1 สื่อการเรยี นการสอน การพัฒนาคูม่ อื อิเล็กทรอนกิ ส์การใช้โปรแกรมการ ออกแบบผงั งาน การศกึ ษาระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส) กรมอาชีวะศึกษา วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี
2 คำนำ โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา 30204-2004 หลักการคิดเชิงออกแบบและนวัตกรรมธุรกิจ ดิจทิ ลั เร่ืองการพฒั นาค่มู ืออเิ ลก็ ทรอนิกสก์ ารใชโ้ ปรแกรมการออกแบบผังงาน สำหรบั นกั ศึกษาทกุ ๆคน จดั ทำ ขึ้นเพอ่ื พฒั นาบทเรียนอิเล็กทรอนกิ สใ์ หเ้ หมาะสม มปี ระสิทธิภาพ และเขา้ ใจในบทเรยี นไดง้ ่ายย่ิงขึ้น รวมไปถึง การพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งปัจจุบนั การศกึ ษาของประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ได้เปลย่ี นแปลงกนั ไปตามยุคสมยั โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยี ท่ี เข้ามาเก่ียวข้องกับชวี ติ ประจำวัน ท่ีก่อใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงด้านตา่ งๆ ท้งั เศรษฐกจิ วิถีชีวิต สงั คม ความ เปน็ อยู่ รวมท้ังส่งการกระทบตอ่ ชวี ิตความเปน็ อยูข่ องครอบครวั การจดั การศึกษาต้องจัดเตรียมผเู้ รยี นใหพ้ รอ้ ม กับการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ ดงั กลา่ ว ดังนั้นผู้จัดทำจึงได้ทำสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น เพื่อให้นัก ศึกษา สามารถทำความเข้าใจ และนำความรู้ที่ได้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในครั้งนี้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชวี ติ ประจำวนั ดว้ ย ผจู้ ดั ทำหวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ โครงงานเลม่ น้ีจะสามารถช่วยเพ่ิมความรู้ ความเขา้ ใจ และความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีของนักศึกษา ได้เป็นอย่างดี เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนเทคโนโลยี อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตอ่ ไป คณะผ้จู ดั ทำ นางสาวจฑุ ามาส จนั ทโร นางสาวภวรัตน์ สิงหโ์ ตแก้ว
สารบัญ 3 เรอื่ ง หน้า คำนำ 4 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 5 ผังงาน (Flowchart) 5 ความหมายและประโยชนข์ องผงั งาน 5 ประโยชนข์ องผังงาน 6 ประเภทของผังงาน 7 สัญลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในผังงาน 8 สัญลักษณพ์ ืน้ ฐาน 10 ผงั งานโครงสร้าง 10 ผังงานโครงสรา้ งแบบลำดบั 11 ผังงานโครงสรา้ งแบบทางเลอื ก 12 ผังงานโครงสรา้ งแบบทำซำ้ 13 เคร่อื งมือชว่ ยเขียนผงั งาน 14 ซอฟต์แวร์เขียนผังงาน 15 วิธเี ขียนผังงานด้วยโปรแกรม MS-Visio
4 การเขียนผงั งาน จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. บอกความหมายและประโยชนข์ องผงั งานได้ 2. บอกประเภทของผงั งานได้ และสามารถนำไปใช้ให้เหมาะกับลักษณะงาน 3. มีความรูค้ วามเขา้ ใจในสัญลกั ษณ์ทีน่ ำมาใชเ้ ขยี นผงั งาน 4. สามารถนำสัญลักษณ์ต่างๆ ในผังงานมาเขียนเป็นผังงานได้อย่างถูกต้อง 5. สามารถใชโ้ ปรแกรม visio เพ่อื เขยี นผงั งานได้
5 ผงั งาน (Flowchart) เปน็ วิธกี ารออกแบบโปรแกรมที่เก่าแก่และหลายคนรู้จกั กันดี นกั เขียนโปรแกรมลว้ นเคยใช้ผงั งานเพื่อ ออกแบบโปรแกรม หรือนำมาใช้เพื่อเขียนโปรแกรมมาก่อนโดยเฉพาะในช่วงที่เริ่มศึกษาเกี่ยวกับการเขียน โปรแกรมใหม่ๆ แตอ่ ย่างไรกต็ ามใชว่ ่าผงั งานจะถูกนำมาใช้เพ่อื การเขียนโปรแกรมเทา่ นัน้ ซึ่งความจรงิ แลว้ ไม่ วา่ จะเปน็ งานชนดิ ใดกต็ าม หากมีการกำหนดและลำดับขน้ั ตอนในแต่ละกิจกรรมทช่ี ัดเจนแนน่ อน ก็สามารถนำ ผังงานมาประยุกต์ใช้ได้ท้ังสิ้น รวมถงึ กจิ กรรมอ่ืนๆท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ของเราโดยพจิ ารณา รูปที่ 3.1 เปน็ ตัวอยา่ งผังงานของการใช้โทรศพั ทส์ าธารณะแบบหยอดเหรยี ญ ความหมายและประโยชน์ของผงั งาน ผังงาน เปน็ แผนภาพท่ใี ชล้ ำดบั ขน้ั ตอนในการทำงานของโปรแกรมตง้ั แตจ่ ดุ เริม่ ตน้ จนถงึ จุดสนิ้ สดุ ด้วย การนำเสนอผ่านสัญลักษณ์ท่ีเป็นมาตรฐานเพื่อให้สื่อความหมายและความเข้าใจตรงกัน ผังงานเป็นตัวแทน แนวความคดิ ท่ถี ูกนำมาลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานในแต่ละกจิ กรรมให้มคี วามเป็นรปู ธรรมมากข้ึนงา่ ยตอ่ การทำ ความเข้าใจ ประโยชน์ของผังงาน 1. นำมาใช้เพอ่ื ถ่ายทอดแนวความคดิ ความเข้าใจทไ่ี ด้จากการวิเคราะหง์ าน ดว้ ยการใชส้ ัญลักษณ์ที่มี ความเป็นสากลและสื่อความหมายได้ดี ทำให้เข้าใจลำดับขั้นตอนการทำงาน รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ านต่างๆ เพ่อื ใหโ้ ปรแกรมเมอรส์ ามารถนำไปประกอบการเขียนโปรแกรมไดง้ ่ายและสะดวก ยง่ิ ข้ึน
6 2. เป็นสื่อกลางในการติดต่อ การประสานความคิดระหว่างผู้ใช้กับผู้เขียนโปรแกรม หรือผู้เขียน โปรแกรมกบั นักวิเคราะหร์ ะบบ 3. นำมาใช้เพ่ือทดสอบและทบทวนขั้นตอนการทำงาน เพื่อหาข้อผิดพลาดในขั้นตอนการทดสอบ รวมถึงนำมาเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมเพื่องานบำรุงรักษา และในกรณีที่โปรแกรมมีความจำเป็นต้อง ปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลง โปรแกรมเมอร์ท่เี ข้ามาสานงานตอ่ สามารถนำพลังงานทีม่ อี ยูเ่ ดิมมาใชเ้ พ่ือการปรับปรุง แกไ้ ขโปรแกรมได้ ประเภทของผงั งาน ผังงานเพ่อื งานทางคอมพวิ เตอร์มอี ยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ 1 .ผังงานระบบ เป็นผังงานที่นำมาใชเ้ พ่ือแสดงขั้นตอนการทำงานของระบบทั้งหมดในลักษณะแบบ กว้างๆ ด้วยการแสดงเฉพาะตัวชิ้นงานของระบบ ว่าต้องทำอะไรบ้าง โดยจะไมแ่ สดงรายละเอยี ดว่างานนัน้ ๆ ตอ้ งทำอยา่ งไรโดยปกตแิ ลว้ การเขียนผงั งานระบบจะเกย่ี วขอ้ งกับระบบงาน ในภาพรวมทั้งหมดจงึ ประกอบไป ดว้ ยเป็น ส่อื อปุ กรณ์ เครื่องมอื คอมพิวเตอรแ์ ละบุคคล
7 2. ผังงานโปรแกรม เป็นผงั งานที่แสดงรายละเอยี ดขั้นตอนการประมวลผลในคอมพิวเตอร์ โดยจะมี การลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นละเอียด และโปรแกรมเมอร์สามารถนำไปใช้ประกอบการเขียน โปรแกรมไดต้ อ่ ไป สัญลักษณท์ ่ใี ชใ้ นผังงาน ในการเขียนผังงาน ทำได้ดว้ ยการนำสัญลกั ษณต์ า่ งๆ มาลำดบั ข้นั ตอนการทำงาน โดยมเี สน้ และลูกศร เป็นตัวเชื่อมระหว่างสัญลักษณ์ ดังนั้นสิ่งสำคัญก็คือเราต้องเรียนรู้ความหมายของสัญลักษณ์เหล่านั้นว่า สญั ลักษณ์แต่ละตวั ทำหน้าท่อี ะไรและนำไปใชง้ านอยา่ งไร สำหรับเกณฑ์ในการเขียนผังงาน โดยทั่วไปแล้วไม่ได้มีกฎเกณฑ์เคร่งครัดแต่อย่างใด เพียงแค่ใช้ สญั ลักษณ์ให้ตรงกับกิจกรรม เขียนแบบบนลงลา่ ง วางลำดบั ขนั้ ตอนใหถ้ ูกต้องและสามารถสือ่ สารเขา้ ใจตรงกนั กน็ บั ว่าเพียงพอแล้วสำหรบั สญั ลกั ษณท์ น่ี ำมาใชเ้ พอ่ื การเขียนผังงาน มีอยหู่ ลายสญั ลกั ษณ์ด้วยกันดังรูปที่ 3.4
8 สัญลกั ษณพ์ ้ืนฐาน สำหรบั สญั ลักษณพ์ ื้นฐานทนี่ ำมาใช้กบั ผงั งาน ประกอบดว้ ยสัญลกั ษณต์ ่างๆดังตอ่ ไปน้ี
9 สญั ลักษณร์ ะบบ สำหรบั สัญลกั ษณร์ ะบบท่ีนำมาใชก้ บั ผงั งาน ประกอบดว้ ยสัญลกั ษณต์ ่างๆดังตอ่ ไปน้ี สญั ลักษณ์การโปรแกรม สำหรับสัญลกั ษณ์การโปรแกรมท่ีนำมาใช้กับผงั งาน ประกอบดว้ ยสัญลักษณ์ ต่างๆดงั ตอ่ ไปนี้
10 ผงั งานโครงสร้าง เน่ืองจากการเขยี นผังงานปกตแิ ลว้ จะไมม่ กี ฎเกณฑเ์ ครง่ ครัดเพยี งแต่ให้เลอื กใช้สญั ลกั ษณ์ให้ถกู ตอ้ งซง่ึ ดเู หมือนว่ามรี ูปแบบทีค่ อ่ นไปทางอิสระข้นึ อยูก่ บั การเขยี นของแต่ละบคุ คลดงั น้ันจงึ เกิดแนวคิดการเขียนผังงาน แบบโครงสร้างขน้ึ มาเพอื่ ใหม้ ีระบบระเบยี บยงิ่ ขน้ึ กลา่ วคอื จะใช้หลักการแบ่งแยกและการจัดลำดบั ช้ันทมี่ ีความ ชดั เจนและดูเปน็ ระบบระเบยี บมากขนึ้ พจิ ารณาจากรูปที่ 3.5 เพื่อเปรียบเทียบซ่ึงเทคนิคโครงสรา้ งนี้นอกจาก จะช่วยให้การออกแบบผังงานให้แลดูง่ายแล้วยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อการเขยี นโปรแกรมชุดคำสั่งได้ งา่ ยย่ิงขึ้นโดยผังงานโครงสรา้ งจะมอี ยู่ 3 รูปแบบด้วยกนั คอื 1 ผังงานโครงสร้างแบบลำดับ 2 ผงั งานโครงสรา้ งแบบทางเลอื ก 3 ผังงานโครงสร้างแบบทำซ้ำ ผังงานโครงสรา้ งแบบลำดับ เปน็ ผังงานทม่ี โี ครงสร้างลำดับกจิ กรรมกอ่ นหลงั โดยจะเขยี นเปน็ ลำดบั ตอ่ เน่ืองกันไป
11 ผงั งานโครงสรา้ งแบบทางเลอื ก เป็นผังงานที่มีโครงสรา้ งให้เลือกตดั สนิ ใจเพือ่ เลอื กทางเลอื กใดทางเลอื กหน่ึงซงึ่ เงอ่ื นไขทก่ี ำหนดอาจมี เพียง 2 ทางเลอื กหรืออาจมีหลายทางเลอื กก็ได้แล้วแตค่ วามซบั ซ้อนของเงื่อนไขนนั้ ๆ นอกจากกำหนดทางเลือกด้วยเงอื่ นไข IF แล้ว ยงั สาวมารถกำหนดทางเลอื กเงอ่ื นไขแบบกรณี (CASE) เช่นการกำหนดทางเลอื กด้วย CASE เพื่อเลือกทำงานแต่ละเมนู ดังตัวอย่างรปู ที่ 3.10
12 ผงั งานโครงสรา้ งแบบทำซำ้ สำหรบั โครงสรา้ งการทำงานแบบทำซ้ำหรอื เป็นรอบ (loop) จะมีหลายแบบด้วยกัน อันประกอบดว้ ย • โครงสรา้ งการทำซ้ำแบบ WHILE…ENDWHILE การทำซ้ำในรูปแบบของ WHILE…ENDWHILE จะทำ การตรวจสอบเงอื่ นไขก่อน โดยหากเง่อื นไขเป็นจรงิ ก็จะทำซ้ำตอ่ ไป จนกระท่งั เงอ่ื นไขเป็นเท็จก็หลุด จากกระบวนการทำซำ้ ดังนั้น หากเง่อื นไขถกู ตรวจสอบกอ่ นว่าเป็นเท็จ กจิ กรรมภายในลูปก็จะไม่ได้ รับการประมวลผลใดๆ เลย • โครงสร้างการทำแบบซำ้ REPEAT…UNTIL การทำซ้ำในรูปแบบของ REPEAT…UNTIL จะทำให้การ ประมวลกิจกรรมภายในลูปก่อน แล้วจึงค่อยตรวจสอบเงอ่ื นไขจนกระทง่ั เงอื่ นไขเปน็ จรงิ กลา่ วคือ ลปู ชนิดนี้จะมีการประมวลผลชุดคำสั่งภายในลูปอย่างน้อยหนึ่งรอบ จากนั้นจึงค่อยตรวจสอบเงือ่ นไข โดยหากเงื่อนไขยังคงเป็นเท็จก็จะวนซ้ำเพื่อทำงานในรอบถัดไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเมื่อเงื่อนไขท่ี ตรวจสอบเป็นจริง กจ็ ะหลดุ ออกจากลปู เพอื่ ทำงานชุดคำสั่งถัดไป
13 • โครงสรา้ งการทำซำ้ แบบ FOR…NEXT การทำซำ้ ในรูปแบบของลูป FOR…NEXT จะมกี ารกำหนดรอบ การทำงานท่ีแน่นอนตามจำนวนรอบทกี่ ำหนดไวช้ ดั เจน เชน่ ทำงานจำนวน 5 รอบ เป็นต้น เคร่อื งมอื ชว่ ยเขียนผังงาน เนือ่ งจากผังงานมีสัญลักษณท์ ใ่ี ชอ้ ยูห่ ลายสญั ลกั ษณ์ดว้ ยกนั การเขยี นผังงานดว้ ยมือก็จัดเป็นวิธีท่ีง่าย แต่อาจเขียนสญั ลักษณ์ได้ไม่สวยงามนักหรอื ผิดเพี้ยนไปจากความเปน็ จริงได้ ประกอบกบั หากมีการแกไ้ ขก็ตอ้ ง ลบแล้วเขียนใหม่ ซึ่งทำให้ยุ่งยากและเสียเวลา ดังนั้น จึงมีเครื่องมือที่สามารถนำมาใช้เพื่อเขียนผังงาน ซ่ึง ประกอบด้วยไมบ้ รรทดั สำหรบั เขยี นผังงาน และซอฟตแ์ วรเ์ ขยี นผังงาน ไม้บรรทัดสำหรบั เขียนผงั งาน เป็นไมบ้ รรทัดท่ีมชี ่องสญั ลกั ษณ์ของผังงานในรูปแบบตา่ งๆ ทผี่ เู้ ขียนสามารถเขยี นแบบสญั ลักษณต์ าม ชอ่ งในเทม็ เพลตได้ทันที
14 ซอฟต์แวร์เขยี นผงั งาน เป็นซอฟตแ์ วรส์ ำเร็จรูปทีผ่ ู้ใช้สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อวาดผังงาน ตัวอย่างเช่น โปรแกรม Microsoft Visio ซึ่งจัดเป็นโปรแกรมหนึ่งท่ีมีความนิยม โดยสามารถนำมาใช้เป็นเคร่ืองมือเพ่ือการออกแบบ หรือเครื่องมือช่วยวาดงานต่างๆ ตามความต้องการโดยสัญลักษณ์ของผังงานก็จัดเปน็ อีกหน่ึงเทม็ เพลตทีไ่ ด้ ผนวกไว้ในโปรแกรม Visio เช่นกนั
15 วธิ ีเขียนผงั งานดว้ ยโปรแกรม MS-Visio เมือ่ เปดิ โปรแกรมขึ้นมาดงั รปู ท่เี ทม็ เพลตดา้ นซ้ายมอื ให้คลกิ เลือก Flowchart จากนั้นดบั เบลิ คลิกท่ี ไอคอน Basic Flowchart
16
17
18
19
20
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: