Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore network sistem

network sistem

Published by free.fawnn, 2020-02-10 07:52:54

Description: network sistem

Search

Read the Text Version

Network system เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น

ระบบเครือขา่ ยเบือ้ งต้น พืน้ ฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จดุ ประสงค์ของการประดษิ ฐ์คอมพวิ เตอร์ใช้ในสมยั แรก ๆ นนั้ เพือ่ ให้คอมพวิ เตอร์ได้ ทางานบางอยา่ งแทนมนษุ ย์ได้ เชน่ การคานวณเลข ซงึ่ ถ้าเป็ นตวั เลขจานวนมาก ๆ มนษุ ย์จะใช้ เวลาในการคานวณมากและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดได้มาก ในขณะที่คอมพิวเตอร์สามารถ คานวณได้เร็วกวา่ มาก อีกทงั้ ยงั มีความแม่นยาและมีความผดิ พลาดน้อยกวา่ มนษุ ย์มาก การ ทางานจะให้มีประสิทธิภาพสงู จะ ต้องทาเป็ นหมคู่ ณะ หรือทีมเวิร์ค (Teamwork) คอมพวิ เตอร์ ก็ซงึ่ ถกู สร้างมาเพือ่ ทางานแทนมนษุ ย์ก็จาเป็นที่ต้องมีการส่ือสารซง่ึ กนั และกนั เช่นกนั การเชื่อมต่อ กนั เป็นเครือข่ายนนั้ เป็นสาเหตทุ ่ีเน่ืองมาจากการท่ีผ้ใู ช้ต้องการทางานเป็นกลมุ่ หรือทีม ซง่ึ การ ทางานแบบนีย้ ่อมมีประสิทธิภาพมากกวา่ การทางานแบบเด่ียว ๆ เมนเฟรมและดมั พ์เทอร์มินอล หลงั จากนนั้ ก็ได้มีการคดิ ค้นคอมพวิ เตอร์ท่ีมีขนาดเล็ก หรือเรียกวา่ ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) ซง่ึ ได้มีการใช้กนั อยา่ งแพร่หลายในปัจจบุ นั เนื่องจากราคาถกู กว่าเดิมและยงั

มี ประสทิ ธิภาพไมน่ ้อยไปกว่าเคร่ืองเมนเฟรมด้วย ควรจะทางานเป็นกล่มุ หรือทีม ซง่ึ การทางาน เป็ นกลมุ่ หรือทีมของคอมพวิ เตอร์นีจ้ ะเรียกว่า “ เครือขา่ ย (Network) ” เครือข่ายคอมพวิ เตอร์คืออะไร เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) คือระบบที่มีคอมพวิ เตอร์อยา่ งน้อยสองเครื่อง เชื่อมตอ่ กนั โดยใช้ส่ือกลาง และก็สื่อสารข้อมลู กนั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบของการส่ือสาร ปี 1960 แบบจาลอง SMCR ของเบอร์โล ( Berlo) ได้ให้ความสาคญั กบั ส่ิงต่าง ๆ คือ 1. ผ้สู ง่ สาร (Source) ต้องเป็ นผ้ทู ี่มีความสามารถเข้ารหสั (Encode) เนือ้ หา ขา่ วสาร ได้มีความรู้อย่างดีในข้อมลู ที่จะสง่ สามารถปรับระดบั ให้เหมาะสมสอดคล้องกบั ผ้รู ับ 2. ขา่ วสาร (Message) คือเนือ้ หา สญั ลกั ษณ์ และวธิ ีการสง่ 3. ช่องทางการสื่อสาร(Channel) ให้ผ้รู ับได้ด้วยประสาทสมั ผสั ทงั ้ 5 4. ผ้รู ับสาร (Receiver) ผ้ทู ี่มีความมารถในการถอดรหสั ( Decode) สารท่ี รับมา ได้อยา่ งถกู ต้อง การส่ือสาร หมายถงึ การนาส่ือหรือข้อความของฝ่ ายหนงึ่ ส่งให้อีกฝ่ ายหนง่ึ ประกอบด้วยผ้สู ง่ ข่าวสารหรือแหลง่ กาเนดิ ข่าวสาร

ดงั นนั้ เทคโนโลยีในการสื่อสาร คือ การเอาแนวคิด หลกั การ เทคนคิ ระเบียบวิธี กระบวนการ ผ่านชอ่ งทางการสง่ ข้อมลู ซง่ึ ทาให้ผ้รู ับ ได้รับและเข้าถึงข้อมลู ได้เร็วขนึ ้ เทคโนโลยีที่ ใช้ในการส่ือสารท่ีพบเห็น เช่น E-mail, Voice Mail, Video Conferencing เป็ นต้น ชนิดของสัญญาณข้อมูล ชนิดของสญั ญาณแบง่ ได้เป็น 2 ชนิดคือ 1.Analog signal เป็ นสญั ญาณตอ่ เน่ือง ลกั ษณะของคลื่นไซน์ sine wave ตวั อย่างการส่งข้อมลู ท่ีเป็ น analog คือการสง่ ข้อมลู ผ่านระบบโทรศพั ท์ Hertz คือหนว่ ยวดั ความถ่ีของสญั ญาณ โดยนบั ความถ่ีท่ีเกิดขนึ ้ ใน 1 วินาที เช่น 1 วนิ าทีมีการเปล่ียนแปลงของระดบั สญั ญาณ 60 รอบแสดงว่ามีความถ่ี 60 Hz 2.Digital สญั ญาณไมต่ อ่ เนื่อง ข้อมลู ในเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีเป็ นเลขฐาน 2 จะถกู แทนด้วยสญั ญาณ digital คือเป็ น 0 และ 1 โดยการแทนข้อมลู สญั ญาณแบบ Unipolar จะ แทน 0 ด้วยสญั ญาณไฟฟ้ าที่เป็นกลาง และ 1 ด้วยสญั ญาณไฟฟ้ าที่เป็นบวก Bit rate เป็ นอตั ราความเร็วในการส่งข้อมลู โดยนบั จานวน bit ท่ีสง่ ได้ในชว่ ง 1 วินาที เช่น สง่ ข้อมลู ได้ 14,400 bps (bit per seconds) ทศิ ทางการส่งข้อมูล ทิศทางการส่งข้อมลู สามารถจาแนกทิศทางการสง่ ข้อมลู ได้ 3 รูปแบบ ดงั นี ้(ศรีไพร ศกั ด์พิ งศากลุ และ เจษฎาพร ยทุ ธวบิ ลู ย์ชยั . 2549 : 100-101)

1. การสง่ ข้อมลู แบบทศิ ทางเดียว (Simplex transmission) เป็ นการส่ือสารข้อมลู ท่ีมีผู้ ส่งข้อมลู ทาหน้าที่สง่ ข้อมลู แตเ่ พียงอยา่ งเดียว และผ้รู ับข้อมลู ก็ทาหน้าท่ีรับข้อมลู แตเ่ พยี งอย่าง เดียวเชน่ กนั การสง่ ข้อมลู ในลกั ษณะนีเ้ชน่ การสง่ ข้อมลู ของสถานีโทรทศั น์ 2. การส่งข้อมลู แบบสองทศิ ทางสลบั กนั (Half-duplex transmission) เป็ นการสื่อสาร ข้อมลู ที่มีการแลกเปล่ียนข้อมลู ทงั้ ผ้รู ับและผ้สู ่ง โดยแต่ละฝ่ ายสามารถเป็นทงั้ ผ้รู ับและผ้สู ง่ ข้อมลู ได้ แตจ่ ะต้องสลบั กนั ทาหน้าท่ี จะเป็นผ้สู ่งและผ้รู ับข้อมลู พร้อมกนั ทงั้ สองฝ่ ายไม่ได้ เชน่ การ สื่อสารโดยวิทยุ 3. การสง่ ข้อมลู แบบสองทศิ ทางพร้อมกนั (Full-duplex transmission) เป็ นการสื่อสาร ข้อมลู ท่ีมีการแลกเปลี่ยนข้อมลู ของทงั้ ผ้สู ง่ และผ้รู ับข้อมลู โดยทงั้ สองฝ่ ายสามารถเป็นทงั้ ผ้สู ่ง ข้อมลู และผ้รู ับข้อมลู ได้ในเวลาเดียวกนั และสามารถสง่ ข้อมลู ได้พร้อม กนั เชน่ การส่ือสารโดยใช้ สายโทรศพั ท์ มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Protocols) บลูทธู (Bluetooth) บลทู ธเป็ นช่ือท่ีเรียกสาหรับมาตรฐานเรือขา่ ยแบบ 802.15 บลู ทธู เป้ นเทคโนโลยีไร้สายท่ีใช้การส่งข้อมลู ทางคลื่นวทิ ยุ (Universal Radio Interface) ไว-ไฟ (Wi-Fi) ไว-ไฟ ยอ่ มาจากคาว่า Wireless Fidelity คือมาตรฐานที่รับรองว่าอปุ กาณ์ไวร์เลว (Wireless LAN) สามารถทางานร่วมกนั ได้ และสนบั สนนุ มาตรฐาน IEEE802.11b ไว-ไฟ เป็นเทคโนโลยีอนิ เทอร์เนต็ ไร้สายความเร็วสงู ที่นยิ มใช้ท่ีสดุ ในโลก ใช้สญั ญาณ วทิ ยใุ นการรับส่งข้อมลู ความเร็วสงู ผ่านเครือข่ายไร้สายจากบริเวณที่มีการติดตงั ้ Access Point ไป ยงั อปุ กรณ์ท่ีใช้เชื่อมต่อ เช่นโทรศพั ท์มือถือ พดี ีเอ และโนตบคุ เป็นต้น

ไว- แมกซ์ (Wi-MAX) เป็ นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสดุ ท่ีคาดหมายกนั ว่าจะ ถกู นามาใช้งานที่ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในอนาคตอนั ใกล้นี ้ องค์ประกอบพนื้ ฐานของเครือข่าย การที่คอมพวิ เตอร์จะเชื่อมต่อกนั เป็ นเครือขา่ ยได้ ต้องมีองค์ประกอบพนื ้ ฐานดงั ต่อไปนี ้ - คอมพวิ เตอร์ อยา่ งน้อย 2 เคร่ือง - เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็ นการ์ดที่เสียบเข้ากบั ชอ่ งท่ี เมนบอร์ดของคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ เป็นจดุ เช่ือมต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอร์และเครือข่าย - สื่อกลางและอปุ กรณ์สาหรับการรับสง่ ข้อมลู เชน่ สายสญั ญาณ สว่ นสายสญั ญาณ ที่นิยมท่ีใช้กนั ในเครือข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคเู่ กลียวบิด และสายใยแก้วนาแสง เป็น ต้น ส่วนอปุ กรณ์ เครือข่าย เช่น ฮบั สวติ ช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็ นต้น - โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาท่ีคอมพวิ เตอร์ใช้ติดตอ่ ส่ือสารกนั ผ่าน เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ีสามารถสื่อสารกนั ได้นนั้ จาเป็นท่ีต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้โปรโตคอล เดียวกนั เชน่ OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็ นต้น - ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ยจะเป็นตวั คอยจดั การเกี่ยวกบั การใช้งานเครือข่ายของผ้ใู ช้แต่ละคน 1 เน็ตเวิร์คการ์ด เนต็ เวริ ์คการ์ดจะเป็นจดุ เช่ือมต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะ เรียกว่า “NIC (Network Interface Card)” หรือบางทีก็เรียกวา่ “LAN การ์ด (LAN Card)”

อปุ กรณ์เหลา่ นีจ้ ะทาการแปลงข้อมลู เป็นสญั ญาณท่ีสามารถส่งไปตามสายสญั ญาณหรือสื่อแบบ อ่ืนได้ ปัจจบุ นั นีก้ ็ได้มีการแบ่งการ์ดออกเป็นหลายประเภท ซง่ึ จะถกู ออกแบบให้สามารถใช้ได้กบั เครือข่ายประเภทแบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์เน็ตการ์ด โทเคนริงการ์ด เป็นต้น การ์ดในแต่ละ ประเภทอาจใช้กบั สายสญั ญาณบางชนิดเท่านนั้ หรืออาจจะใช้ได้กบั สายสญั ญาณหลายชนดิ เน็ตเวริ ์คการ์ด เนต็ เวิร์คการ์ดจะติดตงั้ อยกู่ บั คอมพวิ เตอร์ โดยเต้าเสียบเข้ากบั ชอ่ งบนเมนบอร์ดของ คอมพวิ เตอร์ สว่ นมากคอมพวิ เตอร์ที่ผลิตในปัจจบุ นั จะมีเฉพาะชอ่ ง PCI ซง่ึ ก็ใช้บสั ที่มีขนาด 32 บิต 2.สายสัญญาณปัจจบุ ันมีสายสัญญาณท่ใี ช้เป็ นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์มี อย่3ู ประเภท 2.1 สายค่บู ดิ เกลียว สายคบู่ ดิ เกลียว ( twisted pair ) ในแตล่ ะค่ขู องสายทองแดงซง่ึ จะถกู พนั กนั ตามมาตรฐาน เพือ่ ต้องการลดการรบกวนจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ ากบั คสู่ ายข้างเคียง ได้แล้วผา่ นไปยงั สายเคเบลิ เดียวกนั หรือจากภายนอกเท่านนั้ เน่ืองจากสายค่บู ดิ เกลียวนนั้ มี

ราคาไมแ่ พงมากใช้สง่ ข้อมลู ได้ดี แล้วนา้ หนกั เบา ง่ายต่อการติดตงั้ จงึ ทาให้ถกู ใช้งานอย่าง กว้างขวางตวั อยา่ งคือสายโทรศพั ท์สายแบบนีม้ ี 2 ชนิดคือ ก. สายคบู่ ดิ เกลียวชนดิ ห้มุ ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายค่บู ดิ เกลียวที่ห้มุ ด้วยฉนวนชนั้ นอกท่ีหนาอีกชนั้ ดงั รูป เพือ่ ป้ องกนั การรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า สายคบู่ ดิ เกลียวชนิดห้มุ ฉนวน ข. สายค่เู กลียวชนิดไม่ห้มุ ฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็ นสายค่บู ิด เกลียวที่ห้มุ ด้วยฉนวนชนั้ นอกด้วยซงึ่ บางทีก็ห้มุ อีกชนั้ ดงั รูป ซง่ึ ทาให้สะดวกในการโค้งงอ แตก่ ็ สามารถป้ องกนั การรบกวนของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ าได้น้อยกวา่ ชนดิ แรก สายค่บู ิดเกลียวชนิดไมห่ ้มุ ฉนวน 2.2 สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียล เป็ นตวั กลางการเช่ือมโยงที่มีลกั ษณะเชน่ เดียวกบั สายทีวีที่มีการใช้งานกนั อย่เู ป็นจานวนมากไม่วา่ จะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะท่ี

ลกั ษณะของสายโคแอกเชียล 2.3 เส้นใยแก้วนาแสง เส้นใยนาแสง ( fiber optic ) เป็ นการที่ใช้ให้แสงเคล่ือนที่ไปในท่อ แก้ว ซงึ่ สามารถส่งข้อมลู ด้วยเป็นอตั ราความหนาแน่นของสญั ญาณข้อมลู ที่สงู มาก ลกั ษณะของเส้นใยนาแสง 3. อุปกรณ์เครือข่าย อปุ กรณ์ท่ีนามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าท่ีจดั การเกี่ยวกบั การรับ- ส่งข้อมลู ในเครือข่าย หรือใช้สาหรับทวนสญั ญาณเพ่อื ให้การรับ-ส่งข้อมลู ได้ดี และสง่ ในระยะที่ไกลมากขนึ ้ หรือใช้ สาหรับขยายเครือขา่ ยให้มีขนาดใหญ่ขนึ ้ อปุ กรณ์เครือขา่ ยที่พบเห็นโดยทว่ั ไป เช่น ฮบั สวิตซ์ เราท์ เตอร์

3.1 ฮบั (Hub) ฮบั (HUB) คืออปุ กรณ์ที่ใช้เช่ือมกนั ระหว่างกล่มุ ของคอมพวิ เตอร์ ฮบั มีหน้าที่รับส่งเฟรม ข้อมลู ทกุ เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนง่ึ เพอ่ื สง่ ไปยงั ทกุ ๆ พอร์ตท่ีเหลือ คอมพวิ เตอร์ท่ี เช่ือมต่อเข้ากบั ฮบั จะแชร์แบนด์วธิ หรืออตั ราข้อมลู ของเครือข่าย ฮบั (HUB) 3.2 สวิตซ์ (Switch) สวติ ซ์ (Switch) หรือ บริดจ์ (Bridge) เป็ นอปุ กรณ์ที่ใช้สาหรับเช่ือมตอ่ LAN สอง เครือขา่ ยเข้าด้วยกนั โดยจะต้องเป็นLAN ชนิดเดียวกนั และก็ใช้โปรโตคอลในการรับสง่ ข้อมลู เหมือนกนั เช่น ใช้ในการเชื่อมต่อ Ethernet LAN ทงั ้ สองเครือข่ายเข้าด้วยกนั สวติ ซ์ (Switch) หรือ บริดจ์ (Bridge)

3.3 เราท์เตอร์ ( Routing ) เป็ นอปุ กรณ์ท่ีทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือขา่ ยกบั หลายระบบเข้าด้วยกนั ท่ีคล้ายกบั บริดจ์ แตก่ ็มีส่วนการทางานจะซบั ซ้อนมากกวา่ บริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยง ข้อมลู ระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็ นตารางเส้นทาง เรียกวา่ Routing Table ทาให้เราท์เตอร์ สามารถทาหน้าที่จดั หาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สดุ เพอื่ ใช้ในการเดินทาง และเพอื่ การติดตอ่ ระหว่างเครือขา่ ยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราท์เตอร์ ( Routing ) 3.4 โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพวิ เตอร์ ในแตล่ ะเคร่ืองอาจก็ต้องมีระบบท่ี เหมือนกนั หรือแตกต่างกนั การจาแนกประเภทของเครือข่าย โดยทวั่ ไปจาแนกประเภทของเครือขา่ ยมีอยู่ 3 วิธีคือ

1. ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามขนาดทางภมู ศิ าสตร์ ถ้าใช้ขนาดทางกายภาพเป็นเกณฑ์ เครือข่ายก็ต้องสามารถแบ่งออกได้เป็นสอง ประเภทคือ LAN หรือเครือข่ายท้องถิ่น และ MAN หรือเครือข่ายในบริเวณกว้าง LAN เป็ น เครือขา่ ยท่ีมีใช้ในขนาดเลก็ ท่ีครอบคลมุ พนื ้ ท่ีในบริเวณจากดั เชน่ ภายในห้อง หรือภายในอาคาร (Local Area Network หรือ Lan) 1.1 เครือข่ายท้องถ่ิน (Local Area Network หรือ Lan) เป็ นเครือขา่ ยระยะใกล้ใช้ กนั อย่ใู นบริเวณท่ีไมก่ ว้างมากนกั อาจอย่ใู นองค์กรเดียวกนั หรืออาคารที่ใกล้กนั 1 อีเธอร์เนต็ Ethernet อีเธอร์เน็ต (Ethernet ) เป็ นชื่อท่ีเรียกวธิ ีการสื่อสารในระดบั ลา่ งหรือที่เราเรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) ในระบบ LAN ชนิดหนง่ึ ที่พฒั นาขนึ ้ โดย 3 บริษัทใหญ่ 2 โทเคนริง (Token Ring) IEEE 802.5 หรือโทเคนริง (Token Ring) หรือมกั จะเรียกอีกอยา่ งวา่ ไอบีเอม็ โทเคนริง จดั เป็ น เครือข่ายที่ใช้ในโทโปโลยีแบบวงแหวนนีด้ ้วยสายคบู่ ิดเกลียว หรือเส้นใยนาแสง

3 ATM ยอ่ มาจากคาวา่ “ Asynchronous Transfer Mode” ไม่ได้มีความหมายถึงต้Aู TM ( Automatic Teller Machine) ท่ีเราใช้ถอนเงนิ สดจากธนาคาร ระบบเครือขา่ ยแบบกว้าง (Wide Area Network: WAN) ระบบเครือขา่ ยแบบกว้าง (Wide Area Network: WAN) ในระบบเครือขา่ ย WAN แบบบริเวณกว้าง โดยส่วนใหญ่แล้วก็จะเป็นเครือขา่ ยท่ี ระยะไกลเป็นระบบเครือขา่ ยท่ีเชื่อมโยงเครือขา่ ยแบบท้องถ่ินตงั้ แต่ 2 เครือขา่ ยขนึ ้ ไปเข้าไว้ด้วยกนั โดยผ่านระยะทางท่ีไกล 2. ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามหน้าท่ขี องคอมพวิ เตอร์ ท่ีกล่าวมาข้างต้น เป็ นเพียงการจาแนกประเภทของเครือขา่ ยตามขนาดพนื ้ ที่ที่ครอบคลมุ ถงึ เท่านนั้ ซงึ่ เม่ือใช้หลกั การนีแ้ ล้วเราสามารถแบง่ เครือขา่ ยออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 2.1 เครือขา่ ยแบบเพียร์ทเู พียร์ (Peer – To - Peer)

โดยเป็นการเช่ือมตอ่ ของเคร่ืองทกุ เครื่องท่ีใช้ในระบบเครือข่าย และยงั มีสถานะเทา่ เทียมกนั หมด โดยเป็นเครื่องทกุ เคร่ืองสามารถเป็ นได้ทงั้ เคร่ืองผ้ใู ช้บริการและผ้ใู ห้เครื่องบริการในขณะใด ขณะหนงึ่ 2.2 เครือข่ายแบบไคลเอนท์เซริ ์ฟเวอร์ (Client/Server Network) ถ้าระบบเครือข่ายมีคอมพวิ เตอร์ไมม่ ากนกั ควรสร้างเครือข่ายแบบเพยี ร์ทเู พียร์ เน่ืองจากงา่ ยและ ค่าใช้จา่ ยจะถกู กวา่ 2.3 ประเภทของเซริ ์ฟเวอร์ที่ให้บริการแบบต่าง ๆ ก. ไฟล์เซริ ์ฟเวอร์ (File Server) ข. พรินต์เซริ ์ฟเวอร์ Print Server ค. แอพพลเิ คชนั่ เซิร์ฟเวอร์ (Application Server) ง. อินเตอร์เนต็ เซริ ์ฟเวอร์ (Internet Server) ปัจจบุ นั อินเตอร์เน็ตนนั้ มีผลกระทบกบั เครือขา่ ยในปัจจบุ นั เป็ นอยา่ งมาก อินเตอร์เนต็ เป็น เครือขา่ ยท่ีมีขนาดใหญ่มากและมีผ้ใู ช้งานมากที่สุดในโลก เทคโนโลยีที่ทาให้อนิ เตอร์เนต็ เป็นที่ นยิ มก็คือ เวบ็ และอีเมล์ เพราะทงั้ สองแอพพลิเคชน่ั ทาให้ผ้ใู ช้สามารถแลกเปล่ียนข้อมลู และ สื่อสารกนั ได้งา่ ยและมีรวดเร็ว - เว็บเซริ ์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เซริ ์ฟเวอร์ท่ีให้บริการข้อมลู ในรูปแบบ HTML (Hyper text Markup Language)

- เมลเซริ ์ฟเวอร์ (Mail Server) คือ เซริ ์ฟเวอร์ที่ให้บริการรับ - ส่ง จดั เก็บ และจดั การ เกี่ยวกบั อีเมลของผ้ใู ช้ 3. ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล อีกวธิ ีหนง่ึ ในการแบง่ ประเภทของเครือข่ายคือ การใช้ระดบั ความปลอดภยั ของข้อมลู ซงึ่ จะแบ่ง ออกได้เป็ น 3 ประเภทด้วยกนั ก็คือ อนิ เตอร์เนต็ (Internet) ,อินทราเน็ต (Intranet) ,เอ็กส์ตรา เน็ต (Extranet ) 3.1 อนิ เตอร์เน็ต(Internet) อินเตอร์เน็ต (Internet) นนั ้ เป็ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ท่ีนาก่อตงั ้ โดย กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา อนิ เตอร์เน็ตในสมยั ยคุ แรก ๆ 3.2 อินทราเนต็ (Internet) ตรงกนั ข้ามกบั อินเตอร์เน็ต อนิ ทราเนต็ เป็นเครือข่ายส่วนบคุ คลท่ีใช้เทคโนโลยี อนิ เตอร์เน็ต เช่น เว็บ,อีเมลล์, 3.3 เอก็ ส์ตราเนต็ (Extranet) เอก็ ส์ตราเนต็ (Extranet) เป็ นเครือขา่ ยแบบกึง่ อนิ เตอร์เนต็ ก่ึงอนิ ทราเน็ต เอก็ ส์ ตราเนต็ คือ เครือข่ายที่เช่ือมตอ่ ระหวา่ งอินทราเน็ตของ 2 องค์กร ดงั นนั้ จะมีบางสว่ นของ เครือขา่ ยที่เป็นเจ้าของร่วมกนั ระหว่าง 2 องค์กรหรือบริษัท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook