อมลู เป็นเป็น 3 สว่ น
รหสั แบบ codabarใช้ในแวดวงการแพทย์ หรือวงการที่เก่ียวกบั ความปลอดภยั เช่นโรงงานไฟฟ้ าพลงั งานนวิ เคยี ร์เป็ นต้น
รหสั แบบ 2/5 interleavedใช้ในอตุ สาหกรรมรถยนต์ ต้คู อนเทนเนอร์ และอตุ สาหกรรมหนกั ๆ ปัจจบุ นัไมค่ อ่ ยมีใช้ปัจจบุ นั พบน้อยมาก ยงั มีการใช้อยบู่ ้าง เช่น ตว๋ั สายการบนิ
Code 39ใช้กบั กระบวนการผลติ การขนสง่ ปกหลงั หนงั สอื จะยาวๆหนอ่ ย
2.1 EAN/UCC สญั ลกั ษณ์รหสั แท่งที่ใช้ ณ จุดขายEAN-8 EAN-13UPC-A UPC-E
2.2 สญั ลกั ษณ์ ITF-14เป็นสญั ลกั ษณ์ที่ถกู จากดั ขอบเขตการใช้ เพือ่ เป็นบาร์โค๊ดสาหรับบง่ ชี ้เลขหมายบนหีบสนิ ค้า เพอื่ การรับสง่ สนิ ค้า ไมไ่ ด้ใช้สาหรับการขายปลกีเหมาะกบั การพิมพ์ลงบนกระดาษลกู ฟกู (กลอ่ ง)
2.3 สญั ลกั ษณ์ EAN/UCC-128เป็ นสญั ลกั ษณ์ที่มีความยาวหลากหลาย ขนึ ้ อยกู่ บั ความยาวของรหสั รหสัยาวแท่งก็ยาวตาม
2.4 RSS(Reduced space symbology)เป็ นบาร์โค๊ดท่ีพฒั นาขนึ ้ จาก EAN ประกอบด้วยเลข 14 หลกั (14-digit)อยใู่ นกลมุ่ เลขหมายสากลทางการค้าเรียกวา่ GTIN(Globaltrade item Number) RSS ออกแบบมาให้บง่ ชีส้ ินค้าได้สมบรู ณ์แบบมีขนาดเลก็ กะทดั รัดบรรจขุ ้อมลู ได้มาก เหมาะกบั สนิ ค้าท่ีมีข้อมลูจานวนมากเชน่ พชื ผกั ผลไม้ ขวดยา วคั ซีนขนาดเลก็ เป็นต้น
2.5 บาร์โคด๊ 2 มิติ(2 Dimension codes)เป็นระบบ auto ID แบบใหมท่ ี่พฒั นามาจากระบบบาร์โค๊ดเน่ืองจากบาร์โค๊ดมีขนาดใหญ่และกินพืน้ ที่มากในการจดั เก็บข้อมลู ลกั ษณะ 2Dcode จงึ เป็นรูปเส้นที่มี cells เลก็ ๆสดี า สามารถอา่ นได้ทงั้ แนวตงั้ และแนวนอน การอ่านโค๊ดใช้การจบั ภาพ ไมใ่ ชก่ ารยงิ่ เลเซอร์เหมือนปกติ ใช้ในอตุ สาหกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์มากขนึ ้ เพราะมขี นาดเลก็ สามารถเขียนไปบนชิน้ งานได้โดยตรงRSS 2D
ขอ้ จากดั ของการใชง้ านเทคโนโลยบี าร์โคด๊คือ ต้องจ่อยงิ เพ่อื อ่านจากสินค้า และต้องอ่านคราวละชนิ้ หากสนิ ค้าเกิดรอยเปื้อน ชืน้ ลอยถลอก ฉีกขาด เคร่ืองจะไม่สามารถอ่านด้วยตนเอง พนักงานอาจต้องกดป่ ุมรหสั แทนเคร่ืองอ่าน ถึงแม้ภาพรวมจะรวดเร็วกวา่ การจดบนั ทกึ ด้วยมือก็ตาม (นกึ ถึงตอนเราไปยนืเข้าแถวคดิ ถงึ ท่ีห้างฯ)
การใช้รหสั สากลต้องขนึ ้ กบั สถาบนั รหสั สากล สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ GS1 Thailand จงึ จาเป็นต้องมีเลขหมาย GTINเฉพาะเจาะจงสาหรับสนิ ค้าแตล่ ะชนดิ เพ่ือแบง่ แยกความหมายในแตล่ ะอยา่ ง มกี ฏเกณฑ์หลายอยา่ งที่สมาชิกต้องยดึ ถือ นอกจากนนั้ ยงั มี เลขหมายท่ีตงั้ สากล (GLN:Global location Number)มี 13 หลกั ประเทศไทยจะขนึ้ ต้นด้วย 885 ตามด้วยรหสั บริษัท 6 หลกั และGLN อีก 3หลกั เลขตรวจสอบ(Check Digit) อีก 1 หลกั
3.สลากบาร์โคด๊ (Barcode Label)บาร์โค๊ดมีข้อจากดั เร่ืองความชดั เจนหากฉลากเสยี หาย นน่ั หมายความวา่เคร่ืองอา่ นไมไ่ ด้มีปัญหาทนั ที ฉลากเป็ นองค์ประกอบสาคญั ในการแทนข้อมลู ดงั นนั้ จงึ ต้องเลอื กฉลากได้เหมาะสมกบั งาน
3.1 องคป์ ระกอบของสลาก (Label Component)1.ผิวหน้าสลาก(face stock) มีทงั้ กระดาษและสารสงั เคราะห์ (ผวิมนั ) มีหลายขนาด หลายสี2.กาว(adhesive) กาวแตกตา่ งกนั ผวิ หน้าเรียบกาวบาง ผวิ ขรุขระกาวหนา มีทงั้ ใช้แล้วลอกได้และถาวร บางกาวมีความไวตอ่ ความร้อนอณุ หภมู ิความเยน็3.แผ่นลอก(release line) คือแผน่ รองด้านลา่ งสว่ นมากเป็นสีเหลอื งออ่ นและขาว ผิวมนั ไมด่ ้านชว่ ยในการลอกผวั หน้าสลากออก
3.2 ขอ้ ควรพิจารณาเก่ียวกบั สลาก1.อายกุ ารใช้งาน2.เคร่ืองอา่ น3.โอกาสที่เครื่องอา่ นจะขดู บาร์โค๊ดบนผวิ หน้า4.สามารถใช้กบั เคร่ืองพมิ พ์ที่มีอยู่5.รูปแบบการเลอื กมีเดีย
4.เครื่องอ่านบาร์โคด๊ปัจจบุ นั จาแนกเคร่ืองอา่ นเป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ คอื แบบสมั ผสั และไมส่ มั ผสันอกจากนนั้ ยงั แยกประเภทตามลักษณะการเคล่ือนย้ายได้ คอื1.เคร่ืองอา่ นแบบเคลอ่ื นย้ายได้ เอาไปไหนก็ได้ พกพา นา้ หนกั เบา2.เคร่ืองอา่ นแบบยดึ กบั ที่ ตดิ ตงั้ ตรงตาแหนง่ นิยมอา่ นกลอ่ ง ถงุ สนิ ค้าสาเร็จรูป ลดคนปฏบิ ตั งิ าน
4.1 เคร่ืองอ่านแบบสมั ผสั (contact scanners)เป็ นเครื่องอา่ นท่ีต้องสมั ผสั กบั บาร์โค๊ดโดยตรง แบง่ เป็ นสองกลมุ่1. เครื่องอา่ นแบบปากกา2. เครื่องอา่ นบตั ร
4.2 เคร่ืองอ่านแบบไม่สัมผสั (non contact scanner)มีหลายรูปแบบ คล้ายปื นท่ีเหน็ ตามร้านค้าปลกี เหมาะกบั การเข้าถงึ สนิ ค้าในพืน้ ท่ียากเข้าถงึ อาจอยหู่ า่ ง ฉลากถกู ห่อห้มุ อีกชนั้ แบง่ เป็นหลายชนดิ4.2.1 เครื่องอา่ นแบบ CCD(charge coupled Devicescanner)4.2.2 เครื่องอา่ นแบบเลเซอร์(laser scanner)
4.2.1 เคร่ืองอ่านแบบ CCD(charge coupled Device scanner) อาศยั แสงสะท้อนจากรหสั แทง่ และชอ่ งวา่ ง ความแมน่ ยาสงู กวา่ แบบ เลเซอร์ มีเลนด้านในปรับโฟกสั ทางานเหมอื นกบั กล้อง เม่ือไม่มีการใช้งาน จะตดั วงจรไฟใช้ได้ดใี นกรณีการอา่ นที่เป็ นแนวเส้นตรง อา่ นได้รวดเร็วกวา่ แบบเลเซอร์ เพราะแบบเลเซอร์จะอา่ นทีละแท่ง แบบ CCD จะอา่ นพร้อม กนั ทีเดยี วทกุ แทง่ ข้อเสยี คือขนาดความยาวของรหสั ในการอา่ นสนั้ 4.5 นิว้ (ประมาณ) *** ระบบนีค้ ดิ ถึงโทรศพั ท์เวลาสแกนควิ อาร์โค๊ดได้เลยครับ
4.2.2 เครื่องอ่านแบบเลเซอร์(laser scanner)ดกี วา่ ปากกาลาแสง อา่ นได้ระยะไกลมากที่สดุ (เคยเลน่ ๆนะ 10 เมตรแต่รหสั ต้องใหญ่มากๆเหมือนกนั ) เหมาะกบั คลงั การหยบิ สินค้า ใช้ได้ด้วยการกดสวติ ซ์เม่ือต้องการใช้อ่าน จะเกิดแสงวิง่ ผา่ นกระจกเงามีทงั้ แบบตดิ ตงั้ กบั ท่ีและแบบเคลือ่ นย้ายได้ ข้อดรี หสั แท่งขนาดเลก็ อา่ นได้ดี ไม่ฟ้ งุกระจายออกนอกเขตในการอ่าน ข้อเสีย แพง กระจกมวั หรือขีดขว่ นอา่ นพลาด ระวงั กระจกเกิดรอย ไมเ่ หมาะกบั พนื ้ ท่ีร้อนสงู มีทงั้ แบบเส้นเดยี วและหลายเส้น
เครื่องอ่านแบบเลเซอร์เส้นเดียวเป็ นเคร่ืองที่ยิงแสงเส้นเดยี ว ราคาถกู สดุ แหละ ต้องยงิ ลาแสงให้ถูกทศิ ทางตามภาพประกอบครับ ตอ่ เข้ากบั คอมพวิ เตอร์โดยตรง มีทงั้ แบบมีสายและไมม่ ีสายครับ
เครื่องอ่านแบบเลเซอร์แบบหลายเสน้เครื่องอา่ นแบบหลายเส้น เป็นเครื่องเพ่มิ ขีดความสามารถมากขนึ ้ แตก่ ็ต้องอา่ นให้ตรงทิศทางเหมือนแบบเส้นเดยี ว แตเ่ คร่ืองจะอา่ นบางเส้นที่สมบรู ณ์ได้เคร่ืองอา่ นแบบหลายเส้นหลายทิศทาง วางตรงไหนก็ได้
เคร่ืองอ่านแบบเลเซอร์ชนิดโฮโลแกรม(Hologram laser scanner)เหมาะกบั คลงั ท่ีเป็ นสายพานลาเลียง ตดิ ตงั้ กบั ท่ี ใช้ดสิ ที่เรียกวา่ โฮโลแกรม ในการหมนุ เพื่ออา่ น การหมนุ คือการกวาดลาแสงผ่านรหสั แท่งอยา่ งรวดเร็ว จะได้สญั ญาณสะท้อนกลบั เพื่อประมวลผล ข้อเสีย การตดิ ตงั้ ทาได้ยากมากต้องเซตคา่ ต้นทนุ สงู ข้อดี ความถกู ต้องแมน่ ยาสงู มีขอบเขตในการอา่ นกว้าง อา่ นของท่ีเคล่อื นไหวได้ ไม่ต้องใช้คนแนน่ อนได้ผลมีประสิทธิภาพสงู
เครื่องอ่านแบบตดิ ต้งั ในทช่ี นิดลาแสงอยู่กบั ท่ี(Fixed beam scanner)เป็นแบบไมส่ มั ผสั โดยลาแสงจะอยกู่ บั ท่ีจดุ เดยี วตายตวั สนิ ้ ค้าจะวิง่ ผ่านทามมุ 90 องศา เครื่องจะทาการอา่ น
เคร่ืองอ่านแบบตดิ ต้ังในทชี่ นิดลาแสงเคลอื่ นท่ี(Moving beam scanner)เป็ นประเภทเคล่ือนย้ายลาแสง เม่อื สนิ ค้าเคล่อื นท่ีมาตาแหนง่ ที่ตดิ ตงั้ ไว้หวั อา่ นจะยกตวั ไปยงั ตาแหน่งที่ติดบาร์โค๊ดแล้วอา่ น ซง่ึ ระบบอา่ นอาจเป็นแบบมือถือแบบยงิ เลเซอร์
สถานีรับข้อมูลแบบเคลอื่ นย้ายได้(Portable data Entry terminals)เป็ นเคร่ืองอา่ นบาร์โค๊ดที่สง่ สญั ญาณข้อมลู ไปท่ีคอมพวิ เตอร์สามารถเคลื่อนย้ายไปในที่ตา่ งๆ เช่ือมตอ่ กบั คอมพิวเตอร์โดยตรงไปที่เคร่ืองรับสญั ญาณเพ่ือแปลสญั ญาณกอ่ นเข้าสคู่ อมพวิ เตอร์อีกครัง้ เรียกกนั กวา่เคร่ืองรับข้อมลู มีทงั้ แบบมีเสาและไม่มี ถงึ ไม่มีเสาก็สง่ สญั ญาณได้ครับ
5.เคร่ืองพมิ พบ์ าร์โคด๊ (bar code Printing)5.1 เครื่องพิมพ์แบบกระดกเพ่ือสร้างภาพ(Formed font)5.2 เคร่ืองพมิ พ์แบบดอทเมตริกซ์(Dot matrix)5.3 เครื่องพมิ พ์แบบถ่ายความร้อนผา่ นวสั ดอุ ่ืน (Thermal Transfer)5.4 เครื่องพิมพ์เลเซอร์(Laser)5.5 เครื่องพิมพ์อิงค์เจท(Ink jet)5.6 เครื่องพมิ พ์แบบอตุ สาหกรรม
5.1 เครื่องพมิ พ์แบบกระดกเพอื่ สร้างภาพ(Formed font) ปริน้ เตอร์โบราณ มีเก็บไว้เป็นท่ีระลกึ ของเก่า เป็นเทคโนโลยีเดียวกนั กบั เครื่องพิมพ์ดดี ไฟฟ้ า ดดี ตวั อกั ษรไปลงบนกระดาษ ทาให้เกิดตวั อกั ษรเพราะกระดาษริบบอน
5.2 เคร่ืองพมิ พ์ดอตแมทริกซ์ (Dot-matrix printer)เป็ นปริน้ เตอร์ท่ีใช้วธิ ี กดตวั อกั ษรลงบนกระดาษโดยมีกระดาษหมกึ สามารถทาได้รวดเร็ว ทนทาน ไม่เป็ นท่ีนิยมเพราะคณุ ภาพตา่ เหมาะกบั พิมพ์อกั ษรมากกวา่ บาร์โค๊ด ต้นทนุ ต่าเหมาะกบั ร้านค้าปลีก** กย็ งั พอมีให้เหน็ อย่บู ้างนะครับไม่ถงึ กับเลิกใช้ไปแล้ว
5.3 เครื่องพมิ พ์แบบถ่ายความร้อนผ่านวสั ดุอน่ื (Thermal Transfer)ถ่ายความร้อนลงบนกระดาษริบบอนหลอมตดิ กบั สลาก ริบบอนใช้งานได้ครัง้เดยี วอณุ หภมู ิสงู จะดามาก ข้อดี พมิ พ์รวดเร็ว คณุ ภาพดี ไม่ต้องกงั วลกบัปริมาณที่พิมพ์ มีทงั้ ขนาดเลก็ กลาง จนถึงระดบั อตุ สาหกรรม ราคาถกู ข้อเสยีคอบาร์โค๊ดที่พิมพ์ออกมาอา่ นบนพืน้ ที่แสงจ้ายาก กระดาษที่เอามาปริน้ เป็ นชนิดพเิ ศษ อ่อนไหวตอ่ ลายนิว้ มือคนนาไปใช้*** จงึ เป็ นปริน้ เตอร์ท่นี ิยมมากในงานบาร์โค๊ด
5.4 เคร่ืองพิมพเ์ ลเซอร์(Laser)ลกั ษณะการพิมพ์ของ printer ประเภทนี ้ ใช้เทคโนโลยีเดียวกบั เครื่องถา่ ยเอกสาร คอื ยงิ เลเซอร์ไปสร้างภาพบนกระดาษในการสร้างรูปภาพ หรือตวั อกั ษร ซงึ่ ผลลพั ธ์ท่ีออกมาจะมคี ณุ ภาพสงู มากกวา่ เครื่องพิมพ์แบบพน่หมกึ ลกั ษณะหมกึ เป็ นหมกึ ผง
5.5 เคร่ืองพมิ พ์แบบพ่นหมกึ (Inkjet printers)มีลกั ษณะการพน่ หมกึ เป็นภาพอกั ษรลงบนกระดาษบ้างเรียกแบบหวั ฉีดราคาถกู นิยมใช้มากที่สดุ ข้อดีคอื ถกู ข้อเสีย ต้องปริน้ บอ่ ยป้ องกนั หวั หมกึแห้งตนั ไม่ควรปริน้ คราวละหลายหน้าพร้อมกนั และไมค่ วรปลอ่ ยให้หมกึหมด ไมเ่ หมาะกบั งานกลางแจ้ง กระดาษที่ใช้ไม่สามารถสมั ผสั นา้ ได้
5.6 เครื่องพิมพแ์ บบอตุ สาหกรรมหากต้องการใช้รหสั แทง่ ปริมาณสงู สามารถทาได้หลายวิธีแบบพน่ แบบหมนุ รอบ สิง่ ปริน้ ออนไล หรืออตุ สาหกรรมขนาดใหญ่โดยใช้บริการจากหน่วยงานรับทาบาร์โค๊ด
http://www.dafont.com/theme.php?cat=711เข้าเวปสามารถดาวโหลด font มาใสก่ บั คอมพวิ เตอร์ได้ มเี ยอะมากเลอื กใช้ได้เหมาะสมกบั เครื่องอา่ นครับ
แตกไฟลท์ ี่ดาวโหลดมา และทาการ install เพื่อติดต้งั เป็น อนั แลว้ เสร็จ
ทดสอบการพิมพบ์ าร์โคด๊ เลือกfont ที่ดาวโหลดมาจะได้ รหสั แท่งทนั ที ง่ายมาก
เอาไปใชก้ บั โปรแกรม Excel กไ็ ดน้ ะครับ
รหสั บ่งชโี้ ดยใช้ความถ่ขี องคล่ืนวิทยุ(Radio Frequency identification :RFID )
1. ความเป็ นมาของรหัสบ่งชี้ชนิดอ่านด้วยคลนื่ วทิ ยุRFID ช่ือเตม็ ๆ ก็คอื Radio Frequency Identification(แปลแบบเส่ียวๆ บัตรประจาตัวด้วยคล่ืนความถ่ีวิทยุ) การระบุข้อมูลส่ิงต่างๆ โดยใช้คล่ืนความถ่ีวิทยุ ซ่ึงพวกเราทุกคนคงจะคุ้นเคยกับระบบนีเ้ ป็ นอย่างดี เพราะว่า RFID ถูกนาเข้ามาใช้ในชีวิตประจาวันของเราอย่างหลากหลาย เพียงแต่ว่าเราจะรู้หรือไม่เท่านัน้ เองว่าส่ิงเหล่านัน้ ใช้เทคโนโลยี RFID
หลงั จากโลกใช้ระบบบาร์โค๊ดมายาวนาน ถงึ เวลานวตั กรรม RFID เป็ นเครื่องมอื ในการติดตามสนิ ค้ามคี วามแมน่ ยาสงู ตลอดทงั้ ระบบซพั พลายเชน เช่นคลงั สนิ ค้า ศนู ย์กระจายสนิ ค้า งานโลจิสติกส์ การจดั การคลงัการค้าปลกี ค้าสง่ ห้างสรรพสนิ ค้า การตดิ ตามสนิ ค้า ฯลฯ
ห้างสรรพสนิ ค้าทว่ั ไป ซง่ึ ตรงทางเข้าหรือทางออก เราจะต้องเดนิ ผา่ นเคร่ืองอา่ นประเภทให้คนเดินผ่าน ซง่ึ ก็คอื หนงึ่ ในเทคโนโลยี RFID ที่ถกูนามาใช้เพือ่ ป้ องกนั การขโมยสนิ ค้า หลกั การคือ จะตดิ ป้ าย (ศัพท์ทางRFID เรียกว่า Tag) ไว้กบั สินค้าท่ีต้องการ Detect ซง่ึ ในเวลาซอื ้ปกติ ทางพนกั งานจะดงึ ป้ ายนีอ้ อก หรืออาจจะมีการเปลย่ี นแปลงข้อมลู ท่ีป้ าย เพ่ือจะไมใ่ ห้เกิดเสยี งดงั เวลาที่ผา่ นเครื่องอา่ น ในกรณีที่มกี ารขโมยสนิ ค้า ตวั ป้ ายนีจ้ ะยงั อยตู่ ดิ กบั ตวั สนิ ค้า เมื่อผา่ นเคร่ืองอา่ น เครื่องจะสง่เสยี งดงั ให้ทราบ
ตวั อยา่ ง tag ของ RFID ต่างๆ
ในบางประเทศเช่นอเมริกาลกู ค้ารายใหญ่สง่ ออกของไทยนนั้ ตงั้ กฎเหล็กให้สนิ ค้าท่จี ะไปวางขายท่นี ่ัน ต้องมี RFID ถ้าคดิ ดใู ห้ดกี ารทามนั ก็ไม่ตา่ งจากบาร์โค๊ด (ม้าลายใบ้คา) ผมบอกงีน้ ะ บาร์โค๊ดเวลาคิดเงนิ ได้ทีละชิน้ ลกู ค้ายนื รอยาว แต่ RFID คณุ เขน็ มาทงั้ ตะกร้า เคร่ืองอา่ นสามารถอา่ นได้รวดเร็วใช้เวลาไมก่ ่ีวินาที (เจง๋ กวา่ มาก) แตเ่ น่ืองจากเป็นเทคโนโลยีท่ีราคาสงู สงู อยา่ งไร เอ้า บาร์โค๊ดปริน้ โดยใช้หมกึ ครับ tag ใช้ชิฟและวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ครับ จงึ เหมาะกบั สนิ ค้าที่มีราคาแพงหนอ่ ย เชน่ รองเท้าโทรศพั ท์ กระเป๋ า พวกของสาเร็จรูปอาจยงั ไมก่ ล้าลงทนุ เม่ือไหร่ท่ีเทคโนโลยีถกู ลงครับ RFID พลกิ โลก (ให้นักเรียนอ่านหน้านีท้ งั้ หน้าแล้วจะเข้าใจ)
2.ความหมายของ RFIDมนั เป็นป้ ายที่ฝังไมโครชิฟชนิดท่ีไมจ่ าเป็นต้องใช้พลงั งาน เชื่อมสญั ญาณด้วยเสาอากาศ ทาได้รวดเร็วผา่ นคลื่นวทิ ย(ุ RF)ผา่ นเคร่ืองอา่ นท่ีเรียกว่าระบบบง่ ชีอ้ ตั โนมตั ิ(Auto-ID)สามารถเก็บข้อมลู ได้มหาศาล เป็นเทคโนโลยีคล้ายสมาร์ทการ์ดมาก แต่ RFID ไมไ่ ด้อยใู่ นรูปแบบบตั รเครดติ เสมอไป ความแตกตา่ งหนงึ่ ท่ีนา่ สนใจแตกตา่ งจากสมาร์ทการ์ดคอืการบนั ทกึ ข้อมลู สมาทการ์ดจะสมั ผสั กบั เครื่องโดยตรงเพ่ือบนั ทกึ แต่RFID ไม่ต้องสมั ผสั สามารถตดิ ตอ่ โดยตรงได้กบั เคร่ืองอ่ืนด้วยคลืน่ วทิ ยุทนั ที อยา่ งไรก็ตามแม้ RFID จะยงั ต้นทนุ สงู ก็ถือได้เปรียบกวา่ ระบบบง่ ชี ้ชนิดอ่ืนๆ (คาดว่าระบบนีจ้ ะถกู ลงครับ)
3.ประโยชนข์ องระบบ RFIDลดต้นทนุ << ลดแรงงานคือลดต้นทนุ ลดข้อบกพร่องของมนษุ ย์เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ<< ลดความบกพร่องในการทางานเพิ่มรายได้<<เมื่อการบกพร่องสญู เสียตา่ ควบคมุ สนิ ค้าคงคลงั ได้ยอดขายเพ่มิ รายได้ก็เพม่ิลดเงินทนุ <<เริ่มแรกอาจทนุ สงู เมือ่ มรี ะบบแล้วทกุ อยา่ งจะลดลงตาม เช่นรู้จานวนสต๊อกรเพือ่ ลดการสต๊อกท่ีมากเกิน หรือน้อยเกินปรับปรุงบริการ<< บริการรวดเร็วขนึ ้ ลกู ค้าไมร่ อนาน สนิ ค้าขาดมือน้อยลงเพ่ิมความสามารถในการทากาไร ฯลฯ
4.มาตรฐาน และรหัสผลติ ภณั ฑ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Product Code)RFID ใช้ความถ่ีในการอา่ นข้อมลู ดงั นนั้ ทกุ ชว่ งความถ่ีในการใช้งานหากไปชนกบั ความถี่อื่นหรือถกู รบกวนจะสง่ ผลผดิ พลาดให้กบั ระบบ ดงั นนั้ ความถ่ีต้องดาเนินงานภายใต้ความเป็ นสากลจากการที่เทคโนโลยี RFID มีการขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว จงึ มีความจาเป็ นที่จะต้องมีการกาหนดมาตรฐานโลกในการใช้งาน เพื่อให้ผ้ผู ลติ หรือผ้ใู ช้งานสามารถบริหารและจดั การการใช้งานเทคโนโลยีได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และในกระบวนการพฒั นามาตรฐานจาเป็ นจะต้องเป็ นท่ียอมรับและสามารถใช้งานได้ในทกุ ประเทศทวั่ โลกและเครื่องอา่ นทกุ ยี่ห้อสามารถทางานได้ที่ความถี่ที่เข้ากนั ได้ และรหสั ข้อมลู ตา่ งๆ มีความเข้าใจตรงกนั ภาคอตุ สาหกรรมและการสง่ ออกจากประกาศ ของสานักงานคณะกรรมการกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ให้ใช้ย่านความถ่ีสาหรับ RFID ในประเทศไทย
5.การทางานของ RFID การทางานคือการสง่ ข้อมลู โดยอาศยั คลื่นวทิ ยจุ ากอปุ กรณ์ตวัสง่ ไปยงั อปุ กรณ์ตวั รับ เป็ นการลดความผิดพลาดในการพิมพ์บาร์โค๊ดหรือความผดิ พลาดจากมนษุ ย์เทคโนโลยที ่ัวไป ระบบ RFID ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วนหลักๆ 1.ป้ าย (Tag, Transponder) 2.เคร่ืองอ่านป้ าย (Reader, Interrogator) 3.ฮาร์ดแวร์ หรือ ระบบท่ใี ช้ประมวลผล
Search