ปญั หาสุขภาพในระยะหลังคลอด การตดิ เชื้อหลงั คลอด เตา้ นมอกั เสบ เตา้ นมเป็นฝี อ. นวพร มามาก
ปญั หาสขุ ภาพมารดาหลงั คลอด
ปญั หาสขุ ภาพในระยะหลงั คลอด ปัญหาสขุ ภาพในระยะหลงั คลอด หรือความผิดปกติในระยะหลังคลอด หมายถึง “ความผิดปกติหรือภาวะแทรกซอ้ นทเ่ี กิดขนึ้ กับมารดาท้งั ด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ ภายหลงั คลอดทารกจนถงึ 6 สปั ดาห์หลังคลอด ซ่ึงสง่ ผลกระทบ ต่อสังคมและครอบครวั ของมารดาหลังคลอด” ปิยนชุ บุญเพิ่ม (2557; p3)
วตั ถปุ ระสงคท์ วั่ ไป มีความรู้ความเข้าใจในเน้อื หาการใชก้ ระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาท่มี ี ปัญหาสุขภาพในระยะหลงั คลอด ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการประเมินและการใชก้ ระบวนการพยาบาล ในการดแู ลและป้องกนั ปญั หาสุขภาพในระยะหลังคลอด นาความรู้ไปใช้ในการวางแผนการพยาบาลมารดาทารกทมี่ ปี ญั หาสุขภาพใน ระยะหลังคลอดอย่างเปน็ องคร์ วม
การตดิ เชื้อหลงั คลอด (Postpartum infection) การติดเชอื้ หลงั คลอด (Postpartum infection) หมายถึง การติดเชือ้ ในระบบ สืบพนั ธสุ์ ตรี ในระยะ 6 สปั ดาหแ์ รกหลังคลอด ไดแ้ ก่ การอกั เสบตดิ เชื้อในโพรง มดลกู (เยื่อบโุ พรงมดลกู อักเสบ) ซง่ึ พบไดม้ ากที่สุด และ/หรอื การอักเสบตดิ เช้ือ บริเวณแผลฝีเย็บในกรณที ค่ี ลอดทางชอ่ งคลอด และ/หรอื การอักเสบติดเชือ้ ของแผล ผา่ ตดั คลอดกรณผี า่ ตัดคลอด และ/หรือการอักเสบติดเชื้อของเต้านมของมารดาที่ให้ นมบตุ ร และ/หรอื การตดิ เช้อื /โรคติดเช้อื ในระบบทางเดินปสั สาวะ อาการ มไี ข้ 38 องศาเซลเซยี สข้นึ ไปติดตอ่ กัน 2 วัน ในชว่ ง 10 วนั แรก โดยไม่ นับ 24 ชวั่ โมงแรก
ชนดิ ของแบคทเี รยี ทีเ่ ป็นสาเหตุการติดเชื้อ Aerobic bacterial infection - Beta hemolytic streptococci group A พบในจมูกและลาคอของ คนทว่ั ไป - Staphylococcus aureus พบในรายทีม่ ีมกี ารอักเสบเฉพาะที่เป็นฝี หรอื stitches abscessบริเวณช่องคลอด และฝีเย็บ - E. coli พบในลาไสส้ ว่ นปลาย มักเกดิ การตดิ เชอื้ ในมดลกู ทาให้ นา้ คาวปลามีกลนิ่ เหมน็ - Proteus neissereia และ Klebsiella มกั เกิดการตดิ เชอ้ื ร่วมกนั มากกว่าเกดิ จากเช้อื ตัวใดตวั หนงึ่
ชนดิ ของแบคทเี รยี ทเ่ี ป็นสาเหตกุ ารตดิ เช้อื (ต่อ) Anaerobic bacterial infection เช้ือทีพ่ บบอ่ ยคือ Clostridium welchii พบในช่องคลอด ลาไสส้ ว่ นปลาย หรอื ใน เนื้อเย่ือทีบ่ อบชา้ หรือเน้อื ตาย ทาใหเ้ กิดการตดิ เชอื้ รนุ แรงมาก เกดิ Pelvic cellulitis และอาจเกดิ Septicemia
ปัจจัยเสยี่ งให้เกดิ ภาวะตดิ เช้อื หลังคลอด ได้แก่ มกี ารผา่ ตดั คลอดบุตร มีถงุ นา้ คร่าแตกก่อนคลอดเกนิ 24 ชว่ั โมง มีการตรวจภายในช่วงดาเนินการคลอดมากเกนิ ไป มีการใช้สูตศิ าสตรห์ ตั ถการ มีรกคา้ ง หรือได้รบั การลว้ งรก มีการตดิ เช้ือในช่องคลอดอย่กู ่อนหนา้ แล้ว เช่น การตดิ เชื้อสเตรปโตคอกคสั กรปุ๊ บี ระหว่างตง้ั ครรภ์ มีภาวะซีด / มีภาวะทพุ โภชนาการ ผ้ปู ่วยเป็นโรคเบาหวาน
การเปล่ยี นแปลงทางพยาธสิ รรี วทิ ยาหลงั คลอด กบั การติดเช้อื ทุกสว่ นของระบบสบื พนั ธุส์ ตรเี ชอื่ มต่อถงึ กนั ได้ เช้อื โรคจงึ สามารถผ่านทางชอ่ ง คลอดไปสู่ปากมดลกู โพรงมดลูก ปีกมดลกู รังไข่ และเขา้ สเู่ ยือ่ บชุ อ่ งทอ้ งได้ การเปลีย่ นแปลงรา่ งกายในการคลอดบตุ ร เพิ่มความเส่ียงตอ่ การตดิ เช้อื ได้มาก โดยเฉพาะในระยะคลอดและหลงั คลอด ความเปน็ กรดในช่องคลอดของมารดาจะ ลดลง เนอ่ื งจากมนี ้าคร่า น้าคาวปลาไหลผ่านช่องคลอด ซึง่ น้าครา่ น้าคาวปลา มฤี ทธเ์ิ ปน็ ด่าง จงึ กระตนุ้ ให้มีการเจริญเติบโตของแบคทเี รียที่ไมต่ อ้ งการออกซิเจน
อาการและอาการแสดง : การอักเสบในโพรงมดลกู /เยื่อบโุ พรงมดลูกอักเสบ น้าคาวปลามกี ล่นิ เหม็น นา้ คาวปลาไหลนานกว่าปกติ หรอื น้าคาวปลาหยดุ ไปแลว้ แตก่ ลับมามนี า้ คาวปลา อกี หรอื นา้ คาวปลาที่สแี ดงจางลงแลว้ แตก่ ลบั มสี แี ดงมากขึน้ /มีเลอื ดออกนานขน้ึ มีเลอื ดออกทางช่องคลอดกะปริดกะปรอย มีอาการปวดท้องน้อย/ ปวดบริเวณมดลูก/ ปวดในองุ้ เชงิ กรานทว่ั ๆ ไป มไี ข้ มดลูกเขา้ อชู่ ้า (มดลูกหดตวั ชา้ ยงั คลามดลูกได้จากการคลาทางหน้าทอ้ ง) หรอื ลด ขนาดลงชา้ โดยทว่ั ไป หลงั คลอดมดลูกจะหดรดั ตัวดี ขนาดมดลูกจะลดลงเรือ่ ยๆ และ หลังคลอดประมาณ 2 สปั ดาห์ จะคลาไมพ่ บมดลูกทางหน้าท้อง แตใ่ นกรณีท่ี มีการอกั เสบในโพรงมดลูก มดลูกจะหดตวั ชา้ ทาให้แพทย์สามารถคลามดลูกทาง หน้าทอ้ งได้
อาการและอาการแสดง: การอกั เสบท่แี ผลฝเี ยบ็ มารดาหลงั คลอดจะมอี าการปวดบรเิ วณแผลฝีเย็บ ปวดปากช่องคลอด ปวดก้น รสู้ กึ นั่งลาบาก อาจคลาได้กอ้ นบริเวณปากช่องคลอด ท่ีเกิดจากการบวมของ แผลและมกี อ้ นหนอง หรอื มฝี ี
อาการและอาการแสดง: การอักเสบที่แผลผา่ ตัดคลอด มีอาการปวดที่แผลผ่าตดั มากกว่าปกติ โดยทว่ั ไปมารดาหลงั คลอด ทไี่ ม่มีภาวะแทรกซอ้ น หลงั ผา่ ตัดคลอดจะสุขสบายข้ึนเร่อื ยๆ อาการปวดแผลผา่ ตัดคลอดจะนอ้ ยลงเรือ่ ยๆ หากมีอาการปวด แผลมากกว่าปกติ ต้องคดิ ถึงการอักเสบของแผล อาจร่วมกับมแี ผล ผ่าตัดบวม แผลผ่าตดั แยก แผลไมต่ ิด ซ่ึงส่วนมากจะมอี าการให้ เหน็ ชัดเจนประมาณ วนั ที่ 5 หลงั ผา่ ตดั คลอด
การวินิจฉัย 1. ประวตั ิ: อาการต่างๆท่ีผดิ ปกตติ ามทก่ี ลา่ วมาแล้ว ถามประวตั เิ กยี่ วกบั การคลอด ความยาวนานของการ คลอด ถงุ นา้ คร่าแตกก่อนคลอดนานเพียงใด หตั ถการท่แี พทยท์ าเพื่อช่วยคลอด การใช้ยาปฎิชีวนะ การผา่ ตัดคลอด
การวนิ ิจฉยั (ตอ่ ) 2. การตรวจรา่ งกาย ตรวจรา่ งกายท่ัวไป และพยายามตรวจหาบรเิ วณทม่ี ีการติด เช้อื ตรวจเต้านม ตรวจแผลฝีเยบ็ การตรวจภายในประเมนิ สภาพภายในอุ้งเชิงกราน ตรวจแผลผา่ ตดั
การวนิ ิจฉยั (ตอ่ ) 3. จากผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ CBC Hb WBC Gramstain 4. การตรวจพิเศษ ตรวจอัลตราซาวด์
ภาวะแทรกซอ้ นของภาวะติดเช้ือหลังคลอด ภาวะแทรกซ้อนระยะเฉยี บพลนั : คือภาวะแทรกซ้อนทีเ่ กดิ ภายใน 6 สปั ดาหห์ ลังคลอด ภาวะแทรกซอ้ นทีอ่ าจพบได้ เช่น การอักเสบในโพรงมดลกู : การอกั เสบในอ้งุ เชงิ กราน การติดเช้ือในกระแสเลอื ด เสยี ชีวติ ที่มกั มสี าเหตุจากการติดเชอ้ื ในกระแสเลอื ด
ภาวะแทรกซอ้ นระยะยาว: คอื ภาวะแทรกซ้อนที่พบไดห้ ลังพ้นระยะ หลังคลอดไปแล้ว 6 สปั ดาห์ โดยภาวะแทรกซอ้ นท่อี าจพบได้ เชน่ ปวดทอ้ งนอ้ ยเร้อื รัง มพี ังผืดในช่องทอ้ ง อาจมีผลทาใหม้ ีบุตรยากในภายหนา้ หรอื มี โอกาสเสีย่ งในการเกดิ การตง้ั ครรภ์/ท้องนอกมดลกู มากขึน้ มีประจาเดอื นผิดปกติ ประจาเดือนมากระปรดิ กระปรอย หรอื ไม่ มีประจาเดือน ซง่ึ อาจพบไดใ้ นกรณีเกิดพงั ผดื ในโพรงมดลูก (Uterine synechia) ซ่งึ อาจเกิดจากการอักเสบในโพรงมดลูก (เยอ่ื บมุ ดลกู อักเสบ)
ฝเี ย็บอักเสบตดิ เชอ้ื / แผลผ่าตัดอกั เสบติดเชอ้ื ภาวะแทรกซอ้ นทีอ่ าจพบได้ เชน่ แผลฝเี ยบ็ แยก ตอ้ งทาแผลทุกวนั แผล อาจตดิ ไมส่ วย หรอื อาจจาเป็นต้องเย็บแผลใหม่ แผลผ่าตดั แยก ตอ้ งทาแผลทุกวัน แผลอาจตดิ ไมส่ วย หรอื อาจจาเป็นตอ้ ง เยบ็ แผลใหม่ หรืออาจมกี ารอกั เสบลามเข้าที่ชัน้ Rectus sheath(ช้นั กลา้ มเนื้อหน้าท้อง) ทต่ี อ้ งใชก้ ารรกั ษาที่ยุ่งยากซับซอ้ น อาจตอ้ งมีการ ผ่าตดั แผลหน้าท้องใหม่
การดูแลตนเองเมอื่ มภี าวะติดเช้อื หลงั คลอด ปฏบิ ัติตาม แพทย์ พยาบาล แนะนา รบั ประทานยาปฏชิ ีวะนะตามคาแนะนาของแพทย์ใหค้ รบถว้ น ไมห่ ยดุ ยาเองแมอ้ าการจะหายแลว้ รับประทานอาหารมีประโยชน์ 5 หมใู่ ห้ครบถ้วนทุกมอื้ อาหาร ไม่ควรงดรับประทานตามความเช่อื ที่ไม่ถูกต้อง รักษาสุขอนามยั พนื้ ฐาน พบแพทย/์ มาโรงพยาบาลตามแพทย์นัดเสมอ
ใหน้ กั ศึกษาวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล กจิ กรรมการพยาบาล
สถานการณ์ท่ี 1 มารดาครรภท์ ี่ 2 หลงั คลอด 4 วัน ตรวจพบ HF 6 นิ้ว > SP หน้าทอ้ งแขง็ ตงึ เจ็บเวลาสัมผัส นา้ คาวปลาสนี า้ ตาลเข้ม เปื้อน ผา้ อนามยั ประมาณวันละ 1 ผืน กลนิ่ เหมน็ check vital signs พบอุณหภูมิ 38.9 องศาเซลเซียส ชีพจร 106 ครง้ั /นาที หายใจ 28 ครั้ง/นาที
สถานการณ์ท่ี 1 มารดาครรภท์ ี่ 2 หลงั คลอด 4 วัน ตรวจพบ HF 6 นิ้ว > SP หน้าทอ้ งแขง็ ตงึ เจ็บเวลาสัมผัส นา้ คาวปลาสนี า้ ตาลเข้ม เปื้อน ผา้ อนามยั ประมาณวันละ 1 ผืน กลนิ่ เหมน็ check vital signs พบอุณหภูมิ 38.9 องศาเซลเซียส ชีพจร 106 ครง้ั /นาที หายใจ 28 ครั้ง/นาที
ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล มกี ารติดเช้อื ภายในโพรงมดลกู การกลบั สูส่ ภาพเดมิ ของมดลูกลา่ ชา้ (Subinvolution of Uterus) ไมส่ ขุ สบายจากภาวะไข้สงู ไม่สขุ สบายจากการปวดบริเวณหน้าท้อง มโี อกาสเกดิ การตกเลือดหลงั คลอด มโี อกาสเกดิ การตดิ เช้อื ลกุ ลาม ไปบริเวณอวยั วะใกล้เคียง มโี อกาสเกิดการตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ด
การรกั ษาพยาบาล การตดิ เชื้อภายในโพรงมดลกู การกลบั สสู่ ภาพเดมิ ของมดลกู ลา่ ชา้ ภาวะไข้สงู ปวดบรเิ วณหน้าท้อง การป้องกนั การตกเลอื ดหลงั คลอด การปอ้ งกันการติดเชือ้ ลุกลาม ไปบริเวณอวยั วะใกล้เคยี ง การปอ้ งกนั การติดเช้อื ในกระแสเลอื ด
บทบาทพยาบาลเชิงสง่ เสรมิ ป้ องกนั การฟ้ื นฟู การป้ องกนั การตดิ เช้ือหลงั คลอด การสง่ เสรมิ การหายของแผลในโพรงมดลูก แผลฝีเย็บ แผลผ่าตดั การฟ้ื นฟู (อาหารและโภชนาการ การออกกาลงั กาย การดูแลดา้ นจติ ใจ อารมณ์ สงั คม)
การกลบั สสู่ ภาพเดิมของมดลูกลา่ ชา้ (Subinvolution of Uterus) หมายถงึ ภาวะทมี่ ดลูกไม่มกี ารหดรัดตัวกลับคืนสู่สภาพเดมิ หรือใชเ้ วลายาวนานขึ้นกวา่ ท่ีจะกลับคนื สูส่ ภาพเดมิ หรอื มดลูก มีการลดระดับลงสู่สภาพเดมิ ลา่ ช้า หรือเขา้ อูช่ า้ ซึ่งปกตมิ ดลูก ควรลดระดับลงอยา่ นอ้ ยวันละ 1 ซม. และจะคลาไม่พบบริเวณ หวั เหน่าประมาณ 2 wks. หลงั คลอด สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก การมเี ศษรกคา้ ง และมีการติดเช้อื ในอ้งุ เชิงกราน ทาใหม้ ี นา้ คาวปลาออกเป็นเวลานาน โดยมากสัมพนั ธ์กับการตกเลือด และตดิ เช้ือหลังคลอด (Mckinney, 2009)
การพยาบาล ประเมนิ การหดรัดตัวของมดลกู วัดระดบั ยอดมดลกู ประเมนิ การโปง่ ตงึ ของกระเพาะปสั สาวะ ใหน้ อนตะแคงกึ่งคว่า (Sim’s Position) หรอื นอนคว่า (Prone’s position) เพ่อื ชว่ ยใหน้ า้ คาวปลาไหลออกมาได้ดขี ้นึ กระตนุ้ และสง่ เสริมการเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่
การพยาบาล แนะนาการคลงึ มดลูก สงั เกตความผิดปกติของนา้ คาวปลา แนะนาการออกกาลงั กายหลงั คลอดทกุ วนั แนะนาการรบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ รบั ประทานยาตามแผนการรกั ษา ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของครอบครวั
THE END
เตา้ นมอักเสบ (Mastitis) เป็นการตดิ เช้ือที่เต้านม โดยเชื้อเขา้ ทางหวั นมท่แี ตก อาการ ไขส้ ูง การอักเสบเต้านมจะมี อาการปวดท่ีเตา้ นมมากกว่าปกติ เต้านม บวม แดง กดเจ็บมาก อาจรว่ มกับมีอาการ คัดตงึ เตา้ นม และเตา้ นมขยายใหญ่ขึ้น สาเหตุ ทอ่ นา้ นมอุดตัน หรอื น้านมเกดิ การคัง่ คา้ ง อยใู่ นเต้านานเกนิ ไป จนทาให้เกดิ อาการ บวมแขง็ เต้านมติดเชื้อแบคทเี รยี เนือ่ งจากลกู ดูดนมผิดวธิ จี นทาให้หวั นมแตกเปน็ แผล ส่วนใหญเ่ กดิ จากเชอ้ื Staphylococcus aureus เชื้อจากมอื ของมารดา เจา้ หน้าที่ ปากหรือจมกู ของทารก มีการกระตุ้นการสรา้ งนา้ นมมากกวา่ การระบายออก เชน่ ปม้ั นมบอ่ ยเกนิ ไป มีการกดทับของท่อน้านม จากการใสเ่ สื้อชน้ั ในทค่ี บั เกินไป
เตา้ นมอกั เสบ (Mastitis)
อาการ อาการ ก่อนเตา้ นมจะอักเสบ จะคัดตงึ เตา้ นม และค่อย ๆ เพ่ิม มากขึน้ เมื่อคลาดูจะพบกอ้ นแขง็ ในเต้านม บวมแดงรอ้ น และมไี ข้
การป้ องกนั แนะนะมารดาในเร่ืองการใหท้ ารกดูดนมอยา่ งถูกวธิ ี / การคลายแรงดูดของ ทารกก่อนถอนหวั นมออก เพอ่ื ป้องกนั หวั นมแตก ถา้ เตา้ นมเริ่มแขง็ ตึง และรู้สึกเจบ็ ใหล้ ูกดูดนมจากเตา้ บ่อยข้ึน อยา่ งนอ้ ยทุก 2-3 ชว่ั โมง หรือบ่อยมากกวา่ น้นั หรือถา้ มีน้านมคา้ งอยใู่ นเตา้ เยอะ แลว้ ลูก ไม่ยอมกิน บีบเพอ่ื ระบายออก การประคบดว้ ยน้าแขง็ กเ็ ป็นการช่วยบรรเทา อาการปวดได้ ใหท้ ารกดูดนมจนเกล้ียงเตา้ เพื่อป้องกนั เตา้ นมคดั ตึง ถา้ หวั นมเริ่มแดงหรือมีรอยถลอก ใหบ้ ีบน้านมทาบริเวณหวั นม ปล่อยให้ แหง้ ก่อนสวมเส้ือยกทรงที่มีขนาดพอเหมาะไม่คบั จนเกินไป หากพบมารดามีอาการผดิ ปกติ เช่น ไขส้ ูง ปวด คดั ตึงเตา้ นมมาก ใหร้ ายงาน แพทยเ์ พื่อรับการรักษาโดยเร็ว
เตา้ นมเป็นฝี (Breast Abscess) ฝีเต้านม, ฝีทเ่ี ตา้ นม หรอื เต้านมเปน็ ฝี (Breast abscess) คอื ภาวะเต้านม อกั เสบท่ีมีก้อนฝีหนองอยภู่ ายใน ซงึ่ เกดิ ตอ่ เนื่องมาจากภาวะเต้านมอกั เสบ (Mastitis) ท่ีไม่ไดร้ ับการรักษา เตา้ นมอกั เสบทีอ่ าการไม่ดีข้นึ หรือไม่ตอบสนอง ตอ่ การรกั ษา ฝีท่เี ต้านม เกิดจากการตดิ เช้อื แบคทีเรยี จนเกิดเปน็ ถงุ หนองท่ีเตา้ นม ในแมท่ ใ่ี ห้ นมลกู เกดิ จากท่อนา้ นมอุดตันหรอื นมคดั ตงึ แลว้ ไมไ่ ดร้ บั การระบาย จนน้านม ค้างอยใู่ นเตา้ นมเปน็ เวลานาน และไมไ่ ดแ้ กไ้ ขการอดุ ตันเสียแต่แรก จึงเกดิ การ อกั เสบติดเชื้อแบคทีเรียขึน้ และเกดิ เปน็ ฝหี นองตามมา บางคร้งั ฝที ี่เต้านมอาจ เกดิ ในผู้ทไ่ี มไ่ ด้ให้นมลูกกไ็ ด้
อาการฝเี ตา้ นม • เตา้ นมขา้ งทเ่ี ป็นฝีจะมลี กั ษณะบวมแดง รอ้ น และเจบ็ ปวดมาก • คลาไดก้ อ้ นทก่ี ดเจบ็ มากของเตา้ นม และสขี องผวิ หนงั เหนอื บรเิ วณท่ีมกี อ้ นเปลย่ี นไป จากปกติ • ผูป้ ่วยจะมอี าการไข้ หนาวสนั่ ปวดเมอ่ื ยตามตวั และอาจมอี าการคลน่ื ไสอ้ าเจยี นได้ • ต่อมนา้ เหลอื งทใ่ี ตร้ กั แรข้ า้ งเดยี วกบั เตา้ นมขา้ งทเ่ี ป็นฝีจะโตและเจบ็ ร่วมดว้ ย • ถา้ หากปลอ่ ยไวไ้ มร่ กั ษา บางครงั้ อาจทาใหฝ้ ีแตกและมหี นองไหลออกมาได้
วธิ รี กั ษาฝีท่เี ตา้ นม 1.ควรไปพบแพทย์ทันทีท่ีเรม่ิ มอี าการเต้านมอักเสบหรือมฝี ที เี่ ต้านม 2.หากมีอาการปวดมาก ใหร้ ับประทานยาแกป้ วดลดไข้ (Analgesics and Antipyretics) เช่น พาราเซตามอล (Paracetamol) หรอื ไอบูโพรเฟน (Ibuprofen) ตามความเหมาะสม 3.ใหร้ บั ประทานยาปฏิชวี นะเพื่อชว่ ยฆา่ เช้อื แบคทีเรียทเี่ ป็นสาเหตุของการเกิดฝี เชน่ คล็อกซาซิลลนิ (Cloxacillin), ไดคลอ็ กซาซลิ ลิน (Dicloxacillin), ไซโพรฟล็อกซาซนิ (Ciprofloxacin), เซฟาเลกซิน (Cephalexin), โคอะม็อกซิคลาฟ (Co-amoxiclav) หรืออิรโิ ทรมัยซิน (Erythromycin) ถา้ รบั ประทานยาปฏชิ ีวนะแลว้ มีอาการดขี นึ้ ให้ รบั ประทานยาปฏชิ วี นะนาน 1-2 สปั ดาห์ (ระยะเวลาในการใหย้ าจะขน้ึ อยกู่ บั ขนาด ของฝี การหายของแผล และดลุ ยพินิจของแพทย์)
วธิ รี กั ษาพยาบาลฝีท่เี ตา้ นม 4.ถา้ อาการยงั ไม่ดขี น้ึ ภายใน 3 วันหลงั จากรับประทานยาปฏิชวี นะ ควรไปพบ แพทยท์ ่ีโรงพยาบาล ซ่ึงการรกั ษาจาเป็นตอ้ งได้รับการระบายเอาหนองทีอ่ ยใู่ นฝี ออก โดยการใชเ้ ขม็ ขนาดใหญ่ (เบอร์ 18) ตอ่ หลอดฉีดยาแทงผา่ นเน้อื ดีเข้าไปยังฝี เพอื่ เจาะดูดหนองออกสลับกับฉีดล้างน้าเกลือ (Needle aspiration) หรอื ผา่ ตัด โดยใช้มีดกรดี ผิวหนังระบายเอาหนองออก (Incision and Drainage) ควบคไู่ ป กบั การให้ยาปฏิชวี นะและบรรเทาอาการด้วยการประคบร้อนประคบเย็น
วธิ ีรกั ษาพยาบาลฝีท่เี ตา้ นม • สามารถให้นมลกู ได้ในข้างที่เตา้ นมเปน็ ฝที ี่ระบายเอาหนองออกแล้ว ยกเวน้ ในกรณีท่ีมีอาการเจบ็ มากหรอื การผ่าเปน็ แผลขนาดใหญใ่ กล้ลานนม (รบกวนการดูดนมของลกู ) หรือการผา่ มกี ารทาลายท่อนา้ นมมาก แต่ อยา่ งไรกต็ าม ควรบีบนา้ นมหรอื ปมั๊ น้านมออกก่อนเพื่อไม่ให้น้านมคง่ั ค้าง เทา่ ทจ่ี ะทนได้ และให้ลกู ดูดนมจากเตา้ ขา้ งทปี่ กตอิ ย่างสม่าเสมอ เม่ือดขี น้ึ หรอื แผลเร่มิ หายก็สามารถกลบั มาให้นมข้างนน้ั ได้อกี ครั้ง ซึง่ มกั ใชเ้ วลา ประมาณ 2-3 วันก็จะดขี ึ้น
วธิ ีรกั ษาพยาบาลฝีท่เี ตา้ นม 5.สาหรับการดูแลตนเองเม่อื เป็นฝที ี่เต้านม ผู้ปว่ ยควรปฏิบัติตามคาแนะนา ดังตอ่ ไปนี้ •ควรหยดุ ให้ลกู ดูดนมข้างทเี่ ป็นฝี แต่ยงั ใหด้ ูดขา้ งทปี่ กติต่อไป ส่วนเต้านมขา้ ง ทีอ่ ักเสบใหใ้ ชน้ ว้ิ รดี เบา ๆ ให้น้านมไหลออกมา เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้เต้านมคัด และช่วยให้หายจากอาการอกั เสบได้เรว็ ข้ึน •ควรประคบเตา้ นมดว้ ยความร้อนทง้ั ก่อนและในระหวา่ งทใ่ี หล้ ูกดูดนม (ใช้ผา้ ชุบนา้ อ่นุ จดั ประคบเต้านมประมาณ 3-5 นาทกี อ่ นใหล้ ูกดดู นม) เพอ่ื ชว่ ยลด อาการปวด และช่วยใหน้ า้ นมไหลดยี ิง่ ขน้ึ
วธิ รี กั ษาพยาบาลฝีท่เี ตา้ นม •หลงั จากลกู ดูดนมเสรจ็ แลว้ หรือหลงั จากปั๊มนมออกหมดแล้ว ให้ประคบ เตา้ นมด้วยความเยน็ เพอื่ ช่วยลดอาการปวดและลดอาการบวมของเต้านม •ควรพกั ผอ่ นใหเ้ ต็มที่ ดื่มน้าให้มาก ๆ และรบั ประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ ใหเ้ พียงพอ •ควรใส่ยกทรงทเ่ี หมาะสมไม่รดั รูปและชว่ ยพยุงเต้านมได้ดกี จ็ ะชว่ ยลด อาการปวดลงได้
เตา้ นมเปน็ ฝี (Breast Abscess)
เตา้ นมเปน็ ฝี (Breast Abscess)
วธิ ปี ้ องกนั ฝีท่เี ตา้ นม 1. หมัน่ รักษาความสะอาด 2. หลกี เล่ียงหัวนมแตก โดยการให้ทารกดูดนมอยา่ งถกู วิธีและควรให้ทารกดูดนมบ่อยคร้งั ขน้ึ
สถานการณท์ ี่ 2 มารดาครรภ์แรก หลงั คลอด 2 วัน ปวดศีรษะ Check vital signs พบอณุ หภมู ิ 38.5 องศาเซลเซียส ชีพจร 98 ครง้ั /นาที หายใจ 28 ครัง้ /นาที ตรวจรา่ งกายพบ Axillary Adrenopathy ให้ ข้อมูลวา่ ทารกร้องกวน ไมย่ อมดดู นม
ตอ่ มน้าเหลอื งบรเิ วณเตา้ นม
ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล เตา้ นมอกั เสบ / มีการติดเช้ือที่เตา้ นม ไม่สุขสบายจากการเป็นไข้ ปวดศีรษะ ไม่สุขสบายจากการเจบ็ ปวดบริเวณเตา้ นมท่ีมีการอกั เสบ ทารกมีโอกาสเกิดภาวะพร่องโภชนาการ มารดาใหน้ มทารกไม่ถูกวธิ ี
Search