คานา การจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ให้ความสาคัญกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ ทกั ษะชีวิต ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ การที่จะให้ผู้เรียน มีคุณลักษณะดังกล่าวต้องจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ซ่ึงครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นปัจจัย สาคัญประการหน่ึงในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ หากครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะ เพียงพอ มีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิธีการ เรียนรู้ของผู้เรียน ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีย่อมจะทาให้การพัฒนาผู้เรียนบรรลุ เปา้ หมายและมาตรา 52 ระบุว่า ให้กระทรวงศึกษาธิการส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนา ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง ดังนั้นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งของการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเพยี งพอ สาหรบั การสร้างโอกาสและจัดการเรียนรทู้ ่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ พัฒนาตนเองเป็นผู้เรียนรตู้ ลอดชวี ติ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาพิเศษในยุคสังคมฐานความรู้ ซง่ึ ความรมู้ ปี ริมาณมาก สามารถเรยี นรู้และค้นคว้าได้จากหลายแห่งโดยไม่จากัดเวลา สถานที่จึงต้องมีการ ปรับเปล่ียนวิธีการให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิทยาการ และแนวคิดการพัฒนาคนให้เป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้และรว่ มสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ หลกั สตู รการอบรมครูสอนการศึกษาพิเศษเดิมเน้นให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ อบรม พัฒนาโดยต้องใช้เวลาพบกับผู้ให้ความรู้เป็นส่วนใหญ่ได้ปรับเปล่ียนให้ผู้เข้าอบรมศึกษาเอกสาร ประกอบหลักสูตรด้วยตนเองก่อนเข้ารับการทดสอบวัดความรู้พื้นฐาน หากมีผลการทดสอบผ่านเกณฑ์ที่ กาหนดในหลกั สตู รจะเขา้ รับการอบรมเข้ม เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติรวมท้ัง ประยุกต์ใช้ความรู้ ในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษในสถานศึกษาท่ีตนปฏิบัติงาน ซึ่งกาหนดเป็น ภาคปฏิบัติที่มีการนิเทศ ติดตามให้ครูที่ผ่านการอบรมมีเพื่อนร่วมทางในการเป็นพ่ีเลี้ยง ชี้แนะจนมีความ มั่นใจว่าตนเองสามารถจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้ เมื่อมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอบรมครูสอน การศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2544 ใน ปี พ.ศ. 2551 (ครั้งที่ 1) และ พ.ศ. 2556 (คร้ังท่ี 2) จึงได้มีการปรับสาระให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงองค์ ความรู้ ในกระบวนการอบรมได้ปรับเปลี่ยนให้สถาบันการศึกษาที่ผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษาด้าน การศึกษาพเิ ศษเปน็ หนว่ ยงานอบรมระยะสนั้ แบบเข้มหลังจากผู้ขอเข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การทดสอบ วัดความรู้พ้ืนฐานจากการศึกษาเอกสารประกอบหลักสูตรและการศึกษาค้นคว้าจ ากแหล่งต่างๆ
เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้พัฒนาตนเองสาหรับการนาไปสู่การ ปฏิบัติในสถานศกึ ษาตามเง่อื นไขทกี่ าหนดของหลกั สูตร ขอขอบคณุ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ และคณะทางานทุกทา่ นที่ได้ร่วมกันปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร เอกสาร ประกอบหลักสูตรให้เหมาะสมกับสภาพการเปล่ียนแปลง หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารประกอบการจัดการ อบรมตามหลักสูตรการอบรมครูสอนการศึกษาพิเศษฉบับน้ีจะอานวยประโยชน์ให้การพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศกึ ษาพิเศษมปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลตามเจตนารมณท์ กุ ประการ นายชินภัทร ภมู ริ ัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
คาชแี้ จง เอกสารชุดศึกษาดว้ ยตนเอง วชิ าการศกึ ษาพิเศษ เรอ่ื ง ความรู้พื้นฐานทางการศึกษาพิเศษ เล่มนี้ ไดร้ วบรวมเน้ือหาจากเอกสาร บทความของนกั การศึกษาท่เี กย่ี วขอ้ งกับการศึกษาพิเศษ ซึ่งมีเน้ือหา สาระทค่ี รแู ละบุคลากรท่ีสนใจควรทราบ ไดแ้ ก่ ความรู้พ้ืนฐานทางการศึกษาพิเศษ กฎหมายที่เก่ียวข้องกับ การศกึ ษาพเิ ศษ การจาแนกประเภทความพิการ การใช้จิตวทิ ยาการศึกษา กระบวนการวัดและประเมินผล สาหรับผู้เรยี น การประกันคุณภาพการศึกษา เพือ่ ใหค้ รแู ละผู้สนใจนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการ เรยี นการสอน รวมถงึ การพฒั นาศักยภาพของผเู้ รียนใหม้ ปี ระสิทธิภาพสูงขึ้น พร้อมท้ังนาแนวทางความรู้ แนะนาแก่ผู้ปกครองตอ่ ไป คณะทางาน
สารบญั หน้า คานา คาชีแ้ จง สารบัญ แนวทางการใชช้ ุดการศึกษาด้วยตนเอง หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานทางการศกึ ษาพิเศษ………………………………………………………………….. 1 ความหมายของการศึกษาพเิ ศษ…………………………………………………….…………………… 1 หลกั การจดั การศกึ ษาพิเศษ......………………………………………………………………….……... 2 ปรชั ญาการศึกษาพิเศษ............………………………………………………………………………….. 2 เหตผุ ลความจาเปน็ และสภาพปัจจุบันของการจดั การศึกษา สาหรบั บุคคลที่มีความบกพร่อง.......……………….…………………………………………………… 4 การจาแนกประเภทความพิการทางการศกึ ษา ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง กาหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552………….. 7 หนว่ ยที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกับการจดั การศึกษาสาหรบั คนพกิ าร รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550………………………………..………………..… 10 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542…………………………………………………… 10 พระราชบญั ญัติการจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551………………………………. 11 พระราชบัญญัตสิ ง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550……………..…….. 12 หน่วยที่ 3 การใช้จิตวิทยาการศึกษา……………………………………………………………..………………… 16 ความหมายและความสาคญั ของจติ วิทยาการศกึ ษา……………………………………………… 16 ทฤษฎี แนวคิดเก่ียวกบั จติ วิทยาการศกึ ษา………………………………………………………..…. 16 จิตวทิ ยาพฒั นาการ…………….……………………………………………………..………………..……. 20 ทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ งกับพฒั นาการของมนุษย์…………………………………………………….……. 22 หน่วยท่ี 4 กระบวนการวดั และประเมินผลสาหรบั ผู้เรียน………………………………………………….. 29 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้…………………………………………………………………..…… 29 แนวทางการวดั ประเมนิ ผลผเู้ รียนเรียนรวม………………………………………………….……… 30 หน่วยท่ี 5 การประกันคุณภาพการศึกษา.........………………………………………………………………… 33 มาตรฐานการศึกษาศูนย์การศึกษาพเิ ศษ…………………………………………………………….. 33 มาตรฐานการศกึ ษาพเิ ศษขนั้ พน้ื ฐาน 4 ประเภทความบกพรอ่ ง เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา…………………………………………………… 34 สรุปสาระสาคัญ………………………………………………..……………………………………….………........... 35 แหลง่ ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ทต่ี ้องศึกษา บรรณานุกรม ภาคผนวก คณะทางาน
แนวทางการใช้ชดุ การศกึ ษาดว้ ยตนเอง ท่านทีศ่ กึ ษาเอกสารควรปฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี 1. ศกึ ษาขอบข่ายของเน้ือหา และสาระสาคัญของเอกสาร 2. ทาความเขา้ ใจเน้อื หาอยา่ งละเอียด 3. ศกึ ษาจากแหลง่ ความรเู้ พิ่มเติม 4. โปรดระลกึ ไว้เสมอวา่ การศึกษาจากเอกสารด้วยตนเอง เปน็ เพียงสว่ นหนึ่งของการพฒั นา ความร้ดู ้านการศึกษาพเิ ศษเท่าน้นั ควรศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหล่งความรู้อน่ื ๆ เพม่ิ เติม
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ น้ื ฐานทางการศึกษาพเิ ศษ คาว่า “พิเศษ” ในภาษาไทยแปลมาจากคาว่า “exceptionality” ในศาสตร์นี้หมายถึง “ความเบี่ยงเบนด้านพฒั นาการและพฤติกรรมจากเกณฑ์ที่ปกติอย่างมาก และอย่างชัดเจนท้ังทางบวกและ ลบ” ความเบ่ียงเบนน้ัน เป็นได้ในทุกมิติของพัฒนาการ เช่น กาย สังคม อารมณ์ สติปัญญา ภาษา ฯลฯ โดยท่ัวไปความเบ่ียงเบนมักเกิดอย่างเป็นองค์รวมที่สัมพันธ์กัน ในการจาแนกกลุ่ม มักจะจาแนกความ พเิ ศษโดยถือความชัดเจนด้านใดด้านหนึ่งเป็นหลักเกณฑ์ ทั้งนี้มิได้รวมถึงความเบี่ยงเบนท่ีมีลักษณะพยาธิ สภาพทางจิต (phychotic disorders) คาว่าเด็กพเิ ศษ (Special Child) หรอื ท่ใี ช้ในด้านการจัดการศกึ ษาพิเศษ ว่าเด็กที่มีความต้องการ พิเศษ (Children with Special Need) น้ันมีคาทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องหลายคา เช่น คนพิการ (Cripple) ผู้มีความบกพรอ่ ง (Handicap) เด็กนอกระดบั (Exceptional Children) ความหมายของการศึกษาพิเศษ ความหมายของการศึกษาพิเศษ มีผ้ใู ห้ความหมายไว้หลากหลาย ดังน้ี พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กล่าวถึง การจัดการศึกษาพิเศษว่าเป็นการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา อารมณ์ สงั คม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่ สามารถพ่ึงพาตนเองได้หรอื ไม่มีผู้ดแู ลหรอื ดอ้ ยโอกาส การศึกษาพิเศษ (Special Education) หมายถึง การให้การศึกษาแก่ผู้เรียนเป็นพิเศษทั้งโดย วธิ กี ารสอน การจดั ดาเนนิ การวธิ กี ารสอน และการให้บรกิ าร ทัง้ นี้เพราะบุคคลเหล่านี้เป็นผ้ดู อ้ ยโอกาสและ ขาดความเสมอภาคในการได้รับสิทธิตามที่รัฐจัดการศึกษาภาคบังคับให้แก่เด็กในวัยเรียนโดยท่ัวไป ซงึ่ สาเหตุแห่งความด้อยโอกาสน้ัน เป็นผลมาจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์ นอกจากนี้ยังรวมถึงการจัดการศึกษาให้แก่เด็กปัญญาเลิศ ซึ่งเป็นเด็กท่ีมีระดับสติปัญญาสูงกว่าเด็กปกติ (ศรียา นยิ มธรรม. 2533 อ้างใน พมิ พพ์ รรณ เทพสุเมธานนท์ . 2553) การศึกษาพิเศษ หมายถึง การศึกษาที่จัดข้ึนสาหรับเด็กท่ีบกพร่องทางสติปัญญา เด็กท่ีบกพร่อง ทางสายตา เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน เด็กท่ีบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ เด็กท่ีบกพร่องทาง อารมณ์และพฤติกรรม เด็กท่ีบกพร่องทางการเรียน เด็กพิการซ้าซ้อน รวมถึงการจัดการศึกษาสาหรับเด็ก ปญั ญาเลศิ และเด็กที่มคี วามสามารถพิเศษ ซึง่ เด็กเหล่านี้ไม่อาจได้รับประโยชน์เต็มท่ีจากการศึกษาท่ีจัดให้ ปกติ ดังน้ัน การศึกษาพิเศษจึงแตกต่างไปจากการศึกษาสาหรับเด็กปกติในด้านเกี่ยวกับวิธีการสอน ขบวนการเนื้อหาวิชา หลักสูตร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์การสอนที่จาเป็น การศึกษาพิเศษควรจัดให้สนอง ความต้องการและความสามารถของแต่ละบุคคล (ผดุง อารยะวิญญู. 2542 อ้างใน พิมพ์พรรณ เทพสเุ มธานนท์ . 2553) การศึกษาพิเศษ หมายถึง การรักษา และปูองกัน การรักษามีลักษณะเป็นการบาบัดรักษาความ บกพร่อง ความไร้ความสามารถในการเรียนรู้ออกไปจัดหาวิธีการเรียนแบบอื่นมาทดแทนหรือชดเชย การปูองกนั โดยการจดั การบรกิ ารเพอื่ สนองความต้องการพเิ ศษของเดก็ ตัง้ แต่ก่อนวยั เรียนใช้ความพยายาม
2 ในการจัดการศึกษาเพื่อปูองกัน การไร้ความสามารถไม่ให้ขยายมากขึ้นรุนแรงมากขึ้น (พิมพ์พรรณ วรชุตนิ ธร. 2545 อ้างใน พมิ พพ์ รรณ เทพสเุ มธานนท์. 2553) จากความหมายดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าการศึกษาพิเศษ คือการจัดการศึกษาเพ่ือฟ้ืนฟูบาบัด และชดเชยความบกพร่อง รวมท้ังส่งเสริมศักยภาพให้แก่เด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการเรียนรู้ รวมถึง การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปัญญาเลิศและ เด็กท่มี ีความสามารถพิเศษดว้ ย หลกั การจดั การศกึ ษาพเิ ศษ เด็กพิเศษทุกคนควรได้รับการศึกษาอย่างเพียงพอ เพื่อพัฒนาสมรรถภาพของตนให้ถึงขั้นสูงสุด การศกึ ษาพิเศษจะต้องเน้นถึงความสามารถ และศักยภาพของเด็กพิเศษ โดยไม่ตอกย้าความพิการของเขา แต่ในเวลาเดียวกัน การศึกษาพิเศษจะต้องปรับเปล่ียนตามความต้องการและจาเป็นของเด็กด้วย ซ่ึงหมายความว่านักการศึกษาจะต้องไม่มองข้ามความพิการของเด็กเหล่าน้ัน หลักการสาคัญที่เกี่ยวกับ การศึกษาพิเศษ ได้แก่ 1. การจัดบรกิ ารพเิ ศษตอ้ งกระทาอย่างฉับพลนั ทนั ที ทคี่ ้นพบความต้องการและจาเป็น พเิ ศษของเดก็ 2. ความพิการบางประเภทควรถือว่าเป็นเพียงอาการ มากกว่าท่ีจะเป็นความผิดปกติ ทางภายภาพ และอาจปรากฏอยเู่ พยี งช่วงเวลาหนง่ึ เทา่ นั้น 3. เดก็ พิการคนใดคนหน่งึ อาจต้องการรปู แบบการจดั การศึกษาพเิ ศษ ทแี่ ตกตา่ งกันไป ตามช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนง่ึ ของชีวิต 4. การจัดบริการสาหรับเด็กพิเศษ ต้องครอบคลุมต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนถึงระดับ มธั ยมศึกษา 5. การจัดการศึกษาพิเศษในสภาพแวดล้อมท่ีจากัดน้อยที่สุด ตามความเหมาะสมย่อม เปน็ การชว่ ยเหลือ สนับสนุนเดก็ พิเศษได้อยา่ งเตม็ เมด็ เต็มหน่วย การจัดการศึกษาดังกล่าวจะต้องประสาน ความสามารถของครูปกตแิ ละครกู ารศึกษาพเิ ศษอยา่ งมีประสิทธผิ ล ปรัชญาการศึกษาพเิ ศษ จากหลกั การจดั การศึกษาพเิ ศษขา้ งต้นก่อใหเ้ กิดปรชั ญาการศึกษาพเิ ศษขนึ้ ดงั นี้ 1. ปรชั ญาทั่วไปทีเ่ ป็นหลกั ฐานในการจดั การศกึ ษาพิเศษคอื 1.1 ทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันในการท่ีจะได้รับบริการทางการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นคน พิการหรือคนปกติ เม่ือรัฐจัดการศึกษาให้แก่เด็กปกติแล้วก็ควรจัดการศึกษาให้แก่เด็กพิเศษด้วย หากเด็ก พเิ ศษไมส่ ามารถเรียนในโปรแกรมการศึกษาที่รัฐจัดให้เด็กปกติได้ ก็เป็นหน้าท่ีของรัฐที่จะจัดการศึกษาให้ สนองต่อความตอ้ งการของเด็กพเิ ศษเหล่าน้นั 1.2 เด็กพิเศษควรได้รับการศึกษาควบคู่ไปกับการบาบัด การฟ้ืนฟูสมรรถภาพทุกด้าน โดยเร็วที่สุดในทันทีท่ีทราบว่าเด็กมีความต้องการพิเศษ ทั้งนี้เพ่ือเป็นการเตรียมเด็กให้มีความพร้อมท่ีจะ เรียนต่อไปและมีพัฒนาการทกุ ดา้ นถึงขดี สูงสุด 1.3 การจัดการศึกษาพิเศษ ควรคานึงถึงการอยู่ร่วมสังคมกับคนปกติได้อย่างมี ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนสาหรับเด็กเหล่านี้จึงควรให้เรียนร่วมกับเด็กปกติให้มากท่ีสุดเท่าท่ี
3 จะทาได้ เว้นแต่เด็กพิเศษผู้น้ันมีสภาพความพิการหรือความบกพร่องในขั้นรุนแรงไม่อาจเรียนร่วม ได้ อยา่ งไรกต็ ามเด็กพเิ ศษควรได้สัมผัสกบั สงั คมคนปกติ 1.4 การจัดการศึกษาพิเศษต้องปรับให้เหมาะกับสภาพความเสียเปรียบของเด็กพิเศษ แต่ละประเภทโดยใชแ้ นวการจดั การศกึ ษาของเด็กปกติ 1.5 การจัดการศึกษาพิเศษและการฟื้นฟูบาบัดทุกด้าน ควรจัดเป็นโปรแกรมให้เป็น รายบุคคลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบางอย่าง อาจจัดกลุ่มเล็กสาหรับเด็กท่ีมีความบกพร่อง หรอื ความตอ้ งการคล้ายคลงึ กนั และอยใู่ นระดบั ความสามารถที่ใกล้เคียงกัน 1.6 การจัดโปรแกรมการสอนเด็กพิเศษ ควรเน้นที่ความสามารถของเด็กและให้เด็กมี โอกาสประสบความสาเร็จมากกว่าท่ีจะคานึงถึงความพิการหรือความบกพร่องเพ่ือทาให้เด็กมีความมั่นใจ ว่าแม้ตนจะมีความบกพร่องก็ยังมีความสามารถอย่างเท่าเทียมหรือดีกว่าเด็กปกติซึ่งช่วยให้เด็กสามารถ ปรับตัวได้ดขี ้ึน 1.7 การศึกษาพิเศษควรให้เด็กมีความเข้าใจยอมรับตนเอง มีความเช่ือมั่น มีสัจการ แหง่ ตน และมุ่งให้ช่วยตนได้ ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.8 การศึกษาพเิ ศษควรจัดทาอย่างต่อเน่อื ง เร่ิมตง้ั แต่แรกเกิดเรื่อยไปขาดตอนไม่ได้และ ควรเน้นถงึ เร่อื งอาชีพด้วย 2. ปรัชญาเฉพาะในการจดั การศึกษาพเิ ศษตั้งอยบู่ นรากฐานท่ีวา่ 2.1 เดก็ แต่ละคนมีความแตกต่างทัง้ ดา้ นร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์และสังคม 2.2 เด็กแต่ละคนมีพื้นฐานท่ีแตกต่างกัน แต่ละคนจะต้องเรียนรู้ เพื่อปรับตัวเข้าหากัน และให้ทันกบั โลกทก่ี าลงั เปลีย่ นแปลง 2.3 เด็กแต่ละคนย่อมมีความสามารถต่างกัน การศึกษาจะช่วยให้ความสามารถของเด็ก ปรากฏเดน่ ชดั ขึ้น 2.4 ในสังคมมนุษย์ย่อมมีทั้งคนปกติและคนพิการซ่ึงไม่สามารถแยกคนพิการออกจาก คนปกตไิ ด้ ควรให้เขามีโอกาสเรยี นรว่ มกับเด็กปกติให้มากทส่ี ดุ เท่าทจี่ ะทาได้ 2.5 เด็กที่มีความต้องการพิเศษจะมีความต้องการ และความสามารถทางการศึกษา แตกต่างกับเด็กปกติ ดังน้ันการให้การศึกษาควรมีรูปแบบและวิธีท่ีแตกต่างจากเด็กปกติเพื่อให้เด็กพัฒนา ศักยภาพในการเรียนรู้ได้อยา่ งเต็มที่ จะเห็นได้ว่าในการจัดการศึกษาพิเศษให้กับเด็กพิเศษนั้น ด้วยแนวคิดและปรัชญาที่ว่า เด็กพิการ ทุกคนมีโอกาสและสามารถเรียนรู้หรือได้รับการฝึกฝน ได้รับการบาบัด การฟ้ืนฟูสมรรถภาพให้เกิดแก่ ตนเอง ครอบครัวและสังคม แต่เน่ืองจากเด็กพิเศษแต่ละคนแต่ละประเภทมีระดับของความต้องการ แตกต่างกัน ดังนั้นการจัดการศึกษาพิเศษควรจัดให้เด็กได้พัฒนาตนเองให้เร็วที่สุดและมากที่สุดเท่าที่ เป็นไปได้ (พิมพพ์ รรณ เทพสุเมธานนท์. 2553)
4 เหตผุ ลความจาเป็นและสภาพปัจจบุ นั ของการจดั การศกึ ษาสาหรับบุคคลท่ีมคี วามบกพร่อง ทรัพยากรมนุษย์นับเป็นทุนท่ีสาคัญในการพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติซึ่งเป็นแผนพัฒนาประเทศ มุ่งเน้นให้ “คน” เป็นศูนย์กลางของพัฒนาประเทศโดยเคร่ืองมือท่ี สาคญั ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คือ “การศึกษา” ท้ังน้ีเนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการช่วยให้คน มีความรู้ สติปัญญา เกิดการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ดังนั้น รัฐบาล ไทยจึงตระหนักและเล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมให้คนในประเทศได้รับการศึกษา โดย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้คนไทยทุกคนมีสิทธิและโอกาสในการเข้าถึง การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานไมน่ ้อยกว่าสบิ สองปที รี่ ฐั ตอ้ งจัดใหอ้ ยา่ งท่วั ถงึ และมคี ุณภาพโดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย สิทธิทางการศึกษาของคนพิการได้กาหนดไว้ในมาตรา 10 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 ระบุว่า คนพิการมีสิทธิและ โอกาสได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นพิเศษ ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง และมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษา สาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 กาหนดให้คนพิการมีสิทธิได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมท้ังการ ได้รับสิง่ อานวยความสะดวก สื่อ บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออน่ื ใดทางการศกึ ษา โดยจัดให้อย่างทั่วถึงและ มคี ุณภาพที่เหมาะสมสอดคล้องกบั ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษของแตป่ ระเภทและบคุ คล หน่วยงาน องคก์ ร หรือบุคคลท่ีมีบทบาทในการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการมีหลายกลุ่มด้วยกัน ได้แก่ 1. หน่วยงานรฐั โดยมกี ระทรวงการศึกษาธิการเป็นหนว่ ยงานหลกั ในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ น พิการได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานทางการศึกษาของแต่ละประเภทความพิการท้ังในระบบ นอกระบบ รูปแบบการจัดมีทั้ง การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาพิเศษ เฉพาะความพิการ 2. ชมุ ชน องคก์ รเอกชน ได้แก่ มูลนิธิ สมาคมหรือชมรมตา่ งๆ มีบทบาทสาคญั ในการจัด การศึกษาให้คนพิการมาโดยตลอดเช่นกัน ซ่ึงมีระบบ รูปแบบและแนวทางในการจัดกิจกรรมส่งเสริม การศึกษาและการเรียนรใู้ หแ้ กค่ นพกิ ารทแี่ ตกต่างหลากหลายตามกลุ่มเปูาหมายแต่ละประเภทความพิการ เช่น จัดบริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมแก่เด็กพิการและครอบครัว จัดศูนย์เด็กเล็กเพ่ือเตรียมความพร้อม ของเดก็ พิการ จดั การเรยี นการสอนในรูปแบบศนู ย์การเรียนของครอบครัวหรือองค์กร เป็นต้น 3. ครอบครวั หรือผู้ปกครองคนพิการ มีบทบาทสาคัญในการสง่ เสรมิ และกระตุ้นพัฒนาการทาง การศึกษาให้แก่คนพิการ ทั้งการเตรียมความพร้อมการฝึก การส่งเสริมการเรียนรู้ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ตามความจาเป็นเหมาะสม จะเห็นว่าการจัดบริการทางการศึกษาให้แก่คนพิการจะมีผู้เกี่ยวข้องหลายกลุ่ม (stakeholder) และมรี ูปแบบการจัดบริการท่ีหลากหลาย แต่ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานรัฐ ชุมชน องค์กรเอกชน ครอบครัวหรือผู้ปกครองคนพิการ ต่างมีเปูาหมายเดียวกัน คือ ต้องการให้คนพิการได้รับการศึกษาท่ีมี คุณภาพในทุกระดับ โดยท่ัวถึงและเท่าเทียมกับคนทั่วไป เพื่อให้คนพิการสามารถพัฒนาตนเอง อยา่ งต่อเนื่อง ซึง่ สอดคล้องกบั แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในทศวรรษท่ี สองของการปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2552-2561) ท่ีกาหนดวิสัยทัศน์ว่า “คนพิการได้รับการศึกษาตลอด ชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ ทว่ั ถงึ และเสมอภาค” (สภาคนพกิ ารทุกประเภทแห่งประเทศไทย. 2555)
5 การจัดการศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร ไดพ้ จิ ารณาจากการดาเนนิ งานขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน หลายแห่ง ซึ่งร่วมกันจัดการศึกษาในหลายรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศัย เพ่อื สนองเจตนารมณ์ของพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 10 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและ โอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาสาหรับบุคคล ซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือผู้มีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซ่ึงไม่สามารถ พึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาสต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้น พื้นฐานเป็นพิเศษ ดังน้ัน การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสองได้จัดการศึกษาให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ ความพิการ โดยไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ย และให้บุคคลดงั กลา่ วมีสิทธไิ ดร้ บั สง่ิ อานวย ความสะดวก ส่ือ บริการ และ ความช่วยเหลอื อ่ืนใดทางการศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง และสอดคล้องกับ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555–2559 รวมทั้งกฎหมายและปฏิญญา ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้คนพิการได้รับบริการทางการศึกษาตรงตามความต้องการจาเป็นพิเศษเฉพาะ บุคคล และสามารถดารงชวี ิตอสิ ระ (Independent Living: IL) ไดใ้ นทุกบริบทของสังคม ภายใต้นโยบาย สังคมไทยไม่ทอดทิ้งกันกระทรวงศึกษาธิการ แบ่งโครงสร้างการบริหารออกเป็น 5 องค์กรหลัก คือ 1) สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 2) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 3) สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 4) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 5) สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ซ่ึงมีบทบาทภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ รวมท้ังการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการทุกประเภท ซ่ึงครอบคลุม การใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention: EI) การเตรียมความพร้อมและประสานส่งต่อ จนถึงวัยเรียนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 12 ปี ระดับอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยด้วยรูปแบบวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสมสาหรับคนพิการทุก ประเภท ในปี พ.ศ. 2550-2554 ให้บริการการศึกษาสาหรับคนพิการในทุกระบบและทุกระดับการศึกษา ได้จานวนทั้งสิ้น 1,014,908 คน ซ่ึงจาแนกเป็นปี 2550 จานวน 228,807 คน, ปี 2551 จานวน 230,410 คน, ปี 2552 จานวน 274,321 คน, ปี 2553 จานวน 281,370 คน และในปี 2554 จานวน 341,947 คน โดยครอบคลมุ จานวนคนพิการทัง้ 9 ประเภทความพิการตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการไดจ้ ัดบริการการศกึ ษาสาหรับคนพิการทกุ ประเภทความพิการดว้ ยรปู แบบ การจัดการศึกษาทีห่ ลากหลายและประสบผลสาเร็จในเชิงคุณภาพ ของการให้บริการการศึกษาสาหรับคน พิการคือ 1. จานวนคนพิการได้รับการศึกษาในระดับการศึกษาที่สูงข้ึน โดยเฉพาะระดับอาชีวศึกษาและ อดุ มศกึ ษา ทาให้คนพกิ ารสามารถพฒั นาองคก์ รเอกชนด้านคนพิการ และเครือข่ายได้เข้มแข็ง ส่งผลให้คน พิการมีงานทาเพ่ิมมากข้ึน สามารถพ่ึงพาตนเองได้ พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการออกกฎหมายต่างๆ ท่ีเกีย่ วข้องกบั วิถชี วี ิตคนพกิ ารได้ 2. ด้านผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น และทางกายภาพของนกั เรียน นสิ ติ นักศกึ ษาพิการมีการพัฒนา ในทิศทางท่ีดีข้ึนตามลาดับ โดยเฉพาะในระดับการศึกษาท่ีเป็นการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและ เตรียมความพร้อม และประสานส่งต่อได้มีรูปแบบวิธีการพัฒนาคนพิการในวัยเรียนเป็นรูปธรรมมากข้ึน โดยกระบวนการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program: IEP)
6 และแผนการสอนรายบุคคล (Individual Implementation Plan: IIP) การจัดทาแผนการให้บริการช่วง เชื่อมต่อเฉพาะบุคคล (Individual Transition Plan: ITP) รวมทั้งระบบการจัดบริการสิ่งอานวยความ สะดวก ส่อื บรกิ าร และความช่วยเหลืออน่ื ใดทางการศกึ ษาตามระบบคปู องการศึกษา 3. ด้านคณุ ภาพการจดั การศึกษา ในทกุ ระดบั การศกึ ษา ท้งั การศึกษาในระบบและการศึกษานอก ระบบ รวมท้ังการศกึ ษาตามอัธยาศัย ยงั มีปัญหาในสามมติ ใิ หญ่ ได้แก่ 3.1 มิตดิ า้ นบคุ ลากร แบ่งได้เป็น 2 ประเดน็ 3.1.1 ขาดแคลนบคุ ลากร ดงั นี้ 1) การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 2) อาชวี ศึกษา 3) การจัดการศกึ ษาเอกชน 4) การจัดการศึกษานอกโรงเรียน 3.1.2 คุณภาพบคุ ลากรท่ใี หบ้ ริการทางการศกึ ษาสาหรับคนพิการ ดงั นี้ 1) ขาดความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน เช่น ความรู้ด้านกายภาพบาบัด ความรู้ทาง กิจกรรมบาบัด ความรู้ด้านอาชีวะบาบัด ความรู้ด้านอรรถบาบัด ความรู้ด้านดนตรีบาบัด ความรู้ด้าน ศิลปะบาบัด ความรู้ดา้ นจิตวทิ ยาการศกึ ษาพเิ ศษ รวมทัง้ ความเช่ียวชาญเฉพาะด้านอ่ืน ๆ ที่จาเป็นสาหรับ คนพกิ าร 2) ขาดการสนับสนนุ ให้มกี ารวจิ ัยในสถานศกึ ษา สง่ ผลให้ขาดการพัฒนา นวัตกรรมในการพัฒนาการเรียนการสอน การฝึกทักษะให้คนพิการ แต่ละประเภทและแต่ละระดับความ พกิ าร 3) ขาดการพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ เรื่องการให้บริการและใช้ส่ิงอานวย ความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษาที่ต้องใช้และบริการ ให้ตรงตามความ ต้องการจาเป็นเฉพาะบคุ คล 4) ขาดองค์ความรู้ด้านการศึกษาพิเศษ โดยเฉพาะครูในสถานศึกษาทั่วไปใน ทกุ ระดับการศึกษาท่จี ัดการเรียนร่วม 3.2 มติ ิทางดา้ นกายภาพ แบง่ ได้เป็น 3 ประเด็น 3.2.1 ขาดอาคารสถานที่ ท่ีมีรูปแบบที่เหมาะสม สาหรับการจัดการศึกษาสาหรับคน พกิ าร ทงั้ ประเภทความพกิ ารซ่ึงมคี วามแตกตา่ งกนั เพือ่ ให้เป็นสังคมท่ีปราศจากอุปสรรค 3.2.2 ความพอเพียง ด้านสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใด ทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงฯ ซึ่งขณะนี้ยังไม่มีหน่วยงานใดตั้ง งบประมาณสาหรับบัญชี ก ซึ่งเป็นรายการอุปกรณ์อานวยความสะดวกท่ีเป็นรายการขนาดใหญ่และมี ราคาค่อนข้างสูง และเปน็ ระบบการให้คนพกิ ารยืมใชต้ ามกฎกระทรวง ฯ 3.2.3 คนพิการจานวนมากยังไม่สามารถเข้าถึงบริการส่ิงอานวยความสะดวกส่ือ บริการ และความชว่ ยเหลืออื่นใดทางการศึกษา จากสถานศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ 4. ด้านการบริหารจัดการ การดาเนินงานจัดทาระบบที่สาคัญ 4 ส่วน ได้แก่ ระบบการพัฒนา บุคลากรของสถานศึกษา ระบบการพัฒนาสถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นร่วม จดั วางระบบและพฒั นาเครือข่าย การกระจายส่งิ อานวยความสะดวก ส่อื บรกิ าร และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ให้เด็กพิการเรียน ร่วมและระบบการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะส้ันตามประเภทความพิการ และเน่ืองจาก
7 เงนิ กองทนุ ส่งเสรมิ และพัฒนาการศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร ไม่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมซึ่งระบบเงินกองทุนฯ ดังกล่าวเป็นระบบท่ีสามารถบูรณาการงานระหว่างหน่วยงานได้เป็นอย่างดี และมีความคล่องตัวในการ ดาเนนิ งานดา้ นการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ ารได้มาก แต่เม่ือขาดการสนับสนุนการจัดการศึกษาสาหรับ คนพกิ าร ทาใหค้ วามพิการที่แตกตา่ งกันยังมจี านวนมาก และไม่เป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนดและจานวน ผู้ให้บริการ ดังนั้นสภาพปัญหาจึงยังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ืองและควรได้รับความช่วยเหลือตามสิทธิ ข้นั พ้ืนฐานของคนพกิ าร (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2555) การจาแนกประเภทความพกิ ารทางการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง กาหนดประเภทและหลักเกณฑข์ องคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 3 และมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับ คนพิการ พ.ศ. 2551 รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ ออกประกาศกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ ของคนพกิ ารทางการศกึ ษา ไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552” ข้อ 2 ประเภทของคนพิการ มีดงั ต่อไปนี้ (1) บุคคลที่มีความบกพรอ่ งทางการเหน็ (2) บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการได้ยนิ (3) บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางสตปิ ัญญา (4) บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย หรอื การเคลอื่ นไหว หรือสุขภาพ (5) บุคคลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ (6) บุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา (7) บุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ์ (8) บคุ คลออทสิ ติก (9) บคุ คลพกิ ารซอ้ น ข้อ 3 การพิจารณาบุคคลที่มีความบกพร่องเพ่ือจัดประเภทของคนพิการ ให้มีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) บคุ คลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเห็น ได้แก่ บุคคลที่สูญเสียการเห็นต้ังแต่ระดับเล็กน้อยจนถึง ตาบอดสนทิ ซึง่ แบง่ เปน็ 2 ประเภทดงั น้ี (1.1) คนตาบอด หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นมาก จนต้องใช้ส่ือสัมผัสและส่ือเสียง หากตรวจวัดความชัดของสายตาข้างดีเม่ือแก้ไขแล้ว อยู่ในระดับ 6 ส่วน 60 (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 (20/200) จนถึงไมส่ ามารถรับรู้เร่อื งแสง (1.2) คนเห็นเลือนราง หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็น แต่ยังสามารถอ่านอักษร ตวั พิมพ์ขยายใหญด่ ว้ ยอปุ กรณ์เครื่องช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก หากวัดความ ชดั เจนของสายตาขา้ งดเี ม่ือแก้ไขแล้วอยูใ่ นระดบั 6 สว่ น 18 (6/18) หรือ 20 สว่ น 70(20/70) (2) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ได้แก่ บุคคลท่ีสูญเสียการได้ยินต้ังแต่ระดับหูตึงน้อย จนถึงหหู นวก ซ่ึงแบง่ เป็น 2 ประเภท ดังนี้
8 (2.1) คนหหู นวก หมายถงึ บคุ คลท่สี ูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถเข้าใจการพูดผ่าน ทางการได้ยนิ ไมว่ ่าจะใส่หรือไม่ใส่เคร่ืองช่วยฟัง ซึ่งโดยทั่วไปหากตรวจการได้ยินจะมีการสูญเสียการได้ยิน 90 เดซเิ บลข้ึนไป (2.2) คนหูตึง หมายถึง บุคคลท่ีมีการได้ยินเหลืออยู่เพียงพอที่จะได้ยินการพูดผ่าน ทางการได้ยิน โดยท่ัวไปจะใส่เคร่ืองช่วยฟัง ซ่ึงหากตรวจวัดการได้ยินจะมีการสูญเสียการได้ยินน้อยกว่า 90 เดซิเบลลงมาถึง 26 เดซิเบล (3) บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลที่มีความจากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบัติ ตน (Functioning) ในปัจจุบัน ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย อย่างมีนัยสาคัญร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย 2 ทักษะจาก 10 ทักษะ ได้แก่ การส่ือความหมาย การดแู ลตนเอง การดารงชีวิตภายในบ้านทักษะทางสงั คม/การมีปฏสิ ัมพันธก์ บั ผู้อืน่ การรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน การรู้จักดูแลควบคุมตนเอง การนา ความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน การใช้เวลาว่าง การรักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ท้ังน้ีได้แสดงอาการดังกล่าว กอ่ นอายุ 18 ปี (4) บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ (4.1) บคุ คลท่มี คี วามบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคล่อื นไหว ได้แก่ บุคคลที่มีอวัยวะไม่ สมสว่ นหรอื ขาดหายไป กระดูกหรือกล้ามเน้ือผิดปกติ มีอุปสรรคในการเคล่ือนไหวความบกพร่องดังกล่าว อาจเกิดจากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกการไม่สมประกอบ มาแต่กาเนิด อบุ ัติเหตแุ ละโรคตดิ ต่อ (4.2) บุคคลที่มีความบกพรอ่ งทางสุขภาพ ไดแ้ ก่ บุคคลที่มีความเจ็บปุวยเรื้อรังหรือมีโรค ประจาตัวซ่ึงจาเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเน่ือง และเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผลทาให้เกิด ความจาเป็นตอ้ งได้รบั การศกึ ษาพเิ ศษ (5) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ได้แก่ บุคคลท่ีมีความผิดปกติในการทางานของสมอง บางส่วนท่ีแสดงถึงความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้ที่อาจเกิดข้ึนเฉพาะความสามารถด้านใดด้านหน่ึง หรือหลายด้าน คือ การอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ซึ่งไม่สามารถเรียนรู้ในด้านที่บกพร่องได้ ท้ังที่มี ระดบั สตปิ ัญญาปกติ (6) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา ได้แก่ บุคคลท่ีมีความบกพร่องในการเปล่ง เสียงพดู เชน่ เสียงผดิ ปกติ อตั ราความเรว็ และจงั หวะการพดู ผิดปกติ หรอื บุคคลท่ีมีความบกพร่อง ในเร่ือง ความเข้าใจหรอื การใช้ภาษาพดู การเขยี นหรือระบบสัญลกั ษณ์อนื่ ท่ใี ช้ในการติดต่อส่ือสาร ซึ่งอาจเก่ียวกับ รปู แบบ เนอื้ หาและหน้าท่ีของภาษา (7) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ได้แก่ บุคคลท่ีมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป จากปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเป็นไปอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นผลจากความบกพร่อง หรือความผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในส่วนของการรับรู้ อารมณ์หรือความคิด เช่น โรคจิตเภท โรคซมึ เศร้า โรคสมองเส่อื ม เป็นตน้ (8) บุคคลออทสิ ติก ได้แก่ บุคคลที่มีความผิดปกตขิ องระบบการทางานของสมองบางส่วนซึ่งส่งผล ต่อความบกพร่องทางพัฒนาการด้านภาษา ด้านสังคมและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และมีข้อจากัดด้าน
9 พฤติกรรม หรือมีความสนใจจากัดเฉพาะเรื่องใดเร่ืองหน่ึง โดยความผิดปกติน้ันค้นพบได้ก่อนอายุ 30 เดือน (9) บุคคลพิการซ้อน ได้แก่ บุคคลที่มีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่าหนึ่งประเภท ในบคุ คลเดยี วกนั (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2556) แบบคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษาตามประกาศคณะกรรมการ การพิจารณาให้คนพิการได้รับ สทิ ธิชว่ ยเหลอื ทางการศกึ ษา เรื่องกาหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี าร การรบั รองบุคคลของสถานศึกษาว่าเป็น คนพกิ าร (ดงั ภาคผนวก)
หนว่ ยท่ี 2 กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกับการจดั การศกึ ษาสาหรบั คนพิการ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ไดใ้ หค้ วามสาคญั ตอ่ การศึกษาเพอื่ คนพิการไว้ดงั นี้ มาตรา 49 ระบุว่า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้อง จัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะ ยากลาบาก ต้องได้รับสิทธิตามวรรคหน่ึงและการสนับสนุนจากรัฐเพ่ือให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับ บุคคลอื่น การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพหรือเอกชนการศึกษาทางเลือกของประชาชน การ เรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ย่อมไดร้ ับการคมุ้ ครองและสง่ เสริมทเี่ หมาะสมจากรฐั พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ไดก้ ลา่ วถึงสทิ ธทิ างการศกึ ษาของคนพกิ ารไวด้ ังนี้ มาตรา 10 ระบุว่า การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาอารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคล ซึ่งไม่ สามารถพึ่งตัวเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสาหรับคนพกิ ารในวรรคสองให้จัดตงั้ แตแ่ รกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทาง การศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทก่ี าหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซ่ึงมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมโดย คานึงถึงความสามารถของบคุ คลนนั้ มาตรา 22 ระบุว่า หลักการจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศกั ยภาพ มาตรา 24 ระบุว่า กระบวนการเรียนรู้ ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจ ความถนัด และความแตกต่างของผเู้ รียน มาตรา 26 ระบุว่าการประเมินผลการเรียนรู้ พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่กันไปตามความเหมาะสมของแต่ละ ระดับและรปู แบบการศกึ ษา และใหน้ าผลการประเมนิ ดงั กลา่ วมาใชป้ ระกอบ การพิจารณาในการจัดสรร โอกาสการเข้าศกึ ษาต่อ โดยใช้วธิ กี ารที่หลากหลาย
11 พระราชบัญญัติการจดั การศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 มาตรา 3 ระบุวา่ “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซงึ่ มขี อ้ จากดั ในการปฏิบตั กิ ิจกรรมในชีวติ ประจาวันหรอื เข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้าน ตา่ งๆ และมีความต้องการจาเป็นพิเศษทางการศึกษาที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพ่ือให้ สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังค มได้อย่างบุคคลท่ัวไปท้ังนี้ ตามประเภทและหลกั เกณฑท์ ีร่ ัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด “ผู้ดูแลคนพิการ” หมายความว่า บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี ภรรยา ญาติ พ่ีน้องหรือ บคุ คลอืน่ ใดทร่ี บั ดแู ลหรือรับอปุ การะคนพกิ าร “แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล” หมายความวา่ แผนซึ่งกาหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่ สอดคล้องกับความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของคนพกิ าร ตลอดจนกาหนดเทคโนโลยี สงิ่ อานวยความสะดวก สอ่ื บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษาเฉพาะบุคคล “เทคโนโลยีสง่ิ อานวยความสะดวก” หมายความว่า เคร่ืองมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรือ บริการท่ีใช้สาหรับคนพิการโดยเฉพาะ หรือท่ีมีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจาเป็น พิเศษของคนพิการแต่ละบุคคล เพื่อเพ่ิม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึง ข้อมูล ข่าวสาร การสือ่ สาร รวมถงึ กิจกรรมอนื่ ใดในชวี ิตประจาวันเพอ่ื การดารงชีวิตอสิ ระ “ครกู ารศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูท่ีมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปฏิบตั ิหนา้ ทีใ่ นสถานศกึ ษาทั้งของรฐั และเอกชน “การเรียนร่วม” หมายความว่า การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาในระบบการศึกษาท่ัวไปทุกระดับ และหลากหลายรูปแบบ รวมถึงการจัดการศึกษา ให้สามารถรองรับการเรียนการสอนสาหรับคนทุกกลุ่ม รวมทง้ั คนพกิ าร “สถานศึกษาเฉพาะความพิการ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนท่ีจัดการศึกษา สาหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทัง้ ในลกั ษณะอยู่ประจา ไป กลับ และรับบรกิ ารท่ีบา้ น “ศูนย์การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษานอกระบบ หรือตาม อัธยาศัยแก่คนพกิ าร ตงั้ แตแ่ รกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต และจัดการศึกษาอบรมแก่ผู้ดูแล คนพิการ ครู บุคลากรและชุมชน รวมท้ังการจัดสื่อ เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก บริการและความ ช่วยเหลืออนื่ ใด ตลอดจนปฏบิ ัติหนา้ ที่อื่นตามท่ีกาหนดในประกาศกระทรวง “ศนู ยก์ ารเรียนเฉพาะความพิการ” หมายความว่า สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษานอกระบบ หรอื ตามอัธยาศัยแก่คนพิการโดยเฉพาะ โดยหน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการโรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์และสถาบันทางสังคมอ่ืนเป็นผู้จัด ตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน อาชวี ศึกษา อุดมศึกษาและหลกั สตู รระยะส้ัน มาตรา 5 ระบวุ ่า คนพกิ ารมสี ทิ ธิทางการศกึ ษา (1) ไดร้ ับการศึกษาโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ ่ายตัง้ แต่แรกเกดิ หรอื พบความพิการ จนตลอดชีวติ พร้อมท้งั ได้รบั เทคโนโลยี สง่ิ อานวยความสะดวก ส่ือ บริการและความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศึกษา
12 (2) เลือกบรกิ ารทางการศึกษา ระบบและรปู แบบการศกึ ษา โดยคานงึ ถึงความสามารถความสนใจ ความถนัดและความต้องการจาเปน็ พิเศษของบคุ คลนนั้ (3) ไดร้ ับการศึกษาทมี่ ีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมการจดั หลักสตู รกระบวนการ เรียนรู้ การทดสอบ ทางการศึกษาที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละ ประเภทและบคุ คล มาตรา 7 ระบุว่า ให้สถานศึกษาของรัฐและเอกชนที่จัดการเรียนร่วม สถานศึกษาเอกชนการกุศล ท่ีจัดการการศึกษาสาหรับคนพิการโดยเฉพาะ และศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ ท่ีได้รับการรับรอง มาตรฐานไดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ และความช่วยเหลือเปน็ พเิ ศษจากรัฐ หลักเกณฑ์และวิธีการในการรับเงินอุดหนุนและความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้เป็นไปตามท่ี คณะกรรมการกาหนด มาตรา 8 ระบุว่า ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล โดยให้ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษของคนพิการ และต้องมีการปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บคุ คลอย่างน้อยปีละหนึง่ ครั้ง ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการที่กาหนดในประกาศกระทรวง สถานศึกษาในทุกสังกัดและศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการอาจจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ในรูปแบบที่หลากหลายท้ังการเรียนร่วม การจัดการศึกษา เฉพาะความพิการ รวมถึงการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ การพัฒนาศักยภาพในการดารงชีวิตอิสระการ พัฒนาทักษะพื้นฐานท่ีจาเปน็ การฝึกอาชีพ หรือการบริการอ่ืนใด ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดสภาพแวดล้อม ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน ตลอดจนบริการ เทคโนโลยี สิง่ อานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ที่คนพิการสามารถ เข้าถงึ และใชป้ ระโยชน์ได้ ใหส้ ถานศกึ ษาระดับอุดมศึกษาในทุกสังกัด มีหน้าที่รับคนพิการเข้าศึกษาในสัดส่วนหรือจานวนท่ี เหมาะสม ทัง้ น้ี ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทคี่ ณะกรรมการกาหนด สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษา ให้ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตาม กฎหมาย ให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องสนับสนุนผู้ดูแลคนพิการและประสานความร่วมมือจาก ชุมชนหรือนักวิชาชีพเพื่อให้คนพิการได้รับการศึกษาทุกระดับ หรือบริการทางการศึกษาท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการจาเป็นพเิ ศษของคนพกิ าร พระราชบญั ญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 มสี าระสาคญั ดังน้ี “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไป มีส่วนร่วมทางสังคม เน่ืองจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจาเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรม ในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ท้ังนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ท่ี รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ประกาศกาหนด
13 “การฟนื้ ฟูสมรรถภาพคนพิการ” หมายความวา่ การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถของ คนพกิ ารใหม้ ีสภาพท่ดี ขี นึ้ หรอื ดารงสมรรถภาพหรอื ความสามารถที่มีอย่เู ดิมไว้ โดยอาศัยกระบวนการทาง การแพทย์ การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรือกระบวนการอื่นใด เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทางาน หรือดารงชีวติ ในสงั คมอย่างเต็มศกั ยภาพ “การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” หมายความว่า การฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ การจัด สวัสดิการการส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิ การสนับสนุนให้คนพิการสามารถดารงชีวิตอิสระ มีศักด์ิศรีแห่ง ความเป็นมนุษย์และเสมอภาคกับบุคคลท่ัวไป มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเต็มท่ีและมีประสิทธิภาพ ภายใต้ สภาพแวดลอ้ มทคี่ นพกิ ารสามารถเข้าถงึ และใช้ประโยชนไ์ ด้ “ผู้ดูแลคนพิการ” หมายความว่า บิดา มารดา บุตร สามี ภรรยา ญาติ พี่น้อง หรือบุคคลอื่นใดท่ี รบั ดูแลหรืออปุ การะคนพกิ าร “ผูช้ ว่ ยคนพิการ” หมายความวา่ บุคคลซึ่งให้ความชว่ ยเหลือคนพิการเฉพาะบคุ คลเพ่ือให้สามารถ ปฏบิ ัติกิจวตั รที่สาคัญในการดารงชวี ิต ท้ังนี้ ตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการกาหนด ผู้กระทาการนน้ั จะตอ้ งจัดให้มมี าตรการชว่ ยเหลือเยียวยาหรือรักษาซึ่งสิทธิหรือประโยชน์แก่คนพิการตาม ความจาเปน็ เท่าท่ีจะกระทาได้ มาตรา 16 ระบุว่า คนพิการท่ีได้รับหรือจะได้รับความเสียหายจากการกระทาในลักษณะที่เป็น การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการตามมาตรา 15 มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการ ให้มีคาสั่ง เพิกถอนการกระทาหรือห้ามมิให้กระทาการนั้นได้ คาสั่งของคณะกรรมการให้เป็นที่สุดการร้องขอตาม วรรคหนึ่ง ไมเ่ ป็นการตดั สิทธิผู้ร้องในอันท่ีจะฟูองเรียกค่าเสียหายฐานละเมิดต่อศาลท่ีมีเขตอานาจ โดยให้ ศาลมีอานาจกาหนดค่าเสียหายอย่างอ่ืน อันมิใช่ตัวเงินให้แก่คนพิการท่ีถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมได้ และหากการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการนั้นเป็นการกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง ศาลจะกาหนดค่าเสียหายในเชิงลงโทษให้แก่คนพิการไม่เกินส่ีเท่าของค่าเสียหายที่แท้จริง ด้วยก็ได้หลักเกณฑ์และวิธีการในการร้องขอ และการวินิจฉัยตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม ระเบียบที่ คณะกรรมการกาหนด มาตรา 19 ระบุว่าเพื่อประโยชน์ในการได้รับสิทธิตามมาตรา 20 คนพิการอาจย่ืนคาขอมีบัตร ประจาตัวคนพิการต่อนายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนจังหวัด ณ สานักงานทะเบียนกลาง สานักงาน ทะเบยี นจังหวัด หรอื สถานทอ่ี ื่นตามระเบยี บที่คณะกรรมการกาหนด ในกรณที ค่ี นพิการเปน็ ผ้เู ยาว์ คนเสมือนไร้ความสามารถหรือคนไร้ความสามารถหรือในกรณีท่ีคน พิการมีสภาพความพิการถึงขั้นไม่สามารถไปยื่นคาขอด้วยตนเองได้ ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาลหรือ ผู้ดูแลคนพิการ แล้วแต่กรณี จะย่ืนคาขอแทนก็ได้ แต่ต้องนาหลักฐานว่าเป็นคนพิการไปแสดงต่อนาย ทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนจังหวัด แล้วแต่กรณีด้วยการยื่นคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการและการ ออกบัตร การกาหนดสิทธิหรือการเปล่ียนแปลงสิทธิการขอสละสิทธิของคนพิการ และอายุบัตรประจาตัว คนพิการให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทค่ี ณะกรรมการกาหนดในระเบียบ มาตรา 20 ระบุว่า คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่งอานวยความสะดวกอันเป็น สาธารณะตลอดจนสวสั ดิการและความชว่ ยเหลืออื่นจากรัฐ ดังตอ่ ไปน้ี (1) การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์และค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลค่าอุปกรณ์ เคร่ืองช่วยความพิการ และส่ือส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อปรับสภาพทางร่างกาย
14 จิตใจ อารมณ์ สังคม พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือเสริมสร้างสมรรถภาพให้ดีข้ึน ตามที่ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประกาศกาหนด (2) การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติหรือแผนการศึกษาแห่งชาติตาม ความเหมาะสมในสถานศึกษาเฉพาะหรอื ในสถานศกึ ษาทัว่ ไป หรอื การศึกษาทางเลือก หรือการศึกษานอก ระบบโดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเก่ียวกับส่ิงอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใด ทางการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารให้การสนบั สนนุ ตามความเหมาะสม (3) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ การให้บริการท่ีมีมาตรฐาน การคุ้มครองแรงงาน มาตรการเพื่อการมีงานทา ตลอดจนได้รับการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ และบริการส่ือ ส่ิงอานวย ความสะดวก เทคโนโลยีหรือความช่วยเหลืออ่ืนใด เพ่ือการทางานและประกอบอาชีพของคนพิการ ตามหลกั เกณฑ์วธิ กี าร และเงอื่ นไขท่ีรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงแรงงานประกาศกาหนด (4) การยอมรับและมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองอย่างเต็มท่ี และมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานแห่งความเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไป ตลอดจนได้รับส่ิงอานวยความสะดวก และบรกิ ารต่างๆ ทจ่ี าเป็นสาหรบั คนพิการ (5) การช่วยเหลือให้เข้าถึงนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม การพัฒนาและบริการ อันเป็นสาธารณะ ผลิตภัณฑ์ท่ีมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิต การช่วยเหลือทางกฎหมายและการจัดหา ทนายความวา่ ตา่ งแก้ต่างคดี ให้เปน็ ไปตามระเบยี บที่คณะกรรมการกาหนด (6) ขอ้ มลู ขา่ วสาร การสอ่ื สาร บรกิ ารโทรคมนาคม เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร และเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกเพ่ือการส่ือสารสาหรับคนพิการทุกประเภทตลอดจนบริการส่ือ สาธารณะจากหนว่ ยงานของรฐั หรอื เอกชนทไี่ ด้รบั งบประมาณสนบั สนุนจากรัฐ ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการและ เงอื่ นไขที่รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารกาหนดในกฎกระทรวง (7) บรกิ ารล่ามภาษามือตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกาหนด (8) สทิ ธิท่ีจะนาสัตว์นาทาง เคร่อื งมอื หรืออุปกรณ์นาทาง หรือเคร่ืองช่วยความพิการใดๆ ตดิ ตวั ไปในยานพาหนะหรือสถานทีใ่ ดๆ เพื่อประโยชน์ในการเดนิ ทาง และการได้รบั ส่งิ อานวยความสะดวก อันเป็นสาธารณะ โดยได้รับการยกเว้นค่าบริการ ค่าธรรมเนียม และค่าเช่าเพิ่มเติมสาหรับสัตว์ เครื่องมือ อปุ กรณ์ หรือเครื่องชว่ ยความพิการดงั กล่าว (9) การจัดสวัสดิการเบ้ียความพิการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการกาหนด ในระเบียบ (10) การปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัย การมีผู้ช่วยคนพิการ หรือการจัดให้มีสวัสดิการ อนื่ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่คี ณะกรรมการกาหนดในระเบียบ ผู้ช่วยคนพิการ ให้มีสิทธิได้รับการลดหย่อนหรือยกเว้นค่าบริการ ค่าธรรมเนียมตามระเบียบท่ี คณะกรรมการกาหนดคนพิการที่ไม่มีผู้ดูแลคนพิการ มีสิทธิได้รับการจัดสวัสดิการด้านที่อยู่อาศัยและการ เล้ียงดจู ากหนว่ ยงานของรัฐ ในกรณีท่ีมีสถานสงเคราะห์เอกชนจัดที่อยู่อาศัยและสวัสดิการให้แล้ว รัฐต้อง จัดเงินอุดหนุนให้แก่สถานสงเคราะห์เอกชนน้ัน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนดใน ระเบยี บ ผู้ดูแลคนพิการมีสิทธิได้รับบริการให้คาปรึกษา แนะนา ฝึกอบรมทักษะ การเลี้ยงดู การจัดการ ศกึ ษาการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา ตลอดจนความชว่ ยเหลืออื่นใดเพื่อให้พึ่งตนเองได้ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนดในระเบียบคนพิการและผู้ดูแลคนพิการมีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษี
15 หรือยกเว้นภาษี ตามที่กฎหมายกาหนดองค์กรเอกชนท่ีจัดให้คนพิการได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตราน้ี มี สิทธไิ ดร้ บั การลดหย่อนภาษหี รือยกเว้นภาษเี ป็นรอ้ ยละของจานวนเงินคา่ ใชจ้ ่ายตามทกี่ ฎหมายกาหนด มาตรา 21 ระบุว่า เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้ราชการส่วน ท้องถิ่นออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อกาหนด ระเบียบหรือประกาศ แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตาม พระราชบญั ญัติน้ี
หนว่ ยที่ 3 การใช้จิตวิทยาการศกึ ษา ความหมายและความสาคญั ของจิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ท่ีศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์เพ่ือช่วยให้เกิดความเข้าใจถึงสาเหตุแห่ง การแสดงพฤตกิ รรมและควบคุมพฤตกิ รรมต่างๆได้ จิตวิทยาการศึกษาเป็นจิตวิทยาสาขาหนึ่งท่ีนาเอาความรู้และแนวคิดทางด้านจิตวิทยามาใช้ใน การศกึ ษาโดยเฉพาะเก่ยี วกบั เรอื่ งการเรยี น จิตวิทยาการศึกษา หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต โดยเน้น ความสาคัญของการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ท่ีเกี่ยวข้องกับประสบการณ์เป็นสาคัญ จะการศึกษาพฤติ กรรมภายนอกซ่ึงเป็นพฤติกรรมที่สามารถสังเ กต ได้และพฤติกรร มภายในที่ต้องใช้ เครื่องมอื ทางดา้ นจติ วิทยา ความสาคัญของจติ วทิ ยาการศกึ ษา 1. ชว่ ยให้ครไู ด้เข้าใจปญั หาทางด้านการศึกษา มีวิธีการท่ีเหมาะสมท่ีจะนาไปใช้ในการเรียนการ สอน 2. ชว่ ยให้ครูเข้าใจลักษณะการเจริญเติบโตและพัฒนาการเรียนรู้ สามารถจัดการเรียนการสอน ใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถ ความถนัดของผเู้ รยี น 3. มีความมุ่งหมายที่จะให้ครูมีเจตคติ ความเข้าใจผู้เรียนช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนา ความสามารถของตนเอง 4. ชว่ ยใหค้ รมู ีโลกทศั นก์ ว้างไกล ทาใหช้ ีวติ การเป็นครนู า่ สนุกสนานในการอยูร่ ว่ มกันกับเดก็ 5. ช่วยให้ครูเข้าใจความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลโดยเฉพาะตวั ผเู้ รยี น 6. ช่วยให้ครูเข้าใจอิทธิพลภายนอกโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อผู้เรียนและช่วยให้บรรยากาศ ในโรงเรียนนา่ อยูแ่ ละเหมาะสมกับผเู้ รียน 7. ครูจะต้องเข้าใจว่าครูเองมีบทบาทสาคัญ เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมท่ีมีอิทธิพลต่อผู้เรียน และการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน 8. ในการแก้ปัญหาการเรียนการสอน ครูควรได้นาหลักการ ทฤษฎีและเน้ือหาวิชาจิตวิทยา การศึกษาไปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชนต์ ่อวิชาชีพของตน 9. การศึกษาเปน็ กระบวนการทางสังคม ซ่ึงย่อมส่งผลต่อพัฒนาการของผู้เรียน โรงเรียนควรจัด ประสบการณใ์ ห้ผู้เรยี นไดม้ โี อกาสในการฝึกประสบการณ์ทางสงั คม ในการร่วมกิจกรรมกล่มุ (จนั ทรช์ ลี มาพุทธ.2555) ทฤษฎี แนวคิดเก่ียวกบั จติ วิทยาการศกึ ษา 1. กลุ่มโครงสร้างนยิ ม (Structuralism) หรอื ท่เี รยี กว่า กลุ่มจิตวิทยาโครงสร้างนยิ ม จิตวิทยาในกลุ่มนี้นับว่าเป็นกลุ่มบุกเบิกวงการจิตวิทยาให้เป็นท่ียอมรับว่าเป็นศาสตร์แขนงหน่ึง ของวิทยาศาสตร์ ผู้ก่อตั้งคือ วิลเฮล์ม แมกซ์ วุนต์ (Wilhelm Max Wundt) ผู้ก่อต้ังกลุ่มโครงสร้างนิยม โดยการศึกษาส่วนใหญ่จะเน้นไปทางด้านจักษุสัมผัส (Vision) ปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction time) ตอ่ ส่ิงเรา้ ความสนใจและความจา เป็นต้น
17 กลุ่มโครงสร้างของจิตได้รับอิทธิพลแนวคิดท่ีกล่าวว่า สสารทุกชนิดจะประกอบขึ้นมาจาก ส่วนย่อยๆ ตั้งแต่ส่วนที่เล็กท่ีสุดจนถึงส่วนที่ใหญ่ท่ีสุด ดังน้ันจิตของคนเราก็น่าจะสามารถแยกเป็น ส่วนประกอบย่อยๆ ได้เช่นกัน ซ่ึงเราเรียกส่วนประกอบย่อยๆ เหล่าน้ันว่าจิตธาตุ (Mental elements) แต่ทั้งน้ีจิตธาตุก็ยังสามารถแยกย่อยได้อีก 3 ส่วน ได้แก่ จิตธาตุสัมผัส (Sensation) จิตธาตุ รสู้ กึ (Felling) และจิตธาตุจินตนาการ (Imagination) เม่ือใดก็ตามที่การทางานของจิตธาตุท้ังสามดาเนิน ไปในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมจะเรียกการทางานของสามจิตธาตุน้ีว่าจิตผสมซึ่งจิตผสมน่ีเองจะก่อให้เกิด เป็นความคิด (Thinking) อารมณ์ (Emotion) ความจา (Memory) การหาเหตุผล (Reasoning) ฯลฯ ซ่ึงก็คือพฤติกรรมภายในน่นั เอง วิธีการหลักที่กลุ่มโครงสร้างของจิตใช้ในการศึกษาค้นคว้านั่นคือการตรวจสอบจิตตนเอง (Introspections) โดยกลุ่มน้ีเชื่อว่า ตนเองเท่าน้ันที่สามารถรู้เร่ืองภายในจิตใจของตนเองได้ดีที่สุด โดยผา่ นการบรรยายความคิด อารมณ์ และสิ่งทจี่ ดจาไว้ภายในออกมาโดยไมบ่ ดิ เบือน 2. กลมุ่ หนา้ ทขี่ องจิต (Functionalism) ผู้นาของกลุ่มนี้คือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) และวิลเลียม เจมส์ (William James) ซึ่งก่อตั้ง ข้นึ เม่ือปี ค.ศ. 1900 ซ่ึงนักจิตวทิ ยากลุ่มน้ีให้ความสนใจท่ีจะศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมภายในเช่นเดียวกับ กล่มุ โครงสรา้ งของจิต แต่ต่างกันตรงที่นักจิตวิทยากลุ่มน้ีให้ความสาคัญกับหน้าท่ีของจิตและกระบวนการ ที่ส่งผลต่อการแสดงออกของบุคคล โดยแนวความคิดของกลุ่มนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีวิวัฒนาการ (Theory of Evoluation) ของชาร์ล ดาร์วิน(Charles Darwin) ท่ีอธิบายถึงความสามารถในการปรับ สภาพร่างกายของส่ิงมชี วี ติ เพอ่ื ให้สามารถดารงอย่ไู ดใ้ นสภาพแวดล้อมท่ีคงอยู่หรือเปลี่ยนไป ดังน้ัน มนุษย์ ซ่ึงเป็นส่ิงมีชีวิตชนิดหน่ึงก็ย่อมท่ีจะพยายามปรับตัวเข้าหาส่ิงแวดล้อม ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการทางาน ของจติ นัน่ เอง แตท่ งั้ น้ดี ิวอ้ีได้ให้ความสาคัญกับส่วนของประสบการณ์ (Experience) ที่เกิดจากการเรียนรู้ ซง่ึ ตา่ งกบั เจมสท์ ไ่ี ดใ้ หค้ วามสาคญั ในสว่ นของสัญชาตญาณ (Instinct) มากกว่า วิธีการในการศึกษาค้นคว้าของกลุ่มหน้าท่ีของจิตน้ีก็ยังใช้การตรวจสอบจิตตนเองควบคู่ไปกับการ สงั เกตเช่นเดียวกนั กับกลมุ่ โครงสรา้ งของจิต 3. กลุม่ พฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism) กลุ่มของแนวความคิดน้ีได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางและมีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อวงการ จิตวิทยาในสหรัฐอเมริกาผู้นาในกลุ่มแนวคิดน้ีคือ จอห์น บี . วัตสัน (John B. Watson) ซ่ึงเป็นศิษย์ของ วิลเลียม เจมส์ มาก่อน แต่มีแนวคิดท่ีแตกต่างจากเจมส์ในเร่ืองของวิธีการศึกษาพฤติกรรมซึ่งใช้การ ตรวจสอบจติ ตนเอง เนื่องจากมีความโน้มเอียงที่จะแทรกความรู้สึกส่วนตัวและมีอคติเอนเอียงไปทางหนึ่ง ทางใดได้งา่ ยตามความรสู้ กึ ของผู้ถกู ศกึ ษา (Subjective) โดยทงั้ น้ีวัตสนั ไดเ้ สนอใหศ้ กึ ษาเนน้ ไปยงั พฤติกรรมภายนอกท่ีสามารถสงั เกตเห็นได้เท่านั้น เพราะ เขาเชื่อว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้นเกิดมาจากการตอบสนอง (Response) ต่อส่ิงเร้า (Stimulus) โดย ท้ังน้ีเขาได้รับอิทธิพลของแนวคิดมาจากการทดลองการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิคของ อีแวน พี.พาฟลอฟ (Ivan P. Pavlov) ดังน้ัน เขาจึงสนใจที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพราะเช่ือว่าจะ สามารถอธิบายพฤตกิ รรมไดช้ ัดเจนกว่าและมีความเป็นวทิ ยาศาสตร์มากกว่า จนกระทั่งวงการจิตวิทยานั้น ได้ยกยอ่ งใหว้ ตั สันเป็นบิดาแหง่ จติ วทิ ยายุคใหม่ หรือบดิ าแห่งพฤตกิ รรมศาสตรใ์ นเวลาต่อมา
18 วิธีการศึกษาโดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้การทดลอง (Experimentation) ร่วมกับการสังเกตอย่างมี แบบแผน (Formal Observation) แล้วบันทึกผลอย่างละเอียดชัดเจน โดยจะต้องไม่นาความรู้สึกส่วนตัว เขา้ ไปเกีย่ วขอ้ ง โดยการศึกษาของกลุ่มพฤติกรรมนยิ มมีสาระสาคัญ ดงั น้ี 1) การสร้างและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลนั้นทาได้โดยวิธีการวางเง่ือนไข (Conditioning) ดงั เชน่ การทดลองของ พาฟลอฟ 2) พฤติกรรมส่วนใหญ่ของบุคคล ที่แสดงออกมาน้ันเกิดจากการวางเงื่อนไขมากกว่า พฤติกรรมทแี่ สดงออกตามธรรมชาติ 3) การศึกษาพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ของมนุษย์และสัตว์มีความใกล้เคียงกันแต่ การทดลองกบั สตั ว์จะกระทาไดง้ า่ ยกว่า แตท่ ง้ั นี้ก็ยังอนุมานมาอธบิ ายพฤติกรรมการเรียนรู้ของมนษุ ยไ์ ด้ 4. กลมุ่ จติ วิเคราะห์ (Psychoanalysis) เป็นอีกกลุ่มจิตวิทยาที่มีบทบาทและความสาคัญต่อวงการจิตวิทยา ผู้ก่อตั้งกลุ่มน้ี คือ ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) โดยทั้งน้ที ฤษฎีท่ีเกิดข้ึนส่วนใหญ่จะได้มาจากประสบการณ์ในการรักษาคนไข้ โรคจิตในคลีนิกของเขานั่นเองความคิดหลักของฟรอยด์น้ันเชื่อว่า จิตมีลักษณะเป็นพลังงานที่เรียกว่า พลังงานจิต (Psychic Energy) ซ่ึงมีอยู่อย่างจากัดและคงท่ี ไม่มีทางทาลายหรือสร้างข้ึนมาได้ใหม่ แต่มี การพฒั นาและเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ทัง้ น้ฟี รอยดไ์ ดว้ ิเคราะหจ์ ิตของมนษุ ยอ์ อกเป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 1) จิตสานึก (Conscious) เป็นจิตที่มีสติตลอดเวลา แสดงออกไปอย่างรู้ตัวตามเหตุผล และเปน็ ที่ยอมรับในสงั คม 2) จิตใต้สานึก (Sub-conscious) เป็นจิตท่ียังอยู่ในระดับท่ีรู้ตัวเช่นกัน เพียงแต่ถูก ควบคุมไมใ่ ห้แสดงพฤตกิ รรมออกมา แตก่ ส็ ามารถแสดงออกได้ เพียงแต่บางพฤติกรรมสงั คมอาจไม่ยอมรับ 3) จิตใต้สานึก (Unconscious) จิตระดับเป็นท่ีสะสมส่ิงต่าง ๆ ซ่ึงเป็นความต้องการท่ี แท้จริงของมนุษย์ไว้มากมาย แต่ถูกกระบวนการทางจิตเก็บกดไว้ในจิตส่วนลึก ซึ่งถ้ามองเผิน ๆ อาจ เหมอื นกบั สิ่งทีถ่ ูกลมื ไปแล้ว แต่แทจ้ ริงยังคงอยู่ในรูปของตะกอนจิตใจ ซ่ึงสามารถจะฟุูงข้ึนมาเม่ือขาดการ ควบคมุ โดยอาจเผยในรูปของความฝนั การละเมอ หรือเผลอพูดออกมาโดยไม่ตง้ั ใจ ตามทฤษฎีของฟรอยด์ เชื่อว่าพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่แสดงออกมาน้ันสืบเน่ืองมาจากการ ทางานของพลังงานทางจิต 3 ส่วน ท่ีอยู่ภายในจิตทั้ง 3 ระดับ โดยถ้าพลังงานท้ังสามสามารถทางาน ประสานได้อย่างกลมกลืนแล้ว พฤติกรรมท่ีบุคคลผู้น้ันแสดงออกจะเป็นปกติ เป็นผู้มีสุขภาพจิตที่ดี แต่ ในทางตรงกันข้าม หากพลังงานทางจิตท้ัง 3 ไม่ประนีประนอมกัน บุคคลผู้น้ันจะเกิดพฤติกรรมท่ีไม่พึง ประสงค์ ซ่ึงกอ่ ให้เกดิ ปญั หากบั สขุ ภาพจิตของบคุ คลผนู้ ้ันได้ พลงั งานทางจิตทง้ั 3 สว่ น ฟรอยดไ์ ดแ้ บ่งโครงสรา้ งทางจิต ไวด้ งั นี้ 1) อิด (Id) คือ สว่ นของความอยาก ความต้องการ จัดว่าเป็นสัญชาตญาณพ้ืนฐานของมนุษย์ท่ีติด ตัวมาแต่เกิดเป็นพลังงานที่ผลักดันให้เกิดการตอบสนองความต้องการโดยไม่คานึงถึงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้น จัดอย่ใู นสว่ นของจติ ใตส้ านึก 2) อีโก้ (Ego) เป็นพลังงานส่วนประนีประนอมระหว่างอิด (Id) กับ ซูเปอร์อีโก้ (Super Ego) เพอ่ื ใหม้ ีการแสดงพฤติกรรมท่ีต้องการให้ตอบสนองออกมาตามสภาพที่สังคมยอมรับได้ หรือเหมาะสมกับ สภาพสังคมน้ัน ๆ ตามหลักแห่งความเป็นจริง (Reality Principle) เท่ากับว่าอีโก้เป็นตัวบริหารจิตให้เกิด ความสมดุล คล้ายกับกรรมการห้ามทัพระหว่างอิดกับซูเปอร์อีโก้ ซ่ึง อีโก้น้ันจะอยู่ในส่วนของจิตสานึกท่ี รตู้ วั ตลอดเวลา
19 3) ซูเปอร์อีโก้ (Super Ego) เป็นพลังงานทางจิตซ่ึงก่อตัวข้ึนมาจากการเรียนรู้ระเบียบ กติกา กฎเกณฑ์ ศีลธรรมของสังคม เป็นส่วนของคุณธรรมในแต่ละบุคคล ข้ึนอยู่กับการอบรมเล้ียงดูและการขัด เกลาจากสังคมในระดับต่างๆ ท่ีบุคคลน้ันเติบโตมา เปรียบเสมือนเป็นสิ่งที่ทาตามหลักอุดมคติ (Ideal Principle) ทพี่ งึ ปรารถนาของสงั คม 5. กลุม่ จิตวิทยาเกสตลั ต์ (Gestalt Psychology) เป็นกลุ่มจิตวิทยาท่ีได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในเรื่องของวงการจิตวิทยา การศึกษา กล่มุ เกสตลั ต์ได้ก่อต้ังขึ้นที่ประเทศเยอรมนีราวปี ค.ศ.1912 ซ่ึงใกล้เคียงกับการกาเนิดของกลุ่ม พฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยากลุ่มน้ีประกอบไปด้วยคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน โดยการนาของ แมกซ์ เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) เกสตัลต์ (Gestalt) เป็นภาษาเยอรมัน ในระยะแรกๆ แปลว่า รูปร่าง (Form or Pattern) แต่ในปัจจุบันได้เปล่ียนความหมายว่า ส่วนรวมหรือส่วนประกอบทั้งหมด (Wholeness) ด้วยเหตุที่แนวความคิดของกลุ่มนี้เน้นความสาคัญกับการศึกษาพฤติกรรมโดยส่วนรวม ไม่ใช่ส่วนปลีกย่อย เน่ืองจากบุคคลจะแสดงพฤติกรรมน้ันๆ ออกมาย่อมมาจากคุณสมบัติโดยรวมของ บุคคลผ้นู ้ัน ไมไ่ ด้เกิดมาจากคุณสมบตั ดิ ้านใดด้านหน่งึ เพียงด้านเดียว ถึงแม้จะเป็นสิ่งเร้าสิ่งเดียวกันแต่การ ตอบสนองก็จะแตกต่างกัน ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับตัวแปรต่างๆ ท่ีเป็นคุณสมบัติโดยรวมของบุคคลที่มีการ เปลยี่ นแปลงไดต้ ลอดเวลา กลุ่มเกสตัลต์มีความเห็นว่า การเรียนรู้ (Learning) ไม่ใช่ผลลัพธ์ของความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้า (Stimulus) กบั การตอบสนอง (Response) เชน่ กลมุ่ พฤตกิ รรมนิยม แต่ทั้งน้ีการเรียนรู้เป็น การรับรู้และ แปลความหมายของสถานการณ์หรือส่ิงเร้าท่ีเป็นส่วนรวมท้ังหมด โดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็นเครื่อง แปล นอกจากนั้นยังพบว่า การหย่ังเห็น (Insight) เป็นปัจจัยสาคัญอีกประการหนึ่งท่ีเกิดขึ้นจากการรับรู้ และประสบการณ์ท้ังหลายที่สั่งสมกันไว้ ดังน้ันทฤษฎีของกลุ่มเกสตัลต์ จึงให้ความสาคัญกับปัจจัย 2 ประการ ไดแ้ ก่ การรับรู้และการหย่งั เห็น 1) การรับรู้ (Perception) เป็นการแปลผลโดยอาศัยประสบการณ์เดิมท่ีแต่ละบุคคลได้ประสบมา ช่วยในการแปลความหมายที่เกิดจากการรับสมั ผสั น้ัน ๆ เหตุนเี้ อง จึงเป็นผลให้ส่ิงเร้าหน่ึงสิ่งสามารถทาให้ เกิดการรบั รทู้ ่แี ตกต่างกันไป ขึ้นอยกู่ ับวา่ บุคคลผู้นน้ั มีประสบการณ์อย่างไร 2) การหยั่งเห็น (Insight) โดยทว่ั ไปเม่อื บุคคลเกิดปญั หาและสามารถแก้ไขไดโ้ ดยลุล่วงแล้ว ก็จะมี แนวโน้มทบี่ ุคคลนนั้ จะใชว้ ธิ กี ารแกป้ ัญหาเดิมมาใช้แก้ปัญหาทีค่ ลา้ ยคลงึ กนั อีก แต่ในกรณีที่เป็นปัญหาใหม่ แล้วสามารถค้นพบวิธีแก้ไขปัญหาอย่างฉับพลัน ลักษณะเช่นน้ีเราเรียกว่า การหย่ังเห็น ซ่ึงจะต้องใช้ ประสบการณ์ส่ังสมไวม้ ากพอสมควร จนสามารถประยุกตใ์ ช้วธิ ีการแก้ปัญหาทผ่ี ่าน ๆ มาเพ่ือแก้ปัญหาใหม่ ได้
20 จิตวิทยาพัฒนาการ การศึกษาจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์มีความสาคัญท่ีช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจบุคคลใน ลักษณะองค์รวมท้ังที่เป็นส่วนบุคคลและการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มสังคม เพ่ือให้เข้าใจถึงสาเหตุของ พฤติกรรมปัญหา เข้าใจถึงระดับสติปัญญา ลักษณะอารมณ์ ความต้องการของบุคคลแต่ละวัย นอกจากน้ี การเข้าใจธรรมชาติของบุคคลแต่ละวัยช่วยให้เกิดการประสานงานกันอย่างราบร่ืน และช่วยให้บุคคล ปรับตัวเข้ากันไดด้ ีขนึ้ ปจั จัยท่มี อี ิทธพิ ลต่อพัฒนาการ บุคคลแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งด้านการเจริญเติบโตของร่างกาย การมีวุฒิภาวะในแต่ละวัย และการเรียนรู้ ส่งผลให้บุคคลมีพฤติกรรมท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการ ดังนี้ 1.ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological Forces) ปัจจัยทางชีวภาพท่ีมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของ มนุษยต์ งั้ แตใ่ นระยะกอ่ นคลอดคือ พนั ธกุ รรมและปจั จยั ทส่ี มั พนั ธก์ ับสขุ ภาพ 1.1 พันธุกรรม (Genetic) คือการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากคนรุ่นหน่ึงสู่คนอีกรุ่นหน่ึง ในครอบครัวเดียวกัน หรือในเช้ือสายเดียวกัน เช่น สีของนัยน์ตา สีผม ลักษณะรูปร่างหน้าตา รวมถึงความผิดปกติหรือโรคต่าง ๆ ทถ่ี า่ ยทอดทางพันธุกรรม เชน่ ตาบอดสี โรคธาลสั ซเี มยี เป็นตน้ 1.2 ปจั จยั ที่สมั พนั ธก์ บั สุขภาพ (Health - Related factors) โดยเฉพาะสภาวะแวดล้อม ท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพท่ีมีผลต่อพัฒนาการของทารกในครรภ์มารดาเช่นพบความผิดปกติของสมอง ของ ทารกในครรภ์มารดาท่ีเรียกว่าคูรู (Kuru) ในประชากรของหมู่เกาะแห่งหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิคตอนใต้ การใชย้ าของมารดาขณะต้งั ครรภ์ที่มีผลต่อทารก การติดเชื้อโรคของมารดาขณะตั้งครรภ์ เช่น เช้ือไวรัสหัด เยอรมัน เปน็ ต้น ปัจจัยด้านชีวภาพทาให้ทารกในครรภ์มารดาหรือในวัยก่อนคลอดมีความผิดปกติได้ เช่น การมี โรคทางพันธุกรรม หรือมีความผิดปกติของการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ อันเนื่องมาจากการใช้ยา หรือจากการติดเชื้อโรคต่างๆ ของมารดา และสภาวะแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม ส่งผลให้พัฒนาการของ ทารกทางด้านร่างกายผิดปกติ และอาจส่งผลไปสูค่ วามผิดปกติของพฒั นาการดา้ นอ่ืน ๆ ต่อไป 2. ปจั จัยดา้ นจติ ใจ (Psychological Forces) ปจั จัยดา้ นจติ ใจของบคุ คลที่มผี ลต่อกระบวนการ เปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมในช่วงอายนุ ั้นๆ มี 4 ปจั จยั ดังน้ี 2.1 ปัจจัยการรับรู้ภายในตนเอง (Internal perceptual factors) เช่น การรับรู้เร่ืองเพศของ ตนเองในระยะ 5–6 ปี เดก็ ชายหรือเด็กหญงิ เรม่ิ มกี ารรับรูบ้ ทบาทของเพศท่แี ตกต่างกัน 2.2 ปจั จัยด้านความคิด (Cognitive factors) มีผลมาจากการเล้ียงดูต้ังแต่ในวัยทารก และวัยเด็ก การให้ความรักความอบอุน่ การใชเ้ หตุผลในการอบรมเลี้ยงดู การเลน่ ของเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้าน ความคดิ จะสง่ ผลต่อพัฒนาการทางด้านความคดิ และสติปัญญาของเด็กตอ่ ไปในอนาคต 2.3 ปัจจัยด้านอารมณ์ (Emotional factors) การได้รับความม่ันคงทางอารมณ์จากบิดามารดา ตง้ั แต่ในวัยทารกจะมีผลใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทางอารมณเ์ ป็นไปอย่างเหมาะสม 2.4 ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ (Personality factors) การเป็นต้นแบบด้านบุคลิกภาพที่ดีของบิดา มารดาจะทาใหเ้ ดก็ มีพฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม ปัจจัยเหล่านี้มีผลให้บุคคลมีพัฒนาการท่ีแตกต่างกัน ทาให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์หรือ ลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล เช่น การเป็นคนที่มีลักษณะสนุกสนานร่าเริงเนื่องจากมีการพัฒนาความ
21 นกึ คดิ และอารมณท์ เ่ี ป็นไปในดา้ นบวกอยเู่ สมอ การมีความเช่ือมั่นในความสามารถของตัวเอง หรือการมี พฤตกิ รรมเบยี่ งเบนทางเพศซงึ่ มีปัจจัยเนือ่ งมาจากภาวะจิตใจในวัยเดก็ เป็นตน้ 3. ปจั จัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Forces) ปจั จยั ด้านสงั คมและวัฒนธรรม ประกอบด้วย 4 ปัจจยั ดงั นี้ 3.1 ปัจจยั สัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล (Interpersonal factors) เริ่มตั้งแต่ภายในครอบครัว มีสัมพนั ธภาพทด่ี ตี อ่ กัน ปฏบิ ัตติ อ่ กนั ด้วยความรัก ความเอือ้ อาทร ความห่วงใย เด็กจะรู้สึกม่ันใจในการ ปรับตวั กบั สงั คมภายนอกและมีทัศนคตทิ ่ีดีตอ่ บุคคลทัว่ ๆ ไป 3.2 ปัจจัยด้านสังคม (Societal factors) ต้ังแต่ในวัยเด็กการอบรมเลี้ยงดูส่งเสริมให้เด็กมี การปรบั ตวั กบั ส่งิ แวดลอ้ มในสงั คม โดยเปดิ โอกาสและกระตุ้นให้เด็กได้ซักถามเร่ืองราวของสังคมภายนอก บ้านและอธิบายให้เข้าใจความแตกต่างของสังคมภายนอกบ้านของเด็กตามความสามารถการรับรู้ในแต่ละ วยั ปลกู ฝังค่านิยมทดี่ งี ามให้กับเดก็ เดก็ จะเร่มิ มกี ารพัฒนาความสามารถในการปรบั ตัวได้ดีขึ้น 3.3 ปัจจัยด้านวัฒนธรรม (Cultural factors) ผลทาให้พัฒนาการของแต่ละบุคคลแตกต่าง กันไป เช่นเด็กไทยส่วนใหญ่มีลักษณะไม่กล้าแสดงความคิดเห็นขัดแย้งกับผู้ใหญ่เน่ืองจากถูก อบรมให้เช่ือ ฟังและปฏิบัติตามที่ผู้ใหญ่ได้แนะนาส่ังสอนแตกต่างจากวัฒนธรรมตะวันตกซ่ึงส่งเสริมให้เด็ กกล้าแสดง ความคดิ เห็น มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ และสามารถแสดงความคดิ เหน็ ขัดแย้งกับผู้ใหญ่ได้อยา่ งมเี หตผุ ล 3.4 ปจั จยั ดา้ นมนุษย์วิทยา (Ethnic factors) ลักษณะที่แตกต่างกันของกลุ่มชนท่ีอยู่ร่วมกัน มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของมนุษย์ เช่น ความแตกต่างด้านลักษณะรูปร่าง การดารงชีวิตของคนผิวดาใน ประเทศอเมริกา ทาให้มีคนอเมริกันบางกลุ่มรังเกียจคนผิวดา ความแตกต่างในการนับถือศาสนาของ ประชาชนชาวอินเดียทาให้มีการแบ่งชนชั้นในสังคม หรือความแตกต่างในการดารงชีวิตของบุคคลใน ครอบครัว เช่น ครอบครัวท่ีมีมารดาเป็นคนไทยแต่มีบิดาเคร่งครัดในขนบธรรมเนียมประเพณีจีน ย่อม สง่ ผลใหบ้ ุตรหลานตอ้ งยดึ ถอื และปฏิบตั ิตามประเพณีของจีนด้วยเชน่ กัน 4. ปัจจัยท่ีเกี่ยวขอ้ งกับวงจรชีวิต (Life-cycle forces) ความหมายของวงจรชีวิต (Life-cycle forces) หมายถึงการท่ีบุคคลจะแปลความหมายของ เหตุการณ์ใดๆ ว่ามีผลอย่างไรต่อตนเองน้ัน ข้ึนอยู่กับความคิดและประสบการณ์เดิมของบุคคล ประกอบ กับเวลาท่ีเกิดข้ึนของเหตุการณ์นั้น ๆ คือในสถานการณ์เดียวกันบุคคลแต่ละคนอาจจะแปลความหมาย ของสถานการณน์ ั้น ๆ ไม่เหมอื นกนั เนือ่ งจากความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น การต้ังครรภ์ของผู้หญิงที่ มอี ายุเหมาะสม มวี ฒุ ิภาวะและมีความพร้อมดา้ นสภาพครอบครวั โดยทีส่ ามีและตนเองวางแผนที่จะมีบุตร ภายหลงั การแต่งงาน กับการต้ังครรภข์ องหญงิ วัยรุ่นที่อยู่ในวัยเรียนและมีความสัมพันธ์ไม่ย่ังยืนกับคู่นอน จากสถานการณ์ข้างต้นมีการแปลความหมายของการต้ังครรภ์แตกต่างกันระหว่างผู้หญิงท้ังสองคน หญิง วัยรุ่นอาจแปลความหมายของการตั้งครรภ์ว่าเป็นสถานการณ์ที่ไม่อยากจะให้เกิดข้ึนอาจมีความต้องการ ทาลายทารกในครรภ์ในขณะท่ีผู้หญิงที่มีความต้องการบุตรก็จะแปลสถานการณ์ดังกล่าวว่าเป็นสิ่งที่ น่าชื่นชมยินดีทาให้ครอบครวั มคี วามสขุ เป็นต้น สรปุ ไดว้ า่ ปัจจยั วงจรชีวติ นีไ้ ดร้ บั อิทธิพลมาจากปจั จัยทางด้านชีวภาพ ปัจจัยทางด้านจิตใจ และ ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรมนั่นคือความแตกต่างระหว่างบุคคลมีพื้นฐานมาต้ังแต่ระดับของ พันธุกรรมส่ิงแวดล้อมและการอบรมเล้ียงดูจากครอบครัว เม่ือมีสถานการณ์ใด ๆ เกิดขึ้นบุคคลจึงให้ ความหมายของสถานการณน์ ัน้ ๆ แตกต่างกนั ไปตามความคิดและประสบการณข์ องแต่ละบคุ คล
22 ทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ้ งกับพฒั นาการของมนุษย์ 1. ทฤษฎี Psychosexual developmental stage ซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นนักจิตวิทยาชาวยิว เป็นผู้ที่สร้างทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ซ่ึงเป็นทฤษฎีทางด้านการพัฒนา Psychosexual โดยเช่ือว่าเพศหรือกาม อารมณ์ (sex) เป็นส่ิงที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของมนุษย์ แนวคิดดังกล่าวเกิดจากการสนใจศึกษาและ สังเกตผู้ปุวยโรคประสาทด้วยการให้ผู้ปุวยนอนบนเก้าอ้ีนอนในอิริยาบทท่ีสบายที่สุด จากนั้นให้ผู้ปุวยเล่า เร่ืองราวของตนเองไปเรื่อย ๆ ผู้รักษาจะน่ังอยู่ด้านศีรษะของผู้ปุวย คอยกระตุ้นให้ผู้ปุวยได้พูดเล่าต่อไป เรอ่ื ย ๆ เท่าท่ีจาได้ และคอยบันทึกส่ิงท่ีผู้ปุวยเล่าอย่างละเอียด โดยไม่มีการขัดจังหวะ แสดงความคิดเห็น หรือตาหนิผู้ปุวย ซึ่งพบว่าการกระทาดังกล่าวเป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้รักษาได้ข้อมูลท่ีอยู่ในจิตใต้สานึกของ ผปู้ ุวย และจากการรกั ษาดว้ ยวิธีนีเ้ องจงึ ทาใหฟ้ รอยดเ์ ปน็ คนแรกท่ีสรา้ งทฤษฎจี ติ วิเคราะห์ ฟรอยด์เช่ือว่ามนุษย์มีสัญชาตญาณติดตัวมาแต่กาเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็นผลมาจาก แรงจูงใจหรือแรงขับพื้นฐานที่กระตุ้นให้บุคคลมีพฤติกรรม คือ สัญชาตญาณทางเพศ (sexual instinct) 2. ลกั ษณะคือ 1. สญั ชาตญาณเพอ่ื การดารงชวี ติ (eros = life instinct) 2. สัญชาตญาณเพ่ือความตาย (thanatos = death instinct) ฟรอยด์อธิบายว่าสัญชาตญาณทั้ง 2 ลักษณะมีความต้องการทางเพศเป็นแรงผลักดัน ซึ่งบุคคลไม่ กลา้ แสดงออกมาโดยตรง จึงเก็บกดไว้ในระดับจิตไร้สานึก (unconscious mind) และได้ต้ังสมมติฐานว่า มนุษย์มีพลังงานอยู่ในตัวต้ังแต่เกิดเรียกว่า “Libido” ซึ่งทาให้บุคคลอยากมีชีวิต อยากสร้างสรรค์และ อยากมีความรัก มีแรงขับทางด้านเพศหรือกามารมณ์ (sex) เป็นเปูาหมายคือความสุขและความพอใจ โดยมอี วัยวะส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายที่ไวต่อความรู้สึก เช่น บรเิ วณปาก ทวารหนัก อวัยวะสืบพันธ์ุ เรียกว่า อีโรจีเนียส โซน (erogenous zone) ซึ่งความพึงพอใจในส่วนต่างๆ ของร่างกายจะเป็นไปตามวัย เร่ิม ตั้งแตแ่ รกเกดิ จนถึงวัยผใู้ หญ่ ฟรอยด์จงึ แบ่งข้ันตอนพัฒนาการบุคลกิ ภาพของมนุษยอ์ อกเปน็ 5 ขัน้ ดงั น้ี 1. ขั้นปาก (oral stage) มีอายุอยู่ในช่วงแรกเกิดถึง 18 เดือนหรือวัยทารก ความพึง พอใจของวัยน้ีจะอยู่ท่ีบริเวณช่องปาก ทารกพึงพอใจกับการใช้ปากทากิจกรรมต่างๆ เพ่ือให้เกิดความสุข เช่น การดดู กลนื กัด เค้ียว แทะ กิน เปน็ ต้น ส่วนใหญ่ทารกจะใช้ปากในการดูดนมแม่ นมขวด ดูดนิ้วมือ หรอื สิ่งของ ทารกจะพึงพอใจเม่ือความต้องการดังกล่าวได้รับการตอบสนองที่เหมาะสม ซ่ึงจะทาให้เขาโต ขึ้นอย่างยอมรับตนเอง สามารถรักตนเองและผู้อื่นได้ ในทางตรงข้าม หากความต้องการของทารกไม่ได้ รับการตอบสนองที่เหมาะสม เช่น เม่ือหิวร้องไห้จนเหนื่อยแต่ไม่ได้นมเลย ได้รับนมไม่เพียงพอ ไม่มีคน สนใจ หรือถูกบังคับให้หย่านมเร็วเกินไป ก็จะส่งผลให้เกิดความคับข้องใจ (frustration) เกิดภาวะ “การ ตดิ ตรงึ อยู่กับท่ี” (fixation) ได้ และก่อให้เกิดปัญหาทางด้านบุคลิกภาพเรียกว่า “Oral Personality” คือ จะเป็นผู้ท่ีมีความต้องการท่ีจะหาความพึงพอใจทางปากอย่างไม่จากัด มีลักษณะพูดมาก ชอบดูดนิ้ว ดินสอ หรือปากกาเสมอโดยเฉพาะเวลาท่ีมีความเครียด นอกจากน้ียังชอบนินทาว่าร้าย ถากถาง เหน็บ แนม เสียดสีผู้อื่น ก้าวร้าว พูดมาก กินจุบกินจิบ ติดเหล้า บุหร่ี เคี้ยวหมากฝรั่งเป็นประจา อย่างไรก็ตาม คนที่มี Oral Personality อาจเป็นผู้ท่ีมองโลกในแง่ดีมากเกินไปจนไม่สามารถยอมรับความจริงของชีวิต หรืออาจแสดงตนวา่ เป็นคนเก่ง ไม่กลัวใคร และใชป้ ากเป็นเครือ่ งมือ 2. ขั้นทวารหนัก (anal stage) มีอายุอยู่ในช่วง 18 เดือน ถึง 3 ปี วัยนี้จะได้รับความพึง พอใจจากการขับถ่าย การที่พ่อแม่เข้มงวดในการฝึกหัดให้เด็กใช้กระโถนและการควบคุมให้ขับถ่ายเป็น
23 เวลาตามความต้องการของพ่อแม่ซึ่งไม่ตรงกับความต้องการของเด็ก จะทาให้เกิดความขัดแย้ง จนเป็น fixation ทาให้เกิดบุคลิกภาพที่เรียกว่า “Anal Personality” คือเป็นคนเจ้าระเบียบ เข้มงวด ไม่ยืดหยุ่น ตระหน่ี หึงหวงคู่สมรสมากเกินไป และมีอารมณ์เครียดตลอดเวลาเม่ือโตข้ึนเป็นผู้ใหญ่ หรืออาจมี บคุ ลกิ ภาพตรงขา้ ม คือ อาจเปน็ คนใจกว้าง สุรุ่ยสุรา่ ย ไม่เป็นระเบียบ รกรุงรัง 3. ข้ันอวัยวะเพศ (phallic or oedipal stage) อายุอยู่ระหว่าง 3 ถึง 5 ปี ความพึง พอใจของเด็กวัยนี้อยู่ที่อวัยวะสืบพันธุ์ เด็กจะสนใจอวัยวะเพศของตน และแสดงออกด้วยการจับต้องลูบ คลาอวัยวะเพศ สนใจความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย เด็กผู้ชายจะมีปมเอ็ดดิปุส (oedipus complex) ซึ่งเกิดจากการท่ีเด็กผู้ชายวัยนี้จะติดแม่ ต้องการเป็นเจ้าของแม่เพียงผู้เดียว ขณะเดียวกันก็ ทราบว่าแมแ่ ละพอ่ รกั กนั จงึ พยายามเก็บกดความรู้สึกท่ีอยากเป็นเจ้าของแม่แต่เพียงผู้เดียว และพยายาม ทาตวั เลยี นแบบพอ่ ซง่ึ เปน็ กระบวนการท่ีเรียกว่า “Resolusion of Oedipal Complex” ส่วนเด็กผู้หญิง จะมีปมอเี ลค็ ตรา (electra complex) ซง่ึ เกิดจากเดก็ ผู้หญิงมคี วามรักพ่อแต่รู้ว่าไม่สามารถแย่งพ่อจากแม่ ไดจ้ ึงเลียนแบบแม่ คือ ถือแม่เปน็ แบบฉบับพฤติกรรมของผู้หญิง ในข้ันน้ีการยอมรับปรากฏการณ์ทางเพศ ของพ่อแม่ต่อเด็กวัยน้ีเป็นเร่ืองสาคัญ หากพ่อแม่ไม่เข้าใจ เข้มงวดเกินไปจะทาให้เด็กรู้สึกผิด โตข้ึนจะมี ปัญหาในเรือ่ งการรกั เพศตรงขา้ ม ไมย่ ืดหยนุ่ ขัดแยง้ ในตนเองอย่างรุนแรง ตาหนิตนเอง ตีค่าตนเองต่า ไม่ กล้าคดิ สง่ิ ใหม่ ๆ และไม่กลา้ ถาม 4. ข้ันแฝงหรือข้ันพัก (latency stage) มีอายุอยู่ในช่วง 6 ถึง 12 ปี ฟรอยด์กล่าวว่า เด็กวัยน้ีจะมุ่งความสนใจไปท่ีพัฒนาการด้านสังคมและด้านสติปัญญา เป็นวัยที่พร้อมจะเรียนรู้การมี เหตุผล รู้ผิดชอบชั่วดี สนใจส่ิงแวดล้อมรอบตัว เรียนรู้ที่จะมีค่านิยม ทัศนคติ ต้องการเตรียมพร้อมท่ีจะ ปรับตวั และเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ต่อไป เด็กจะเก็บกดความต้องการทางเพศ จะเล่นหรือจับกลุ่มกับเพศ เดยี วกัน เริม่ มเี พ่อื นสนิทกับเพศเดียวกนั สนใจบทบาททางเพศของตน 5. ข้ันสนใจเพศตรงข้าม (genital stage) วัยน้ีเป็นวัยรุ่นเริ่มตั้งแต่อายุ 12 ปี ขึ้นไปเด็ก เร่มิ สนใจเพศตรงข้าม มีแรงจูงใจท่ีจะรักผู้อ่ืน มีความต้องการทางเพศ ความเห็นแก่ตัวลดลง ต้องการเป็น อิสระจากพ่อแม่ เป็นระยะเริ่มต้นของวัยผู้ใหญ่ ต้องการความสนใจ การยอมรับจากสังคม และมีการ เตรียมตวั เปน็ ผใู้ หญ่ 2. ทฤษฎี Psychosocial developmental stage ทฤษฎี Psychosocial development ของ Erik H. Erikson อธิบายถงึ ลกั ษณะของการศึกษาไป ข้างหน้า โดยเน้นถึงสังคม วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของคน ซ่ึงในแต่ละ ขัน้ ของพัฒนาการนั้นจะมีวิกฤติการณ์ทางสังคม (social crisis) เกิดขึ้น การที่ไม่สามารถเอาชนะหรือผ่าน วิกฤติการณ์ทางสังคมในขั้นหน่ึงๆ จะเป็นปัญหาในการเอาชนะวิกฤติการณ์ทางสังคมในขั้นต่อมา ทาให้ เกิดความบกพร่องทางสังคม (social inadequacy) และเป็นปัญหาทางจิตใจตามมาภายหลัง ทฤษฎี พฒั นาการทางบุคลิกภาพตามแนวคดิ ของ Erikson แบ่งพฒั นาการด้านจิตสงั คมของบคุ คลเปน็ 8 ขนั้ ดังนี้ ข้ันที่ 1 ระยะทารก (Infancy period) อายุ 0-2 ปี : ขั้นไว้วางใจและไม่ไว้วางใจผู้อื่น (Trust vs Mistrust) ในระยะขวบปแี รกทารกจะต้องพึง่ พาอาศัยผู้อน่ื ในการดแู ลเอาใจใสท่ กุ ด้าน ตลอดจน ความรัก และสอนให้ทารกพบกับส่ิงเร้าใหม่ ๆ กอดรัดสัมผัสพูดคุยเล่นด้วยตลอดเวลา โดยเฉพาะในวัยน้ี ทารกจะมีความรู้สึกไวมากที่บริเวณปาก เม่ือได้ดูดนม ได้อาหาร ได้รับสัมผัสอันอ่อนโยน อบอุ่น ได้รับ ความรักความพอใจท้ังทางร่างกายและอารมณ์แล้ว ทารกก็เรียนรู้ท่ีจะไว้วางใจในสิ่งแวดล้อมอันได้แก่แม่
24 ของตนเองเป็นคนแรก ในทางตรงข้าม ถ้าหากความต้องการไม่ได้รับการตอบสนองแล้ว ทารกจะมีอาการ หวาดกลวั ไมไ่ ว้วางใจผใู้ ดหรอื ส่ิงของใด ๆ ท้ังส้นิ ท้งั น้ีรวมทัง้ ไม่ไว้วางใจตนเองดว้ ย ขั้นท่ี 2 วัยเริ่มต้น (Toddler period) อายุ 2-3 ปี : ขั้นท่ีมีความเป็นอิสระกับความละอาย และสงสัย (Autonomy vs Shame and doubt) ข้ันนี้เด็กเริ่มเรียนรู้ท่ีจะทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วย ตนเอง หากได้รับการสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กได้กระทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองตามสมควร เด็กจะมีการ พัฒนาตัวเองไปในลักษณะที่มีโอกาสเลือกลอง และอยู่ในระเบียบวินัยไปในตัว ในทางตรงข้ามถ้าพ่อแม่ เคร่งครัด เจ้าระเบียบ ให้เด็กอยู่ในระเบียบตลอดเวลาหรือเล้ียงดูแบบปกปูองมากเกินไป (over protective) ไม่ยอมรับส่ิงที่เด็กทาขึ้นมาด้วยตนเอง เด็กจะพัฒนาตัวเองไปในรูปแบบที่ไม่แน่ใจในตนเอง หรอื ไมก่ ล้าทจ่ี ะทาอะไรดว้ ยตนเองอยู่ตลอดเวลา ข้ันที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน (Preschool period) อายุ 3-6 ปี : ขั้นมีความคิดริเร่ิมกับ ความรู้สึกผิด (Initiative vs Guilt) เป็นระยะท่ีเด็กมีการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง มีความสัมพันธ์กับ เพ่ือนท่ีโรงเรียน เพ่ือนบ้าน ญาติพ่ีน้อง มีความอยากรู้อยากเห็น ชอบลองอะไรใหม่ๆ ชอบเล่นก่อสร้าง อะไรข้ึนมาตามความคิดของตน และในขั้นนี้เด็กจะย่างขึ้นสู่ความรู้สึกไวในบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุ ฉะนั้น เด็กจะตดิ อยู่ทปี่ มออดิปุส ถา้ เดก็ ได้รับความรักความเขา้ ใจและไดร้ ับการสนับสนุนในการทากิจกรรมต่าง ๆ จากทั้งพ่อและแม่ เด็กยอ่ มมีความมน่ั ใจในตนเอง กล้าซักถาม มีความคิดริเริ่ม แสดงความแยบคายในการ แก้ปญั หาและพร้อมท่จี ะเผชิญกับสง่ิ ต่าง ๆ ตรงกนั ขา้ ม ถ้าพอ่ แมเ่ ขม้ งวดควบคุมความประพฤติตลอดเวลา เดก็ จะเกดิ ความรสู้ ึกว่าตนเองทาผิดเมือ่ พยายามทาอะไรด้วยตัวของตวั เอง ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน (School period) อายุ 6-12 ปี : ข้ันเอาการเอางานกับความมี ปมด้อย (Industry vs Inferiority) ระยะนี้เด็กเรียนรู้ท่ีจะสร้างสรรค์ มีความคิดและพยายามทา กจิ กรรมด้วยตัวเอง หากได้รับการสนับสนุนก็ย่อมทาให้เด็กมีการพัฒนาบุคลิกภาพและมีความมานะเพียร พยายามทจี่ ะแสวงหาสง่ิ ทีท่ ้าทายความสามารถ สติปัญญา แต่หากเหตุการณ์เป็นไปในทางตรงกันข้าม จะ ทาให้เด็กมีความรู้สึกต่าต้อยด้อยค่า อาจต้องถอยกลับไปสู่วัยทารกอีกเพื่อหลีกเลี่ยงภาระอันต้อง รับผิดชอบ ข้ันท่ี 5 ระยะวัยรุ่น (Adolescent period) อายุ 12-20 ปี : ข้ันการเข้าใจอัตลักษณะของ ตนเองกับไมเ่ ขา้ ใจตนเอง (Identity vs role confusion) เป็นระยะท่ีเริ่มสนใจเร่ืองเพศ เข้าไปผูกพัน กับสงั คมและต้องการตาแหน่งทางสังคม ความรู้สึกเป็นอิสระและเป็นตัวของตัวเอง เข้าใจอัตลักษณะของ ตัวเอง รู้ว่าตัวเองต้องการอะไร มีความเช่ืออย่างไร และตนเองเป็นใคร หากไม่สามารถรวบรวม ประสบการณ์ในอดีตได้ ก็จะไม่สามารถเขา้ ใจตวั เอง เกิดความสับสน และความขดั แยง้ ข้ันที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period) อายุ 20-40 ปี : ขั้นความใกล้ชิดสนิท สนมกบั ความรู้สึกเปล่าเปล่ียว (Intimacy vs Isolation) ระยะนเ้ี ร่มิ มกี ารนดั หมาย การแต่งงาน และ ชีวิตครอบครัว หรือทางานกับผู้อ่ืนได้ หากสามารถบรรลุอัตลักษณ์ของตนเอง ก็จะสามารถสร้างและ แลกเปลี่ยนความสัมพันธ์อย่างสนิทสนมกับบุคคลอ่ืน หากไม่สามารถประสบความสาเร็จในการแสวงหา แนวทางแห่งตนก็จะไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟูนกับบุคคลอ่ืนๆ ได้ มักจะรู้สึกเหงา เปลา่ เปลยี่ ว ไม่รูจ้ ะพง่ึ พาใคร ขน้ั ท่ี 7 ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ 40-60 ปี : ขั้นการอนุเคราะห์เก้ือกูลกับการพะว้า พะวงแต่ตัวเอง (Generativity vs Self-Absorption) เป็นระยะที่บุคคลหันมาสนใจกับโลกภายนอก ริเร่ิมสร้างสรรค์งานต่าง ๆ เพื่อสังคม คิดถึงผู้อื่น ไม่โลภหรือเห็นแก่ได้ฝุายเดียว บุคคลที่ไม่สามารถทา
25 เช่นน้ีได้จะมีความรู้สึกคิดถึง หมกมุ่นอยู่กับตนเอง เป็นคนท่ีเอาตนเองเป็นศูนย์กลาง มีชีวิตอย่างไร้ ความสุข ข้ันที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ (Aging period) อายุประมาณ 60 ปีข้ึนไป : ข้ันความมั่นคงทาง จติ ใจกับความสน้ิ หวงั (Integrity vs Despair) วยั นีเ้ ปน็ วัยสขุ ุม รอบคอบ ฉลาด บุคคลจะยอมรับความ เป็นจริงของชีวิต ระลึกถึงความทรงจาในอดีต หากประสบความสาเร็จในอดีตก็จะรู้สึกไว้วางใจผู้อ่ืนและ ตนเอง มีความมนั่ คงทางจิตใจ ภูมิใจต่อการบอกเล่าเกี่ยวกับประสบการณ์ในชีวิตให้บุตรหลานฟัง ตรงกัน ข้ามหากบุคคลต้องประสบกับความล้มเหลวและความผิดหวังในอดีต จะเกิดความรู้สึกท้อแท้สิ้นหวังใน ชีวิต รู้สึกคับขอ้ งใจ และไม่สามารถดาเนินชีวติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 3. ทฤษฎพี ฒั นาการทางความคิด (Cognitive Theories) จีน เพียเจท์ (Jean Piaget) เป็นนักชีววิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์ แต่มีความสนใจศึกษาทางด้าน จิตวิทยา โดยเฉพาะในด้านกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญาของเด็กต้ังแต่วัยแรกเกิดจนถึงวัยรุ่น เป็น บคุ คลแรกทไ่ี ด้รับการยอมรบั ว่าเป็นผศู้ กึ ษาพัฒนาการดา้ นความคิดมนษุ ยอ์ ยา่ งเป็นระบบระเบยี บ เพยี เจทเ์ ชอ่ื ว่าโดยธรรมชาติแลว้ มนษุ ย์ทุกคนมีความพร้อมท่ีจะมีปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้เข้ากับ สง่ิ แวดลอ้ มตงั้ แตเ่ กดิ เพราะมนุษยท์ กุ คนหลีกเลี่ยงไม่ได้ท่ีจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องมีการ ปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ผลจากกระบวนการดังกล่าวจะทาให้มนุษย์เกิดพัฒนาการของเชาวน์ปัญญา จาก ความเชอื่ ดงั กล่าวเพยี เจทจ์ ึงไดศ้ ึกษาพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญาของเด็กอย่างละเอียดด้วยการสร้างสถานการณ์ เพอื่ สังเกตพฤตกิ รรมของบุตรสาว 3 คนของเขาเป็นระยะเวลานาน และได้ทาบันทึกไว้อย่างต่อเน่ือง ทาให้ได้ ขอ้ สรุปวา่ ธรรมชาติของมนษุ ยม์ ีพื้นฐานติดตวั ตง้ั แต่กาเนดิ 2 ชนดิ คือ 1. การจัดและรวบรวม (organization) เป็นการจัดและรวบรวมกระบวนการต่างๆ ภายใน ให้เป็น ระบบระเบียบอย่างต่อเน่ือง พร้อมกับมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเพื่อให้เกิดภาวะสมดุลจากการมี ปฏิสมั พันธ์กับส่ิงแวดลอ้ ม 2. การปรับตัว (adaptation) เปน็ การปรับตัวเพ่ือให้อยู่ในภาวะสมดลุ กับสงิ่ แวดล้อมซง่ึ ประกอบดว้ ย กระบวนการ 2 อย่างคือ 2.1 การซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ (assimilation) หมายถึง การที่มนุษย์มีการซึม ซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่เข้าสู่โครงสร้างของสติปัญญา (cognitive structure) หลังจากมีปฏิสัมพันธ์ กบั ส่งิ แวดล้อม 2.2 การปรับโครงสร้างทางเชาวน์ปัญญา (accomodation) หมายถึง การปรับเปล่ียน โครงสร้างของเชาวน์ปญั ญาที่มอี ยแู่ ลว้ ให้เข้ากับส่งิ แวดล้อมใหม่ท่ไี ดเ้ รยี นรู้เพ่ิมขน้ึ เพียเจทก์ ลา่ วว่าการพัฒนาสติปัญญาและความคดิ ของมนุษย์จะต้องอาศัยทั้งการจัดรวบรวมและการ ปรับตัวดังกล่าว ซึ่งลักษณะพัฒนาการท่ีเกิดข้ึนจะดาเนินอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซ่ึงจะแตกต่างกันในแต่ละ บคุ คล โดยมอี งค์ประกอบสาคัญทีเ่ สริมพัฒนาการทางสตปิ ญั ญา 4 องค์ประกอบคือ 1. วฒุ ภิ าวะ (maturation) คอื การเจริญเติบโตทางด้านสรีรวิทยามีส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนา สติปญั ญาและความคิด โดยเฉพาะเส้นประสาทและตอ่ มไรท้ อ่ 2. ประสบการณ์ (experience) ประสบการณเ์ ป็นปัจจัยท่ีสาคัญต่อการพัฒนาด้านสติปัญญา เพราะ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทุกครั้งท่ีบุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม ทั้งประสบการณ์ที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและประสบการณ์เก่ียวกับการคิดหาเหตุผลและทางคณิตศาสตร์ ซ่ึงสามารถ นามาใช้แก้ปัญหาในชวี ิตประจาวนั
26 3. การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม (social transmission) คือการท่ีบุคคลได้รับการถ่ายทอด ความรู้ ดา้ นต่าง ๆ จากบคุ คลรอบขา้ ง เช่น พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู เป็นต้น 4. กระบวนการพัฒนาสมดุล (equilibration) คือการควบคุมพฤติกรรมของตนเองซ่ึงอยู่ในตัวของ แตล่ ะบุคคลเพื่อปรับสมดุลของพัฒนาการทางสติปญั ญาและความคดิ ไปสู่ขนั้ ที่สูงกวา่ ขั้นพฒั นาการเชาว์ปญั ญา เพยี เจทไ์ ดแ้ บง่ ขัน้ พัฒนาการของเชาวน์ปญั ญาออกเป็น 4 ขนั้ คือ 1. ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเน้ือ (sensorimotor period) อายุ 0 - 2 ปี เป็นขั้น พัฒนาการทางความคิดและสติปัญญาก่อนระยะเวลาที่เด็กจะพูดเป็นภาษาได้ การแสดงถึงความคิดและ สติปัญญาของเด็กวัยน้ีจะเป็นในลักษณะของการกระทาหรือการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ซ่ึงส่วนใหญ่จะ ข้ึนอยู่กับการเคลื่อนไหว เป็นลักษณะของปฏิกิริยาสะท้อน เช่น การดูด การมอง การไขว่คว้า มีพฤติกรรม น้อยมากที่แสดงออกถึงความเข้าใจ เพราะเด็กยังไม่สามารถแยกตนเองออกจากสิ่งแวดล้อมได้ ตัวตนของเด็ก ยังไม่ได้พัฒนาจนกว่าเด็กจะได้รับประสบการณ์ ทาให้ได้พัฒนาตัวตนข้ึนมาแล้ว เด็กจึงสามารถแยกแยะส่ิง ต่าง ๆ ได้จนกระท่ังเด็กอายุประมาณ 18 เดือน จึงจะเร่ิมแก้ปัญหาด้วยตนเองได้บ้าง และรับรู้เท่าท่ี สายตามองเหน็ 2. ขั้นเร่ิมมีความคิดความเข้าใจ (pre-operational period) อายุ 2 - 7 ปี เด็กวัยนี้เป็นวัย ก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล ยังไม่สามารถใช้สติปัญญากระทาสิ่งต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ ความคิดของ เด็กวัยนี้ขึ้นอยู่กับการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ ไม่สามารถใช้เหตุผล อย่างลึกซึ้งได้ วัยนี้เริ่มเรียนรู้การใช้ภาษา และสามารถใชส้ ัญลักษณ์ต่างๆ ได้ พัฒนาการวยั นแ้ี บ่งได้เป็น 2 ขัน้ คือ 2.1 ขั้นกาหนดความคิดไว้ล่วงหน้า (preconceptual thought) อายุ 2 - 4 ปี ระยะน้ีเด็กจะมีพัฒนาดา้ นการใชภ้ าษา รูจ้ ักใชค้ าสัมพนั ธ์กบั ส่ิงของ มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงต่าง ๆ ได้แต่ยังไม่สมบูรณ์ ไม่มีเหตุผล คิดเอาแต่ใจตัวเอง อยู่ในโลกแห่งจินตนาการ ชอบเล่นบทบาทสมมติตาม จนิ ตนาการของตนเอง 2.2 ขั้นคิดเอาเอง (intuitive thought) อายุ 4 - 7 ปี ระยะนี้เด็กสามารถคิดอย่างมี เหตผุ ลขน้ึ แตก่ ารคดิ ยงั เป็นลกั ษณะการรับรมู้ ากกว่าความเขา้ ใจ จะมีพัฒนาการรับรู้อย่างรวดเร็ว สามารถ เข้าใจส่ิงต่าง ๆ ได้เป็นหมวดหมู่ ท้ังที่มีลักษณะคล้ายคลึงและแตกต่างกัน ลักษณะพิเศษของวัยนี้คือ เชื่อ ตัวเองโดยไม่ยอมเปล่ียนความคิด หรือเช่ือในเรื่องการทรงภาวะเดิมของวัตถุ (conservation) ซึ่งเพียเจท์ เรยี กวา่ principle of invaiance 3. ข้ันใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operational period ) อายุ 7 - 11 ปี ระยะนีเ้ ด็กจะมพี ัฒนาการทางความคิดและสติปัญญาอย่างรวดเร็วสามารถคิดอย่างมีเหตุผล แบ่งแยก ส่ิงแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ ลาดับขั้น จัดเรียงขนาดสิ่งของ และเร่ิมเข้าใจเรื่องการคงสภาพเดิม สามารถนาความรู้หรือประสบการณ์ในอดีตมาแก้ปัญหาเหตุการณ์ใหม่ ๆ ได้ มีการถ่ายโยงการเรียนรู้ (transfer of learning) แต่ปัญหาหรือเหตุการณ์นั้นจะต้องเกี่ยวข้องกับวัตถุหรือส่ิงท่ีเป็นรูปธรรม ส่วน ปัญหาทเ่ี ปน็ นามธรรมนัน้ เด็กยงั ไม่สามารถแก้ได้ 4. ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม (formal operational period) อายุ 11 - 15 ปี ข้ันนี้เป็นข้ันสูงสุดของพัฒนาการทางสติปัญญาและความคิด ความคิดแบบเด็กๆ จะส้ินสุดลง จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ สามารถคิดแก้ปัญหาท่ีเป็นนามธรรมด้วยวิธีการหลากหลาย รู้จักคิดอย่างเป็น วทิ ยาศาสตร์ สามารถต้ังสมมติฐาน ทดลอง ใช้เหตุผล และทางานท่ีต้องใช้สติปัญญาอย่างสลับซับซ้อนได้
27 เพียเจท์กล่าวว่าเด็กวัยนี้เป็นวัยที่คิดเหนือไปกว่าส่ิงปัจจุบัน สนใจท่ีจะสร้างทฤษฎีเก่ียวกับทุกสิ่งทุกอย่าง และมีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเก่ียวกับสิ่งท่ีไม่มีตัวตนหรือส่ิงท่ีเป็นนามธรรม นักจิตวิทยาเช่ือว่า การ พัฒนาความเข้าใจจะพัฒนาไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเข้าสู่วัยชรา เพียเจท์เช่ือว่าพัฒนาการของเชาวน์ปัญญา มนษุ ยจ์ ะดาเนินไปเป็นลาดบั ขั้น เปลยี่ นแปลงหรือขา้ มขน้ั ไมไ่ ด้ 4. ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอรก์ โคลเบอร์ก ได้ศกึ ษาจริยธรรมตามแนวทฤษฎีของเพียเจท์ และพบความจรงิ วา่ มนุษย์มีพัฒนาการ ทางจริยธรรมหลายข้ันตอน ทฤษฎีของโคลเบอร์กเป็นทฤษฎีที่มีประโยชน์ในการเข้าใจพัฒนาการทาง จรยิ ธรรมได้ลึกซ้งึ ทสี่ ุดในปจั จบุ นั โคลเบอร์กไดแ้ บ่งจริยธรรมของบุคคลออกเป็น 3 ระดับ แต่ละระดับแบ่ง ออกเป็น 2 ข้ันตอนดังน้ี คือ 1. ระดับก่อนกฎเกณฑ์ (Preconventional Level) ระดับน้ี เด็กจะสนองตอบตามเกณฑ์ ภายนอก ซึ่งมักเก่ียวข้องกับร่างกาย เช่น การลงโทษ การให้รางวัล หรือเปลี่ยนแปลงความพึงพอใจ เด็ก จะดูผลทไ่ี ด้รบั เป็นเกณฑ์ในการประเมินจรยิ ธรรม ซ่ึงอาจสรุปได้ว่าถ้าตนเองถูกลงโทษแสดงว่าการกระทา ของตนเองไม่ดี และตนเองไดร้ บั รางวัลแสดงว่าตนเองทาดี ซง่ึ ผูม้ อี านาจเหนือกว่าเป็นผู้กาหนดว่าส่ิงใดเลว สง่ิ ใดดี ส่วนมากเดก็ มีอายุ 4-10 ปี แบ่งออกเปน็ 2 ขั้นดงั น้ี ข้ันที่ 1 มุ่งไม่ให้ตนเองถูกลงโทษทางกาย เพราะกลัวความเจ็บปวดที่จะได้รับและยอมทาตาม คาสง่ั ของผใู้ หญ่ท่มี อี านาจเหนอื ตน โดยไมเ่ อาใจใส่ความหมายหรือคุณค่าใด ๆ ข้ันที่ 2 ยินยอมทาเพ่ือให้ได้รางวัล หรือให้ได้รับส่ิงท่ีพอใจ ตลอดจนแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ กัน แตเ่ ดก็ ระดบั น้จี ะตคี วามเกย่ี วข้องทางร่างกายเทา่ นน้ั มิใชค่ ่านิยม ความกตัญญูหรอื ความยตุ ธิ รรม 2. ระดับตามกฎเกณฑ์ (Conventional Level) ระดับน้ี คนเราจะยอมรับความมุ่งหวัง กฎเกณฑ์ทางครอบครัว กลุ่ม และประเทศชาติว่าเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่า มีความถูกต้องและจะพยายามปฏิบัติ ให้เหมาะสมกับบทบาทของตนเองในกลุ่ม ในการกระทาความดีละเว้นความชั่ว บุคคลจะถูกควบคุมโดย กลุ่มสังคมจริยธรรมระดับน้ี จะเกิดกับบุคคลอายุ 11-16 ปี แบ่งเป็นข้ันต่อเน่ือง 2 ข้ัน กับระดับก่อนดังนี้ คอื ขั้นที่ 3 เกณฑเ์ ดก็ ดี บุคคลยงั ไม่เปน็ ตวั ของตัวเอง คล้อยตามการชักจูงของผู้อ่ืน เช่น การทาให้ ผู้อ่ืนพอใจ การช่วยเหลือผู้อ่ืน และทาให้ผู้อ่ืนพอใจ ซ่ึงก็จะตรงกับความคิดเห็นส่วนใหญ่ หรือยินยอมทา ตามเพ่ือหลีกเลี่ยงการไมเ่ ห็นดว้ ยหรอื ความไม่เห็นชอบจากบคุ คลอ่นื ขั้นท่ี 4 บุคคลรู้ถึงหน้าที่การใช้ระเบียบ การกระทาตามระเบียบของสังคมพฤติกรรมท่ีถูกต้อง จะประกอบด้วยการปฏิบัติตามหน้าที่ การแสดงความเคารพต่ออานาจหน้าที่ทาตามกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางสังคมกาหนด คล้อยตามเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกประณามจากสังคม ยินยอมทาตามเพื่อหลีกเล่ียงการ ตาหนิจากผทู้ ่ีมีอานาจตามกฎหมาย 3. ระดับเหนือกฎเกณฑ์ (Postconventional Level) เป็นระดับท่ีการตัดสินขัดแย้งด้าน จริยธรรม ขึ้นอยู่กับตนเองมากที่สุด การตัดสินจริยธรรมจะใช้หลักแห่งเหตุผลกระทาตนให้สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล ไม่ขัดกับสิทธิอันพึงได้ของผู้อื่น มีความเช่ือม่ันในตนเองแยกตัวออกจากอิทธิพลของกลุ่ม เม่ือมีเหตุผล โดยไมค่ ลอ้ ยตามถ้าผูอ้ ื่นไม่มเี หตผุ ลพอระดับนี้เป็นจริยธรรมขั้นสูงสุดจะปรากฏในบุคคลท่ีเป็น ผ้ใู หญ่ อายปุ ระมาณ 16 ปีข้นึ ไป แบง่ ระดับนี้ไดเ้ ป็น 2 ขั้น ตอ่ เนือ่ งกบั ขั้นก่อนๆ เช่นกนั คอื ขั้นที่ 5 บุคคลจะทาตามคามั่นสัญญาและการกระทาท่ีถูกต้องโดยทั่วไปท่ีเห็นกับคนหมู่มาก ควบคุมตนเองได้ คานึงถึงคุณค่าทางความคิดเห็นที่สัมพันธ์กับส่วนบุคคลและส่วนรวม เช่น เก่ียวกับ
28 รัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย จะหาข้อยุติธรรมโดยคานึงถึงผลทางคุณค่าและความคิดเห็นทางสติปัญญา ทจ่ี ะออกมาเปน็ กฎหมายท่เี ป็นประโยชน์ของสังคม ข้ันที่ 6 ยินยอมทาตามเพื่อหลีกเลี่ยงการติเตียนตนเอง เป็นข้ันการตัดสินตามเหตุผลของการ รับผิดชอบ สร้างคุณธรรมประจาท่ีนอกเหนือกฎเกณฑ์ทางสังคม จริยธรรมเป็นนามธรรม ไม่ใช่กฎเกณฑ์ ทางศาสนา แต่เป็นอุดมคติสากลของสังคมส่วนรวม ยอมรับสิทธิเท่าเทียมกันของมนุษย์ที่มีศักด์ิและสิทธิ เท่าเทยี มกนั ทกุ คน ควรนบั ถอื ซงึ่ กนั และกัน
หนว่ ยท่ี 4 กระบวนการวดั และประเมินผลสาหรับผู้เรียน การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือการ ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบ ผลสาเร็จน้ัน ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามพัฒนาการท่ีคาดหวังให้สอดคล้องกับ หลักสูตรเพื่อสะท้อนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซ่ึงเป็นเปูาหมายหลักในการวัดและประเมินผล การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมิน เป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ซ่ึง สามารถปรับใหเ้ หมาะสมตามประเภทของผ้เู รียนโดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 1. การประเมนิ กอ่ นการให้บริการ 1.1 การประเมนิ อายพุ ฒั นาการเด็ก 1.2 การประเมินความสามารถพ้ืนฐาน เป็นการประเมินพัฒนาการที่คาดหวังในแต่ละ ทักษะ กอ่ นทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล 2. การประเมินระหวา่ งการใหบ้ ริการเปน็ การประเมินผลจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หรือเปูาหมาย ระยะสนั้ ในแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล ระหว่างการใชแ้ ผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลอย่างน้อย ภาคเรียนละ 1 คร้งั 3. การประเมนิ หลงั การใหบ้ รกิ าร 3.1 การประเมินจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หรือเปูาหมายระยะสั้นท้ังหมดตามแผนการ จัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล เพ่ือตัดสินผลสมั ฤทธิข์ องพัฒนาการและเตรียมวางแผนการพัฒนาให้มีศักยภาพ ท่ีสงู ขน้ึ หรอื การส่งตอ่ 3.2 การประเมินความกา้ วหนา้ ของอายพุ ัฒนาการเดก็ 3.3 การประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐานหลงั การให้บรกิ ารเพ่ือเปรียบเทียบความกา้ วหนา้ การประเมินผลตามแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล คณะกรรมการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลประชุมเพื่อประเมิน ทบทวน และปรับ แผนพรอ้ มจัดทารายงานผลการเรยี นรูอ้ ย่างนอ้ ยปกี ารศกึ ษาละ 2 ครง้ั โดยประเมินตามขนั้ ตอนดงั น้ี 1. การประเมินผลตามแผนการสอนเฉพาะบคุ คล การประเมินตามแผนการสอนเฉพาะบุคคล (Individual Implementation Plan : IIP) คือ การ ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าผู้เรียนมีพัฒนาการตามท่ี ระบุไว้ในแผนการสอนเฉพาะบุคคลฉบับน้ันหรือไม่ โดยประเมินตามวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์การ ประเมินทรี่ ะบุไวใ้ นแผนการสอนเฉพาะบคุ คล แต่เน่ืองจากแผนการสอนเฉพาะบุคคลหนึ่งฉบับอาจจะต้อง นามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลายคร้ัง จึงต้องมีการประเมินผลการเรียนรู้แต่ละคร้ัง เพ่ือ ตัดสินสรุปผลการประเมิน ว่าผู้เรียนผ่านหรือไม่ผ่านแผนการสอนเฉพาะบุคคลฉบับน้ัน ตามแบบบันทึก หลังการสอนของแผนการสอนเฉพาะบคุ คล
30 2. การประเมินจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (เปาู หมายระยะสนั้ ) การประเมินจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ทาได้โดยประมวลผลการผ่านแผนการสอนเฉพาะบุคคล และนามาเทียบกับเกณฑ์การผ่านจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีกาหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บุคคล 3. การประเมินเปูาหมายระยะยาว 1 ปี การประเมนิ เปูาหมายระยะยาว 1 ปี ทาไดโ้ ดยประมวลผลการผา่ นจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม และ นามาเทียบเกณฑ์การผา่ นเปาู หมายระยะยาว 1 ปีทกี่ าหนดไวใ้ นแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล 4. การประเมินแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล การประเมนิ แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล ทาได้โดยประมวลผลการผ่านเปูาหมายระยะยาว 1 ปี และนามาเทียบเกณฑก์ ารผา่ นตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด 5. การตัดสนิ ระดบั ผลการเรียนรู้ การตัดสนิ ระดบั ผลการเรียนรู้ ทาได้โดย นาผลการประเมินแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/ทักษะการ เรียนรู้ ที่กาหนดในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลมาเทียบเคียงกับระดับผลการเรียน ตามที่ สถานศึกษากาหนด ในกรณที ีผ่ เู้ รียนมีพัฒนาการ หรอื การเรียนรู้ต่ากว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ สามารถทบทวน และปรับ แผนการสอนเฉพาะบุคคล จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เปูาหมายระยะยาว 1 ปีให้เหมาะสม เพื่อให้บรรลุ ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หากผู้เรียนมีพัฒนาการ หรือการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ สามารถทบทวน และปรับแผนการสอนเฉพาะบุคคล จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เปูาหมายระยะยาว 1 ปี ให้เหมาะสม เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การพฒั นาเตม็ ศกั ยภาพ (สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ. 2555) แนวทางการวัดประเมนิ ผลผ้เู รียนเรยี นรวม การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาและกากับติดตามการจัด การศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งได้กาหนดคุณภาพที่ต้องการ ใหเ้ กิดขึน้ แกผ่ เู้ รยี นในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครอบคลุมมาตรฐานและตัวช้ีวัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่านคิด วิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กับผู้เรียนในระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐานทุกคน รวมท้ังกลุ่มผู้เรียนที่เป็นกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ แต่การวัดและประเมินผล จะต้องคานึงถึงปจั จัยความแตกตา่ งของผูเ้ รยี น อาทิ ผู้เรยี นทีพ่ ิการอาจต้องมีการปรับการประเมินผลท่ีเอ้ือ ต่อสภาพผู้เรียน ท้ังวิธีการและเครื่องมือท่ีใช้ หรือกลุ่มผู้เรียนท่ีมีจุดเน้นเฉพาะด้าน เช่น เน้นด้านอาชีพ นาฏศลิ ป์ พลศึกษา ฯลฯ อาจกาหนดสดั ส่วนน้าหนักคะแนนและวิธีการประเมินท่ีให้ความสาคัญแก่ทักษะ ดา้ นการปฏบิ ตั ิ นอกจากนั้น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ควรอยบู่ นหลักการพื้นฐาน คือ การประเมิน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยเฉพาะการประเมินเพื่อการพัฒนานั้น เปน็ สิ่งสาคญั อยา่ งยิ่ง ควรมกี ารประเมนิ เป็นระยะสม่าเสมอเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการปรับปรุง การเรียนการสอนและแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง สาหรับการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียน น้ันเป็นการตรวจสอบแล้วตัดสินว่า ผู้เรียนมีการพัฒนาอันเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หรือไม่ และ ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนร้ตู ่อไป ส่งิ สาคัญอีกประการหนึ่งที่มีผลอย่างย่ิงต่อประสิทธิภาพและ ความน่าเช่ือถือของการวัดและประเมินผล ได้แก่ วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครูผู้สอนควรให้ ความสาคัญแก่การประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายเช่น การพูดคุยและใช้คาถาม
31 การสังเกต การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ การประเมินการปฏิบัติ การตรวจการบ้าน การแสดงออกในการ ปฏิบัตงิ าน การแสดงกิริยาอาการตา่ ง ๆ การประเมนิ ด้วยแฟูมสะสมงาน แบบทดสอบ การประเมินตนเอง ฯลฯ ของผู้เรียนตลอดเวลาท่ีจัดกิจกรรม เพ่ือได้ทราบว่าผู้เรียนบรรลุมาตรฐาน/ตัวชี้วัดหรือมีแนวโน้มว่า จะบรรลุตัวช้ีวัดเพียงใด และส่ิงเหล่าน้ีควรพิจารณาให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละกลุ่มเพื่อให้การวัดและ ประเมนิ ผลเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ การประเมิน ทดสอบ ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาพิเศษ สาหรับบุคคลพิการและข้อกาหนดในกฎหมาย ผู้ดาเนินการทดสอบต้องจัดให้บริการช่วยเหลือและอานวย ความสะดวกด้านการประเมินผลให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็ นพิเศษของคนพิการแต่ละประเภท และบุคคลของผู้เรียน สาหรับประเภทและความช่วยเหลือและอานวยความสะดวก โดยท่ัวไป อาจเป็น ดงั นี้ 1. การช่วยเหลือและอานวยความสะดวกด้านรูปแบบของข้อสอบ (Presentation Accommodations) เป็นการปรับเปล่ียนรูปแบบของแบบทดสอบ หรือคาสั่งในการทาแบบทดสอบ เช่น ตัวพิมพท์ ่ีมขี นาดใหญ่ พมิ พด์ ้วยอักษรเบรลล์ มกี ารแปลเป็นภาษามือ หรือการอ่านให้ฟัง 2. การช่ว ยเหลือและอานว ยคว ามสะดวกด้านวิธีการตอบข้อสอบ (Res pons e Accommodations) เป็นการปรับเปล่ียนวิธีการในการตอบคาถามในแบบทดสอบ หรือการกระตุ้นเตือน เชน่ การอนญุ าตให้นักเรียนระบุคาตอบโดยการช้ีหรือการใช้ภาษาท่าทาง (gesturing) หรือให้มีเจ้าหน้าที่ ชว่ ยเขยี นคาตอบ (scride) การบนั ทกึ คาตอบโดยใชเ้ ทคโนโลยีต่าง ๆ 3. ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ด้ า น ก า ร จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ( Setting Accommodations) เป็นการปรับสภาพแวดล้อม สถานที่หรือรูปแบบของการสอบ เช่น การจัดการสอบ เปน็ กลุม่ เล็กๆ การสอบเปน็ รายบคุ คลหรือแมก้ ระทั่งท่บี ้านของนกั เรียน 4. การช่วยเหลอื และอานวยความสะดวกด้านการกาหนดเวลาสอบและตารางสอบ (Timing and Scheduling Accommodation) เป็นการปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับเวลาการสอบ หรือตารางสอบ เช่นขยาย เวลาในการทาแบบทดสอบให้มากขึ้น หรือ อนุญาตให้มีการหยุดพัก (break) ในระหว่างการทา แบบทดสอบ หลักการในการใหค้ วามช่วยเหลือและอานวยความสะดวกด้านการสอนและการประเมินผล 1. การช่วยเหลืออานวยความสะดวก เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนพิการหรือบกพร่อง สามารถเข้าถึงการเรียนการสอนหรือการสอบ แต่ต้องไม่เป็นการเอื้อประโยชน์ไม่เป็นธรรมแก่ผู้เรียน ดังกล่าว 2. การช่วยเหลือและอานวยความสะดวกเป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการในการเข้าถึงการเรียน การ สอน และการประเมินผลการเรียนของผู้เรียน โดยไม่เปลี่ยนแปลงมาตรฐานในการปฏิบัติงาน หรือการ สอบของผู้เรียน เปูาหมายสาคัญ คือ หาวิธีการท่ีเหมาะสมในการสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงการ เรยี นการสอนและการสอบ โดยไมป่ รับมาตรฐาน 3. การช่วยเหลือและอานวยความสะดวกท้ังหมดที่ร้องขอ เพ่ือใช้สาหรับผู้เรียนในการทดสอบ ระดับประเทศ ต้องมีการบันทึกไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program: IEP) ท่ใี ช้อย่ใู นปัจจบุ นั ของผูเ้ รียน และตอ้ งเป็นส่ิงท่ีปรากฏอยู่ในรายการของการช่วยเหลือและ อานวยความสะดวกท่ไี ดร้ ับอนุญาตให้ใชไ้ ด้
32 4. ผเู้ รยี นที่ต้องการบริการด้านการเอื้อตามสภาพผู้เรียน มีความต้องการโอกาสในการเรียนรู้ การ ใช้การเอ้ือตามสภาพผู้เรียนในบริบทของห้องเรียนและมีความต้องการจาเป็นในการเอ้ือตามสภาพผู้เรียน ในการทดสอบ โดยเงอ่ื นไขหรอื ขอ้ กาหนดในการทดสอบในหอ้ งเรียนควรใกล้เคียงกบั การสอบในระดับชาติ มากท่ีสุดเท่าที่จะมากได้ เพ่ือช่วยเพ่ิมความสบายใจให้กับผู้เรียน ซึ่งจะส่งผลต่อการทาแบบทดสอบของ ผูเ้ รยี น 5. ส่งิ สาคญั ประการหน่ึงทพี่ งึ ระลกึ ถงึ คอื การช่วยเหลืออานวยความสะดวกอย่างเดียวกันท่ีใช้ใน การเรยี นการสอนหรอื การทดสอบในช้นั เรียน อาจไมไ่ ดร้ ับอนุญาตใหใ้ ช้ในการทดสอบระดบั ชาติ (การปรบั เปล่ยี นหลกั สูตรในการจัดการเรยี นรวม. 2556)
หน่วยท่ี 5 การประกันคณุ ภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเหตุนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ี แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 จึงกาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาแก่คนพิการ พ.ศ. 2551 มาตรา 5 คนพิการมีสิทธิรับการศึกษา (3) ได้รับการศึกษาท่ีมีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมการจดั หลกั สตู รกระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษาท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ จาเปน็ พเิ ศษของคนพกิ ารแตล่ ะประเภทและบคุ คล เปูาหมายการปฏิรูปการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) มุ่งเน้นให้คน พิการทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละประเภทความพิการในทุก ระบบและรูปแบบการศึกษาอย่างทั่วถึง และเสมอภาค รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของ สังคมในการบริหารและจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ โดยมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลให้เหมาะสมสาหรับคนพิการ พัฒนามาตรฐาน และ การประกันคุณภาพการศึกษาสาหรับคนพิการของแต่ละประเภทความพิการในทุกระบบ และรูปแบบ การศึกษา ส่งเสริมการวิจัย พัฒนามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังการจัดหลักสูตร นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา การวัดและประเมินผลท่ี เหมาะสมกบั ความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของคนพกิ ารแต่ละประเภทและบุคคล (สานักบริหารงานการศึกษา พเิ ศษ. 2556) มาตรฐานการศึกษาศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ มาตรฐานการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เพ่ือการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย 6 ด้าน 6 มาตรฐาน 33 ตวั บ่งช้ี มาตรฐานท่ี 1 ผู้เรยี นมพี ัฒนาการเต็มศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล มาตรฐานท่ี 2 ครูปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานท่ี 3 ผู้บริหารปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล มาตรฐานที่ 4 ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษมกี ารจัดทาหลักสูตร การจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นและระบบ การให้บรกิ ารผเู้ รียนตามภาระหน้าทท่ี ่กี าหนด มาตรฐานที่ 5 ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษมกี ารสร้าง สง่ เสรมิ สนับสนุน ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 6 ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษมรี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายใน ตามท่ีกาหนดใน กฎกระทรวง
34 มาตรฐานการศึกษาพิเศษขั้นพ้ืนฐาน 4 ประเภทความบกพร่อง เพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาพเิ ศษขัน้ พน้ื ฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพภายใน 4 ประเภทความบกพร่องประกอบดว้ ย ประเภทความความบกพรอ่ งทางร่างกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรอื สุขภาพ ประเภทความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน ประเภทความบกพรอ่ งทางการเห็น ประเภทความบกพรอ่ งทางสติปัญญา ประกอบดว้ ย 15 มาตรฐาน 66 ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานที่ 1 ผเู้ รียนมสี ุขภาวะท่ีดีและมสี นุ ทรยี ภาพ มาตรฐานท่ี 2 ผูเ้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 3 ผ้เู รยี นมที ักษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง มาตรฐานท่ี 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แกป้ ญั หาได้ อย่างมีสตสิ มเหตุผล มาตรฐานท่ี 5 ผเู้ รียนมีความรแู้ ละทักษะทจ่ี าเป็นตามหลกั สูตร มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมที กั ษะในการดาเนนิ ชวี ิตและการทางาน และมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ สุจริต มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล มาตรฐานท่ี 8 ผ้บู ริหารปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธผิ ล มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษาส่งเสริมให้คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง ชมุ ชน ปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล มาตรฐานท่ี 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพผ้เู รียนอยา่ งรอบด้าน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาเตม็ ศักยภาพ มาตรฐานท่ี 12 สถานศึกษามกี ารประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาตามท่ีกาหนดใน กฎกระทรวง มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่ง การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้นทกี่ าหนดขน้ึ มาตรฐานที่ 15 การจดั กิจกรรมตามนโยบาย จุดเนน้ แนวทางการปฏริ ูปการศึกษาเพื่อ พฒั นาและส่งเสริมสถานศึกษาใหย้ กระดับคณุ ภาพสูงข้นึ (สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. 2555)
35 สรปุ สาระสาคัญ การศึกษาพิเศษ คือการจัดการศึกษาเพ่ือฟ้ืนฟูบาบัดและชดเชยความบกพร่อง รวมทั้งส่งเสริม ศักยภาพให้แก่เด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการ เรียนรู้ รวมถึง การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปัญญาเลิศและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ สิทธิทางการศึกษา ของคนพิการได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 ระบุว่า คนพิการมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ ให้จัดต้ังแต่แรกเกิด หรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง และ พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 กาหนดให้คนพิการมีสิทธิได้รับการศึกษา โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมทั้งการได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใด ทางการศึกษา โดยจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษ ของแตล่ ะประเภทและบุคคล การจาแนกประเภทความพิการทางการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 ได้กาหนดประเภทของคนพิการ (1) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น (2) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (3) บุคคลท่ีมีความ บกพร่องทางสติปัญญา (4) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (5) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (6) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (7) บุคคลที่มี ความบกพร่องทางพฤติกรรม หรอื อารมณ์ (8) บคุ คลออทิสตกิ และ (9) บคุ คลพกิ ารซอ้ น จิตวิทยาการศึกษาช่วยให้ครูได้เข้าใจปัญหาทางด้านการศึกษา มีวิธีการท่ีเหมาะสมที่จะนาไปใช้ ในการเรียนการสอน ทาให้เข้าใจลักษณะการเจริญเติบโตและพัฒนาการเรียนรู้ สามารถจัดการเรียนการ สอนให้เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัดของผู้เรียน มีความมุ่งหมายท่ีจะให้ครูมีเจตคติ ความเข้าใจ ผู้เรียนช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเอง ช่วยให้ครูเข้าใจความแตกต่างระหว่าง บคุ คลโดยเฉพาะตวั ผเู้ รียน และครูจะต้องเข้าใจว่าครูเองมีบทบาทสาคัญ เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมท่ีมี อิทธพิ ลต่อผเู้ รยี นและการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน การปฏิรูปการศึกษาสาหรับคนพิการในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) มุ่งเน้นให้คนพิการทุก คนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละประเภทความพิการในทุก ระบบและ รูปแบบการศึกษาอย่างทั่วถึง และเสมอภาค รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมใน การบรหิ ารและจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร โดยมยี ทุ ธศาสตร์ในการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการ เรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลให้เหมาะสมสาหรับคนพิการ พัฒนามาตรฐาน และการประกันคุณภาพ การศึกษาสาหรับคนพิการของแต่ละประเภทความพิการในทุกระบบ และรูปแบบการศึกษา ส่งเสริมการ วิจัย รวมท้งั การจดั หลกั สูตร นวัตกรรมในการจดั การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ การทดสอบทางการศึกษา การวัดและประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสมกบั ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษของคนพกิ ารแตล่ ะประเภทและบคุ คล
36 แหลง่ ข้อมูลเพมิ่ เตมิ ทตี่ อ้ งศึกษา สาหรับผู้ท่ีศกึ ษาขอ้ มลู พ้นื ฐานทางการศึกษาพิเศษ นอกจากหนังสือ ชุดการศึกษาด้วยตนเองแล้ว ผู้ศึกษาเองน้ันควรหาข้อมูลความรู้เพ่ิมเติม เพ่ือให้เข้าใจและมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาสาหรับ บุคคลท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ในด้านกฎหมายต่างๆที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา การจัดการ เรียนการสอน การใช้จิตวิทยาการศึกษา กระบวนการวัดและประเมินผลสาหรับผู้เรียน เพราะปัจจุบัน การศึกษาสาหรับคนพิการได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างๆ ไปมาก ผู้ศึกษาจึงควรหาความรู้เพ่ิมเติม เพอื่ ใหท้ นั ตอ่ เหตกุ ารณ์ แหล่งข้อมลู เพมิ่ เติมที่ตอ้ งศกึ ษา เช่น 1. พระราชบญั ญตั ิการจดั การศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 2. เวบ็ ไซต์ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ http://special.obec.go.th/special 3. เวบ็ ไซต์ กระทรวงศึกษาธกิ าร www.moe.go.th 4. เวบ็ ไซต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ www.edu.ku.ac.th 5. เว็บไซต์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ิต http://education.dusit.ac.th ซึ่งหนังสือและเวบ็ ไซต์เหลา่ นี้จะสามารถหาข้อมูลเกยี่ วกับการจดั การศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความ บกพร่อง ดังนี้ ขอ้ มูลสาคัญเก่ียวกับบคุ คลท่ีมีความบกพร่อง การจัดการศกึ ษา การจัดการเรยี นการสอน กฎหมายท่เี กย่ี วข้องกับการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ หนว่ ยงานและสถานศึกษาทเี่ ก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร หนงั สือทีน่ ่าสนใจเกี่ยวกับการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ ชอ่ื หนงั สือ รอ้ ยประเมินหรอื จะสู้...ครคู นหนึง่ ผ้เู ขียน เฮเดน ทอร่ี (แปลโดย ประเสริฐ ตันสกุล) ปที ่ีพิมพ์ พ.ศ. 2556 รายละเอียด: หนังสอื รอ้ ยประเมนิ หรอื จะสู้...ครูคนหน่ึง คอื รปู แบบแห่งแรงบนั ดาลใจของความเป็นครู ดว้ ยจติ วิญญาณ ท่ีผเู้ ขียนถ่ายทอดจากประสบการณ์ในการสอนเดก็ ท่ีมคี วามต้องการพเิ ศษ และนามา เรียบเรยี งถา่ ยทอดให้อา่ นกนั อยา่ งซาบซง้ึ และเป็นประโยชน์อยา่ งมากโดยเฉพาะผู้ท่ีมอี าชพี ครกู ารศึกษา
37 พิเศษ ครหู รือผู้ที่กาลังจะเป็นครู คุณคา่ หนังสอื เล่มน้ีคือแสงสว่างแหง่ แรงบนั ดาลใจอย่างแทจ้ รงิ ในการ พัฒนาเดก็ ทุกคน ช่ือหนังสอื การสอนเด็กท่มี ีความต้องการพเิ ศษ ผู้เขยี น รองศาสตราจารย์ ดร.ดารณี ศักด์ิศิริผล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ สถาบนั วิจยั และพฒั นาการศึกษาพเิ ศษ ปที ี่พมิ พ์ 2552
บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2555). แผนการจดั การศึกษาสาหรับคนพกิ าร ระยะ5ปี พ.ศ.2555-2559. สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร : สานักพิมพ์ หจก.ตลุ ย์สตดู โิ อกราฟฟิก เชียงใหม่. กระทรวงศึกษาธิการ .(2556). ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง กาหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552. (ออนไลน์).แหล่งท่ีมา: http://www.mua.go.th/users/he-commission/doc/law/ministry%law/- 42%20handicap%20MoE.pdf .27 สิงหาคม 2556. การปรับเปลย่ี นหลกั สตู รในการจัดการเรยี นรวม.2556.(ออนไลน์) . แหล่งทม่ี า : www.secondary33.go.th/.../1938_9.) 27 สิงหาคม 2556. จนั ทร์ชลี มาพุทธ.(2555).หลกั และพนื้ ฐานการศึกษาขั้นสูง.มหาวิทยาลยั บรู พา. พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์ และ สวุ พิชชา ประสิทธธิ ญั กิจ.(2553). ความรู้ทว่ั ไปด้านการศึกษาพเิ ศษ. ภาควิชาพน้ื ฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามคาแหง. สานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน.(2556) .ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐาน การศึกษาพิเศษขั้นพ้นื ฐาน ๔ ประเภทความบกพร่อง เพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา. (ออนไลน์).แหลง่ ทีม่ า : http://bet.obec.go.th/index/wp- content/uploads/downloads/2012/03/25-2555.pdf 27 สิงหาคม 2556. สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ.(2555).หลกั สตู รการจัดการศกึ ษาระยะแรกเริ่มสาหรบั เดก็ พิการ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ พุทธศักราช 2555. สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ.(2556).คู่มือการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบการ ประกันคุณภาพภายใน.สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ.(2556).ประกาศคณะกรรมการการพจิ าณาใหค้ นพกิ ารไดร้ บั สทิ ธิ ช่วยเหลอื ทางการศึกษา เรื่อง กาหนด หลักเกณฑ์และวิธกี าร การรับรองบุคคล ของสถานศกึ ษา ว่าเปน็ คนพิการ.(ออนไลน์).แหล่งทีม่ า : http://special.obec.go.th/special/News/26.8.56_KST.pdf.29 สงิ หาคม 2556. สภาคนพกิ ารทุกประเภทแหง่ ประเทศไทย.(2555). รายงานผลการสัมมนา “การพฒั นาแนวทางสนับสนนุ การจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ.
ภาคผนวก
Search