วฒั นธรรมไทย ๔ ภาค
ก คำนำ สอื่ การสอน ฉบบั นีเ้ ป็นสว่ นหนงึ่ ของวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่3 โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือการศกึ ษาความรูท้ ่ีไดจ้ ากเรื่อวฒั นธรรมไทย ทงั้ นี้ ในรายงานนีม้ ีเนือ้ หาประกอบดว้ ย ความรูเ้ ก่ียวกบั วฒั นธรรมไทยทงั้ ส่ภี าค ตลอดจนการประยกุ ตใ์ ช้ และเพือ่ ใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั สงั คมมนษุ ยว์ า่ มนษุ ยเ์ ป็นสตั วส์ งั คมที่ตอ้ งอาศยั อย่รู วมกนั สรา้ งวฒั นธรรม อย่างเป็นระบบ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจถึง ระบบโครงสรา้ ง สถาบนั และสถานภาพและบทบาทของสมาชิก ระบบคุณค่าบรรทดั ฐาน และการควบคมุ ทางสงั คมตลอดจนความเก่ียวพนั ระหวา่ งสงั คม ผจู้ ดั ทาไดเ้ ลือกหวั ขอ้ นใี้ นการทารายงาน เน่ืองมาจากเป็นเร่ืองท่ีนา่ สนใจ รวมทงั้ แสดงใหเ้ ห็นถึงความ เป็นสงั คมไทยผูจ้ ัดทา หวงั ว่ารายงานฉบับนีจ้ ะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชนแ์ ก่ผูอ้ ่านทุก ๆ ท่าน หากมี ขอ้ เสนอแนะประการใด ผจู้ ดั ทาขอรบั ไวด้ ว้ ยความขอบพระคณุ ยง่ิ คณะผจู้ ดั ทา ๑๕ มนี าคม ๒๕๖๓
สำรบัญ ข เรื่อง หน้า คานา ก สารบญั ข ตัวชี้วัด วัฒนธรรมไทย ๑ ทม่ี าของวฒั นธรรมไทย ๒ ประเพณีภาคเหนือ และวัฒนธรรมภาคเหนอื ๒ ประเพณภี าคใต้ และวฒั นธรรมภาคใต้ ๓-๖ ประเพณภี าคกลาง และวัฒนธรรมภาคกลาง ๗-๑๒ ประเพณีภาคอสี าน และวัฒนธรรมภาคอสี าน ๑๓-๑๘ แบบทดสอบ วัฒนธรรมไทย ๔ ภาค ๑๙-๒๖ บรรณานุกรม ๒๗ ๒๘
๑ วฒั นธรรมไทย ๔ ภาค ตวั ชีว้ ดั ตวั ชว้ี ัด ส ๒.๑ ม.๔-๖/๕ วเิ ครำะห์ควำมจำเปน็ ที่ จะตอ้ งมกี ำรปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลงและอนรุ กั ษ์
๒ วัฒนธรรมไทย ๔ ภำค วฒั นธรรมไทย ชาติไทยเป็นชาติที่เก่าแก่และมวี ัฒนธรรมประจาชาติทเ่ี กิดจากภูมิปัญญาของบรรพบุรษุ และพัฒนาหล่อ หลอมข้ึนในสังคมไทยจนมีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองไม่ว่าจะเป็นภาษา วรรณคดี ศิลปวัตถุ ดนตรี อาหารและการแต่งกาย นอกจากน้ี คนไทยยังได้มีการยอมรับเอาวัฒนธรรมของชาติอื่นเข้ามาผสมผสาน โดยการนามาดัดแปลงผสมผสานกันได้อย่างกลมกลืนจนเกิดเป็นวัฒนธรรมของสังคมไทยท่ีมีเอกลักษณ์ใน ท่ีสดุ ทม่ี ำของวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมีท่มี าจากหลายแหล่งกาเนดิ ด้วยกนั ดงั นี้ ๑) ส่ิงแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และสังคมเกษตรกรรม เน่ืองจากพ้ืนท่ีของประเทศไทยส่วนใหญ่มี สภาพภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าคนไทยจึงมีความผูกพันกับแม่น้าลาคลองทาให้เกิดวิถีชีวิตริมน้าและ ประเพณตี ่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั น้าท่ีสาคัญเชน่ ประเพณีลอยกระทงประเพณีสงกรานต์ เปน็ ต้น ๒) พธิ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่เข้ามาในประเทศไทยเป็นเวลานาน โดย คนไทยได้นาหลกั คาสอนมาใช้ในการดาเนินชีวติ นอกจากนี้ยงั มปี ระเพณแี ละพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับ ศาสนาอีกเป็นจานวนมาก เช่น การทอดกฐนิ การทอดผ้าปา่ การบวชเพ่อื สบื ทอดศาสนา เป็นตน้ ๓) ค่านิยม เป็นแบบอย่างพฤติกรรมของคนในสังคมท่ีมีความแตกต่างกัน ค่านิยมบางอย่าง กลายเป็นแกนหลักของวัฒนธรรมไทย เช่น ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งคนไทยให้ความ เคารพและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ อย่างมาก ๔) การเผยแพร่และการยอมรับวัฒนธรรมจากต่างชาติ ในอดีตประเทศไทยได้รับวัฒนธรรมจาก จีนและอินเดียเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิม แต่ในปัจจุบันจากกระแสโลกาภิวัฒน์ทาให้เกิดการ หลง่ั ไหลของวฒั นธรรมตา่ งชาติเมาในประเทศไทย โดยเฉพาะวัฒนธรรมทม่ี าจากชาติตะวันตกทีเ่ หน็ ได้อยา่ ง ชัดเจน เช่น การแต่งกายตามแบบสากล การผูกเนคไท การสวมเสื้อนอกการสร้างบา้ นเรือนรูปทรงต่างๆ เปน็ ตน้
๓ ประเพณีภำคเหนือ และวฒั นธรรมประเพณภี ำคเหนอื ประเพณีปอยน้อย หรือ ปอยบวช ได้แก่ประเพณีการบวชเป๊กข์ หรือการบรรพชาอุปสมบทของชาว ล้านนา มีชอ่ื เรียกแตกตา่ งกันไปบ้างในแต่ละท้องถิ่น คอื ๑ ปอยนอ้ ย คอื งานขนาดเลก็ จดั ขนึ้ เฉพาะวงศญ์ าติและมติ รสหายที่รูจ้ กั ๒ ปอยบวช งานบรรพชาสามเณรหรอื นาเดก็ มาบวชเป็นศษิ ย์วัดในพุทธศาสนา ๓ ปอย เป๊กข์ งานอุปสมบทพระภิกษุ ทางล้านนานิยมใช้คาว่า “เป๊กข์ธุ” คานี้มาจากคาว่า “อุปสัมปทา เปกขะ” ภาคกลางใข้พยางคห์ นา้ เปน็ อุปสมบท ล้านนาใช้พยางค์ทา้ ยว่า อปุ สัมปทาเปกขะ เป็น”เป๊กข์” จงึ มคี วามแตกตา่ งกนั ไปท้ังทคี่ วามหมายเป็นอันเดยี วกัน ๔ ปอยลกู แก้ว งานบวชท่ีมีการแห่ลูกแกว้ หรแื แห่นาค ๕ ปอยสา่ งลอง คอื ประเพณปี อยบวชสามเณรของชาวไทยใหญ่ รวมความวา่ ปอยน้อยคือประเพณีทีจ่ ดั ขึน้ เป็นการภายใน เฉพาะวงศ์ญาตแิ ละมิตรสหายเทา่ นน้ั มิได้เป็นงาน ส่วนรวมหรือสาธารณะอย่างปอยหลวง อาจมกี ารร่วมกันบวชเดก็ ทเ่ี ปน็ กาพรา้ ขาดคนดแู ลบา้ ง โดยเจ้าอาวาสเป็น ประธานแต่ก็นาน ๆ คร้ังไม่มีบ่อย งานที่จัดข้ึนเฉพาะเจ้าภาพและญาติเช่นน้ี จึงเรียกว่า “ปอยน้อย” การปฏิบัติ ตามจารีตดังกล่าวนบั เปน็ ประเพณสี าคัญทางพุทธศาสนา ประเพณหี น่งึ ของ ลา้ นนาไทย
คณุ คำ่ กำรบวชในพทุ ธศำสนำ ๔ การบวชสามเณร หรือปอยน้อยในลา้ นนาไทยน้นั มีความมุ่งหมายและคุณค่าสาคญั ดังน้ี ๑ ต้องการให้เด็กรหู้ นงั สอื อา่ นออกเขยี นได้ ๒ ตอ้ งการให้เด็กรศู้ ลี ธรรม จริยธรรม ๓ ตอ้ งการให้เด็กไดเ้ รียนร้วู ิชาชีพ ๔ ต้องการเป็นศาสนทายาท คอื ผู้สืบมรดกทางพุทธศาสนา ๕ ตอ้ งการใหส้ ังคมยอมรบั บิดามารดาวา่ เป็นผศู้ รทั ธาในพุทธศาสนา ๖ ต้องการใหเ้ กิดบุญกศุ ลเปน็ การสรา้ งสมบารมี ๗ ตอ้ งการให้เปน็ พาหนะสสู่ วรรค์และนิพพาน ๘ ตอ้ งการเป็นคนสุก เพราะการอบรมบ่มนสิ ัย คณุ ค่าทีส่ าคัญอีกประการหนงึ่ คือ สงั คมไทยต้องการคนท่ีมีความรู้ และไดร้ ับการฝึกหดั อบรมมาจากวัดแลว้ ว่า “เปน็ คน สกุ ” หรือ เป็น “ขนานบณั ฑิต” ชาวบ้านอยากจะให้ลกู สาวแต่งงานด้วย หวังใจวา่ คนท่บี วชแลว้ ย่อมรัก ทนุถนอมลูกเมีย ไมท่ อดท้ิง เพราะจิตใจเตม็ ไปด้วยความเมตตากรณุ า ประเพณีตำนตุง ประเพณีทานตุงเป็นการทาถวายเป็นพุทธบูชาชาวล้านนาถือว่าเป็นการทาบุญอุทิศให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว ประเพณีไทย ประเพณีทานตุง “ตุง” ในภาษาถ่ินล้านนาหมายถึง “ธง” ในภาษาไทยกลางตรงกับลักษณะธงประเภท “ปฏากะ”ของอินเดีย คอื มีลักษณะเปน็ แผน่ วัตถสุ ่วนปลายแขวนตดิ กบั เสาหอ้ ยเปน็ แผ่นยาวลงมา ลักษณะความเช่ือจุดประสงค์ของการทาตุงในล้านนาก็คือการทาถวายเป็นพุทธบูชาชาวล้านนาถือว่าเป็นการ ทาบุญอุทิศให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้วหรือถวายเพ่ือเป็นปัจจัยส่งกุศลให้แก่ตนไปในชาติหน้าด้วยความเชื่อที่ว่าเมื่อตายไป แล้วก็จะได้เกาะยึดชายตุงข้ึนสวรรค์พ้นจากขุมนรกวันท่ีถวายตุงนั้นนิยมกระทาในวันพญาวันซึ่งเป็นวันสุดท้ายของ เทศกาลสงกรานต์ ความสาคัญตุงเป็นสิ่งที่ทาข้ึนเพื่อใช้ในงานพิธีทางพุทธศาสนาท้ังในงานมงคลและอวมงคลต่างๆโดยมีขนาด รูปทรงและรายละเอียดด้านวัสดุตกแตง่ ต่างๆ แตกต่างกนั ไปตามความเช่อื และพิธีกรรม ตลอดจนตามความนิยมในแต่ละ ท้องถิ่นด้วย ตุงจึงมีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น ทาด้วยไม้แกะสลัก เรียกว่าตุงกระด้าง ทาด้วยผ้า ได้แก่ ตุงไชย ทาด้วย สงั กะสหี รอื ทองเหลือง เรยี กว่า ตุงเหล็กตุงตอง ซึ่งตุงชนิดนี้จะทาอุทิศให้แก่ผู้ท่ตี ายเพราะอุบัติเหตุ ลักษณะมีฐานเป็นไม้ เสาตั้งขนาดสูงประมาณ ๑ ฟุต แขวนด้วยตุงขนาดเล็ก ๆ รอบแผ่นเหล็กวงกลมตัวตุงทาด้วยทองเหลืองหรือสังกะสีตัด เปน็ แผน่ คลา้ ยรปู คนจานวนของตุงทแี่ ขวนไมแ่ นน่ อนแตจ่ ดุ ประสงค์ของผ้ทู าทาน
ประเพณลี อยโคม ๕ งานประเพณีลอยโคมเป็นประเพณีพนื้ บา้ นของชาวลา้ นนา ในจงั หวดั เชียงใหม่ จดั ขนึ้ ในวนั เพ็ญเดือน ๑๒ การลอยโคมของ ชาวลา้ นนานไี้ มใ่ ช่การลอยโคมตามสายนา้ หรอื ลอยกระทง แตเ่ ป็นการลอยโคมท่ีปลอ่ ยขนึ้ ไปในอากาศโดยโคมจะทาดว้ ยกระดาษสา ตดิ บนโครงไมไ้ ผซ่ ง่ึ ก็จะมสี สี นั สวยงามแลว้ จดุ ตะเกียงไฟตรงกลางเพอ่ื ทีจ่ ะใหไ้ อรอ้ นเป็นตวั พาโคมลอยขนึ้ สอู่ ากาศชาวลา้ นนามคี วาม เช่ือวา่ การจดุ โคมลอยและปลอ่ ยขนึ้ ไปในอากาศเป็นการปลดปลอ่ ยความทกุ ขโ์ ศกและเรอ่ื งรา้ ยๆ ใหพ้ น้ ตวั และลอยไปกบั อากาศ โดยมี คติความเช่ือวา่ เพ่อื บชู าพระเกตแุ กว้ จฬุ ามณีบนสรวงสวรรค์ ชาวลา้ นนาไดก้ ลา่ ววา่ ในวนั เพญ็ เดือนสบิ สองนอกจากจะมกี ารตงั้ ธมั มห์ ลวงแลว้ คนท่ีเกิดในปีจอจะตอ้ งไปนมสั การพระธาตุ แกว้ จฬุ ามณี ซง่ึ เป็นที่บรรจมุ วยผมของเจา้ ชายสทิ ธตั ถะทตี่ ดั ออกก่อนดารงเพศนกั บวช แตเ่ จดียน์ อี้ ยทู่ ส่ี วรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ ดงั นนั้ ชาว ลา้ นนาท่เี กดิ ในปีจอ จึงใชโ้ คมลอยเป็นเครอื่ งบชู าพระธาตเุ กศแกว้ จฬุ ามณี โดยปลอ่ ยไปใหไ้ กลที่สดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้ ในวนั งานประเพณี ลอยโคม จะมกี ารจดุ โคมและปลอ่ ยขนึ้ บนทอ้ งฟา้ ทาใหท้ อ้ งฟา้ ในยามค่าคนื สวา่ งไสวไปดว้ ยแสงจากโคมลอย ซงึ่ มคี วามสวยงามและ ประเพณีนไี้ ดก้ ลายเป็นที่รูจ้ กั ของชาวไทยและชาวตา่ งชาตกิ ็ใหค้ วามสนใจในเอกลกั ษณข์ องประเพณีลอยโคมเป็นอยา่ งมากโคมลอย หมายถึงประทีปที่จดุ ไฟแลว้ วางบนกระทงและปลอ่ ยใหล้ อยไปตามสายนา้ จะมลี กั ษณะเป็นลกู โป่ งขนาดใหญ่ทาดว้ ยกระดาษบางเบา ทป่ี ลอ่ ยใหล้ อยไปบนฟากฟา้ โดยใชค้ วนั ไฟ ประวตั ิประเพณีลอยโคม แตเ่ ดมิ นนั้ ในวนั ขนึ้ ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ จะมพี ิธีลอยกระทงเรยี กวา่ พระราชพิธีจองเปรยี งชกั โคม ซง่ึ เป็นพธิ ีของพราหมณ์ กระทาเพื่อบชู าพระเป็นเจา้ ทงั้ สาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ครนั้ คนไทยรบั นบั ถือพระพทุ ธศาสนาก็ทาพิธี ยกโคม เพ่อื บชู า พระบรมสารรี กิ ธาตุ พระจฬุ ามณี ณ สวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ ลอยโคมบชู าพระพทุ ธบาท ณ หาดทรายแมน่ า้ นมั มทานที ประเทศ อินเดีย สาหรบั การลอยกระทงตามสายนา้ นเี้ กดิ ขนึ้ ครงั้ แรกตามหลกั ฐานท่บี นั ทกึ เอาไวว้ า่ นางนพมาศ ซงึ่ เป็นสนมเอกของพระรว่ งเจา้ กรุงสโุ ขทยั ไดค้ ดิ ทากระทงรูปดอกบวั และรูปตา่ งๆ ถวาย พระรว่ ง ทรงใหล้ อยกระทงตามสายนา้ ไหลใน หนงั สอื ตารบั ทา้ วศรจี ฬุ าลกั ษณ์ พระรว่ งตรสั วา่ \"แตน่ ่ีสบื ไปเบอื้ งหนา้ โดยลาดบั กษัตรยิ ใ์ นสยามประเทศ ถึงกาลกาหนดวนั เพญ็ เดือน ๑๒ ใหท้ าโคมลอยเป็นรูปดอกบวั อทุ ิศสกั การบชู า พระพทุ ธบาทนมั ฆทานที ตราบเทา่ กลั ปาวสาน” ครนั้ ถึง สมยั รตั นโกสนิ ทรม์ กี ารทากระทงขนาดใหญ่และสวยงามมี การประกวดเกิดขนึ้ โคมลอย มีความหมายเดยี วกบั \"โพยมยาน” คอื ยานทลี่ อยไปในอากาศไดโ้ ดยใชอ้ ากาศรอ้ นหรอื แก๊สที่เบากวา่ อากาศยกเอายานนนั้ ลอยไปได้ \"โคมลอย” ในท่นี ี้ มาแตห่ นงั สอื พมิ พต์ ลกขององั กฤษทช่ี ่ือวา่ ฟัน (Fun-ผเู้ ขียน) ที่ใชร้ ูปโคมลอยอยหู่ ลงั ใบปก หนงั สอื พมิ พน์ นั้ เลน่ ตลกเหลวไหลไมข่ บขนั เหมอื นหนงั สอื พิมพต์ ลก จึงเกิดคาติกนั เมื่อใครเห็นเลน่ ตลกไมข่ บขนั จึงวา่ ราวกบั หนงั สอื พิมพฟ์ ัน บา้ งวา่ เป็นโคมลอย บา้ งจะพดู ใหส้ นั้ จงึ คงไวแ้ ต่ โคม โคมลอย ตามนยั ของพระราชพธิ ี ๑๒ เดอื น กบั นยั ของหนงั สอื อกั ข ราภิธานศรพั ท์ แมจ้ ะดเู หมอื นวา่ ไมต่ รงกนั แตก่ ็พอจะอธิบายใหเ้ ห็นไดว้ า่ เป็นวตั ถทุ รงกลมทีอ่ าศยั ความรอ้ นที่กกั ไวภ้ ายในพยงุ ใหล้ อย ไปในอากาศได้
ประเพณีลอยกระทงสำย ๖ ประเพณีลอยกระทงสาย เป็นประเพณีเฉพาะท้องถ่ินของชาวจังหวัดตาก ซ่ึงโดยทั่วไปการลอยกระทงไม่ว่าจะ เปน็ ท่ีใดก็จะมลี ักษณะที่คล้ายคลึงกัน เช่น ตอ้ งมีกระทงซึ่งประดษิ ฐข์ ึ้นลักษณะคลา้ ยดอกบัวบาน แต่ของจังหวดั ตากใช้ กระทงทาไม่เหมือนใคร คือ ใช้กะลามะพรา้ วเป็นตัวกระทง ภายในมีไส้กระทงเป็นมะพรา้ วแห้งชุบน้ามนั สาหรับความ เช่ือในการลอยกระทงน้ันก็คล้ายกับชาวไทยในภาคอ่ืนๆ คือเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาพระแม่คง คา แต่ใน บางคร้ังก็เช่ือว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่รมิ ฝง่ั แม่นา้ นัมทามหานที อันเป็นคติความเชอ่ื เหมอื นกับภาคกลาง แต่ บางทีก็เชื่อว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระโมคคัลลีบุตรมหาสาวก (ตามอย่างความคิดอิทธิพลของพม่าท่ี แพรก่ ระจายอยูใ่ นดนิ แดนล้านนา) จังหวัดตากนั้นมีแม่น้าปิงไหลผ่าน โดยเฉพาะแม่น้าปิงช่วงท่ีไหลผ่านหน้าเมืองตาก ชาวตากเช่ือว่าสวยงามย่ิง กว่าท่อี ่ืนๆ เพราะนา้ ปิงช่วงนเี้ ป็นหาดทราย และทิวทศั น์เบื้องหลังเป็นทิวเขา ชาวจงั หวัดจึงใชส้ ถานท่แี หง่ นใี้ นการลอย กระทงด้วย กำหนดงำน วนั ขนึ้ ๑๕ ค่า เดอื น ๑๒ ของทุกปี สามารถตรวจสอบรายละเอยี ดได้ท่ี กจิ กรรม / พธิ ี เม่ือถึงเวลาค่าคณะศรัทธาท่ีจากคุ้มหมู่บ้านต่างๆ จะพากันแห่แหนขบวนกระทงของตนมายังจุดเริ่มต้นปล่อย กระทงสาย อันเป็นสะพานไม้เล็กๆ ท่ีเชิงสะพานแขวน โดยแห่แหนมาพร้อมกับมีการบรรเลงดนตรี (แตรวง) เป็นที่ สนกุ สนาน สิง่ ที่สาคัญท่ีสุดของคณะศรัทธาที่นามาคือ \"กระทงผ้าป่า\" หรือแพผ้าป่านา้ บางคณะทาจากต้นกล้วย ประดับ ด้วยดอกไม้ธูปเทียน ธงทิวหลากสี ในแพหรือกระทงบรรจุหมากพลู บุหร่ี ขนม ผลไม้ โดยเจตนาเพ่ืออุทิศให้กับคน ยากจนท่เี ก็บกระทงน้ีไปได้และบางคณะกระทงผ้าปา่ หรือแพผ้าป่านา้ จะจัดเปน็ แพสวยงามประดบั ตะเกยี งไฟ ส่วนกระทงสายท่ีทุกคณะจะนากะลามะพร้าวจานวนมาก คณะละนับพันใบ กะลาเหล่านี้จะนามาทาเป็นตัว กระทง มีไส้เป็นมะพร้าวแห้งชุบน้ามันหรือข้ีเถ้า เพื่อให้ติดไฟได้ดีและทนทาน ในอดีตกระทงสายทาจากใบพลับพลึง ออ่ นสีขาว เย็บเป็นรูปกระทง ไส้กระทงทาด้วยเชอื กฟ่นั และใช้นา้ มันมะพร้าวเป็นเช้ือไฟ และเมื่อคณะตา่ งๆ นากระทง สายมาถึงจดุ แลว้ จะมีการรอ้ งราทาเพลง ทาให้ทวั่ บริเวณน้นั สนกุ สนานครึกคร้นื เปน็ อยา่ งย่ิง เมอ่ื ความมดิ เข้าปกคลุม แตต่ รงทีส่ ะพานแขวนนัน้ ประดับดว้ ยไฟสว่างไสว กระทงผ้าป่าหรอื แพผ้าป่าน้า จะถูก จุดไฟข้ึนกอ่ นเป็นอันดับแรก จากนั้นคณะศรัทธาจากหมู่บ้านต่างๆ ก็จะเตรยี มประจาที่เพื่อปล่อยกระทงสายออกไปให้ สวยงามทสี่ ุดเท่าทจ่ี ะทาได้
๗ ประเพณีภำคใต้ และวัฒนธรรมประเพณภี ำคใต้ ประวตั ิความเป็นมาของประเพณีชักพระ พทุ ธประวัตกิ ล่าววา่ วนั ท่ีพระองคเ์ สด็จลงมาจากสวรรคส์ ่มู นุษย์ โลก หลังจากเสดจ็ ข้นึ ไปเทศนา โปรดพระพุทธมารดา ณ สวรรค์ชน้ั ดุสติ ตลอดพรรษาคือ วันข้ึน ๑๕ ค่า เดอื น ๑๑ อนั เป็นวันสุดท้ายของพรรษาทรงเสด็จลงมาตามบันไดแก้ว, บันไดทอง, บนั ไดเงิน บนั ไดทั้ง ๓ ทอดลงมายังประตู นครสงั กสั สะ เมอ่ื เสด็จถึงประตเู มืองเป็นเวลาเชา้ ตรูข่ องวนั แรม ๙ คา่ เดือน ๑๑ อนั เป็นวันออกพรรษาพอดี พุทธบริษัททั้งหลายทราบข่าวต่างมาคอยต้อนรับเสด็จอย่างเนืองแน่น เพื่อจะคอยตักบาตร ถวาย ภัตตาหาร ดอกไม้ธูปเทียน ซ่ึงเป็นท่ีมาของประเพณี “ตักบาตรเทโว” ซ่ึงบางคนไม่สามารถเข้าถวายภัตตาหาร เพราะมีคนอยา่ งลม้ หลามท่ีจะถวายภตั ตาหาร ด้วยศรัทธาแรงกล้าของผู้ท่เี ข้าไมถ่ ึงพระพุทธองคจ์ ึงเกิดประเพณที า ขนมขึน้ ชนิดหน่ึง ห่อด้วยใบไม้ (ใบจาก ใบเตย) เรียก “ขนมต้ม” หรอื ห่อต้ม หรอื ห่อปัดก็เรียก สาหรับโยนและปา จากระยะห่างเข้าไปถวายได้ ซ่ึงความจริงอาจเป็นความสะดวกในการนาพาไปทาบุญ สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน และสะดวกต่อการนาพาไปกินเวลาหวิ ขณะลากพระ ตลอดจนการขวา้ งปาเลน่ กนั (เรยี กซัดตม้ ) ดังน้ันขนมต้มจึงถอื เป็นขนมหลัก เป็นเอกลักษณ์ประจาเทศกาล ดังมีคากล่าวว่า “เข้าษากินตอก ออกษา กินต้ม” คือ ขนมประเพณีประจาเทศกาลเข้าพรรษา คือ ข้าวตอก ส่วนเทศกาลออกพรรษา คือ ขนมต้ม ถือ ปฏิบัติมาแตโ่ บราณ วันข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ เป็นการทาบญุ ออกพรรษาตามปกติ บางวัดมีการตกั บาตรหน้าพระ ลากเพิ่มเป็นพิเศษ เรียก “ตักบาตรหน้าล้อ” ในตอนกลางคืนระหว่างท่ีมีพิธี “คุมพระ” (ประโคมพระลาก) อีก ด้วย พอถึงวันแรม ๑๑ ค่า เดือน ๑๑ อนั เปน็ วนั ออกพรรษา หลังจากทาบญุ ที่วัดตามปกติแลว้ จะมกี ารลากพระต่อ อกี ๑-๒ วัน อย่างสนกุ สนาน มีเพลงลากพระร้องเลน่ อกี ดว้ ย ประเพณลี ากพระของชาวภาคใต้มีอยู่ ๒ ประการ คือ ลากพระทางบก คือ การอัญเชิญพระพทุ ธรูปปางอุ้มบาตรขึ้นประดิษฐานบนนมพระ หรือบษุ บก แล้วแห่ แหน โดยการลากไปบนบก วัดส่วนใหญ่ที่ดาเนินการประเพณีลากพระวิธีนี้ มักต้ังอยู่ในที่ไกลแม่น้าลาคลองลาก พระทางน้า เป็นการอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรข้ึนประดิษฐานบนบุษบกในเรือ แล้วแห่แหนโดยการลากไป ทางน้า ประเพณีลากพระ ท่มี กั กระทาด้วยวธิ ีนี้ เปน็ ของวดั ทส่ี ว่ นใหญ่อยูใ่ กลแ้ ม่น้าลาคลอง กอ่ นถึงวันลากพระ คอื วันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ จะมี “การคมุ พระ” ท่วี ัด การคุมพระ คือ การตีตะโพน ประโคมก่อนจะถึงวันลากพระประมาณ ๑๐ – ๑๕ วัน เพื่อเป็นการเตือนให้ชาวบ้านทราบว่าจะมีการลากพระ เพอ่ื ปลุกใจชาวบ้านใหก้ ระตอื รือร้นร่วมพิธีลากพระ และเพ่ือชาวบา้ นจะได้มาช่วยกนั เตรียมการต่าง ๆ ลว่ งหน้า ผู้ คมุ พระได้แก่เด็กวัด และประชาชนท่ีอยู่ใกล้วัด การคุมพระจะมีท้งั กลางวันและกลางคืนติดต่อกันไปจนถึงวันลาก พระ
๘ ในช่วงท่ีมีการคุมพระ พระสงฆ์สามเณร และชาวบ้านจะช่วยกันเตรียมเรือพระ ซ่ึงถ้าเป็นเรือพระบก จะหมายรวมถึง “นมพระ” หรือบุษบก ร้านไม้ และ “หัวเฆ่” หรือไม้ขนาดใหญ่ สองท่อน ในปัจจุบันมักใช้ล้อเล่ือน หรือรถแทน “หัวเฆ่” ถ้าเป็นเรือพระน้า จะหมายถึง “นมพระ” ร้านไม้ และลาเรือ ซ่ึงอาจจะใช้ลาเดียวหรือนามาผูกติดกัน ๓ ลา การเตรยี มเรอื พระ จะต้องทาให้เสรจ็ ทนั วนั ลากพระ นอกจากการเตรยี มเรือพระแลว้ ในส่วนของชาวบ้าน ถา้ เปน็ การลากพระทางบก จะจัดเตรยี มขบวนผู้คนท่ีจะ ลากพระ อาจจะจัดให้มีกลุ่มคนจานวนหนึ่ง เตรียมชุดเครื่องแต่งตัว เพื่อลากเรือพระ หรือมีชุดรา ฟ้อนหน้าเรือพระ แต่ถ้าเป็นการลากพระทางน้า ชาวบ้านจะเตรียมการตกแต่งเรือพาย สรรหาฝีพาย ซ้อมเรือแข่งและเตรียมเคร่ือง แต่งตัวตามที่ตกลงกนั นอกจากนี้ ส่ิงท่ีทุกครอบครัว จะต้องทา คือ การเตรียม “แทงต้ม” หรือ “ทาต้ม” หรือ “ขนมต้ม” โดยต้อง เตรียมหายอดกระพ้อไว้ให้พร้อมก่อนถึงวันลากพระ ๒-๓ วัน นาข้าวสารเหนียวแช่ให้อ่อนตัว แล้วผัดด้วยน้ากระทิให้ พอเกือบสกุ จึงนามาหอ่ ด้วยใบกะพ้อเป็นรูป ๓ มุม คล้ายฝักกระจบั แต่ละลูกมขี นาดโต-เล็ก ตามแต่ต้องการและตาม ขนาดของใบกะพ้อ เม่ือห่อเสร็จนาไปนึ่งให้สุกอีกทีหนึ่ง การทาต้มดังกล่าว เพื่อใชใ้ ส่บาตรหรอื แขวนเรือพระเป็นพุทธ บชู า การลากพระเร่ิมในตอนเช้าตรู่ของวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ อันเป็นวันออกพรรษา และเร่ิมลากพระเป็นวัน แรก ประชาชนจะเดินทางไปวัดเพือ่ นาภัตตาหารไปใส่บาตร ที่จัดเรยี งไว้ตรงหน้าพระลาก บางทีจะอาราธนาพระลาก ขึ้นประดิษฐานบนนมพระ หรือบางทีรอใหพ้ ระฉันภัตตาหารเช้าเสียก่อนจึงอาราธนาก็ได้ การตักบาตรตอนเช้าตรู่วันนี้ บางท้องท่ี เรียกว่า “ตักบาตรหน้าล้อ” ในบางท้องที่ท่ีวัดส่วนใหญ่อยู่ริมแม่น้าลาคลอง ทางวัดจะเตรียมรับภัตตาหาร ด้วยการสร้างศาลาเล็ก ๆ เสาเดียวไว้ริมน้าหนา้ วดั หรอื ถ้ามีศาลาหน้าวัดจะนาบาตรสาหรับรบั อาหารไปวางไว้ เพื่อให้ ประชาชนนาอาหารไปใสบ่ าตร ศาลาท่ีต้ังบาตรเพอ่ื รบั ภตั ตาหารนี้ เรยี กว่า “หลาบาตร” เมื่อพระฉนั ภตั ตาหารเสร็จแลว้ ชาวบ้าน จะนมิ นต์ พระภิกษใุ นวัดน้ี ขนึ้ น่ังประจาเรอื พระ พร้อมทง้ั อุบาสก และศษิ ย์วดั ทีจ่ ะตดิ ตาม และประจาเคร่ืองประโคม โพน ฆ้อง โหมง่ ฉิ่ง ฉาบ แล้วชาวบา้ นจะชว่ ยกนั ลากเรือพระ ออก จากวดั ต้งั แต่เชา้ ตรู่ ถ้าเปน็ การลากพระทางน้า จะใชเ้ รือพายลาก ถา้ เปน็ การลากพระทางบก จะใช้คนเดนิ ลาก เรือพระที่ลากเกือบทุกท้องถ่ินนยิ มกาหนดให้มีจุดหมาย หรือทช่ี ุมนุมเรือพระ ทงั้ การลากพระทางบก และการ ลากพระทางนา้ เรือพระท้ังหมดในละแวกใกลเ้ คียงกันจะไปยังทีช่ มุ นุมในเวลาก่อนท่ีพระฉันเพล เพ่อื ใหป้ ระชาชนได้มี โอกาส “แขวนตม้ ” และถวายภตั ตาหารแก่พระภิกษุ-สามเณรได้ท่ัวทุกวัด หรอื มากท่สี ดุ เทา่ ทจี่ ะทาได้ ทช่ี มุ นมุ เรือพระ จงึ เป็นท่รี วมของประชาชนจานวนมากท่ีมารว่ มงาน
ประเพณีแขง่ เรอื หนำ้ พระที่น่งั จังหวดั นรำธิวำส ๙ “สสี ันเรือกอและอันคงเอกลักษณ์ จากวถิ ีชวี ิตชาวประมงนาสู่ประเพณที ้องถ่ิน เหล่าฝีพายนับสิบประจาในลา เรือ จากน้ันจึงจ้าพายสู่หลักชัย ใครเร็วกว่าคือผู้ชนะ เสียงปรบมือโห่ร้องส่งกาลังใจจากกองเชียร์ดังรอบ ภาพ บรรยากาศประเพณแี ข่งเรือหน้าพระทน่ี ั่ง และงานของดเี มืองนรา จึงเต็มไปด้วยสีสันเช่นความงามของลาเรือ” ชว่ งเวลา ประเพณีการแข่งเรือกอและและเรือยาวด้วยฝีพายหน้าพระท่ีนั่ง ได้จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในระหว่าง วันท่ี ๒๑-๒๕ กันยายน ซ่ึงเป็นระยะเวลาที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พร้อมดว้ ยพระบรมวงศานุวงศ์ ได้เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ พระตาหนกั ทักษิณราชนเิ วศน์ เม่ือคร้ังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จ แปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ พระตาหนักทักษิณราชนิเวศน์ ทรงเสด็จออกเย่ียมราษฎร เพื่อรับฟังปัญหาความ ทกุ ข์ร้อนของประชาชน เป็นท่ีมาของโครงการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ช่วยให้ประชาชนได้ใช้ชีวติ อย่างมี ความสุข ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ชาวนราธิวาสจึงได้นาเอาการแข่งขันเรือกอและประเพณีไทยอันเก่าแก่ถวาย ทอดพระเนตรเพื่อเทิดพระเกียรติในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้น นาไปสู่การปฏิบัติตามประเพณีซึ่งเร่ิมจางหายไปให้ กลับมาดารงอยู่อีกคร้ัง การแขง่ ขันประเพณีแขง่ เรือหนา้ พระทีน่ ่ังน้ัน จะมีขน้ึ ในชว่ งฤดนู ้าหลากเปน็ โอกาสในการประชนั ความแขง็ แกร่ง ของผู้คน จากการเป็นฝีพาย โดยจะมีฝพี ายจากท่ัวหมู่บา้ นและตาบล ชาวประมงบางกลุ่มจะจะนาเรือกอท่ีหลากหลายสี ทลี่ อยลาเป็นระนาบเดียวกันบนผืนน้า แล้วนามาพายแข่งกันดว้ ยความสามัคคีจากฝีพายทุกคน เพื่อมุ่งหน้าไปยังเส้นชัย ด้วยจังหวะที่พร้อมเพียงกัน การแข่งขันใช้เรือกอและระยะทาง ๖๕๐ เมตร จะมีผู้ควบคุมลาละ ๑ คน จานวนฝีพาย รวมทั้งนายท้ายไม่เกินลาละ ๒๓ คน และมีฝีพายสารองไม่เกินลาละ ๕ คน การเปลี่ยนตัวในแต่ละเท่ียวทาได้เท่ียวละไม่ เกิน ๕ คน ท้ังน้ีให้ผู้ควบคุมทีมประจาเรือแจ้งให้คณะกรรมการปล่อยเรือทราบ เรือท่ีเข้าแข่งขันทุกลาต้องถึงจุดเริ่มต้น หรือจุดปล่อยเรือ ก่อนเวลาที่กาหนดแข่งขันในรอบนั้น หากไปช้าเกิน ๑๕ นาทีถือว่าสละสิทธ์ิจะปรับแพ้ในรอบน้ันได้ ก่อนการไดย้ นิ สัญญาณ ณ จุดเร่มิ ตน้ ฝีพายทกุ คนยกพายให้พ้นผิวน้า ยกเวน้ นายท้ายเรือใหใ้ ช้พายคดั ท้ายเรือบังคบั เรอื ให้ หยุดน่ิง และจะต้องวิ่งในลู่ของตน หากว่ิงผิดลู่หรือสายน้าถือว่าผิดกติกาให้ปรับเป็นแพ้ในเที่ยวนั้น เรือท่ีเข้าถึงเส้นชัย ก่อนลาอื่นโดยถือหัวเรือสุดเป็นการชนะการแข่งขันในเที่ยวนนั้ การแข่งขนั แบ่งเป็น ๔ รอบ รอบที่ ๑ และรอบที่ ๒ เป็น รอบคัดเลอื ก รอบท่ี ๓ เป็นรอบรองชนะเลศิ และรอบที่ ๔ เปน็ รอบชงิ ชนะเลิศ
ทำบุญวันสำรทเดือนสิบ (ภำคใต้) ๑๐ ควำมเป็นมำ / ควำมสำคญั ประเพณีทาบุญวันสารทเดือนสิบ ถือเป็นงานบุญประเพณีท่ีสาคัญในภาคใต้ของไทย ไม่ว่าลูกหลานหรือญาติพ่ี น้องของคนในครอบครัวจะไปทางานอยู่แห่งหนตาบลใดของประเทศไทย มักจะต้องลางานหรือหยุดงานเดินทางกลับ บ้านเกดิ เพื่อมากราบไหวพ้ ่อแม่ ปู่ยา่ ตายาย และผู้ท่ีเคารพนับถอื เพ่ือแสดงออกถึงความกตัญญรู คู้ ุณรวมทั้งจะได้ทาบุญ ให้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และอยู่ร่วมกันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตาของคนในครอบครัวและมีการพบปะสังสรรค์ฉลองกันด้วย นักว่าเป็นช่วงท่ีครอบครัวมคี วามอบอุ่นท่ีสุด ช่วงเวลาในการทาบญุ เรียกว่า \"บุญหลังหรือบุญใหญ่\" ตรงกับแรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๐ ประเพณีบุญสารทเดือนสิบ มีการสืบทอดกันมายาวนานหลายร้อยปี ซึ่งได้รับอิทธิพลด้านความเช่ือท่ีมาจาก ศาสนาพราหมณ์โดยมีการผสมผสานกับความเช่ือทางพระพุทธศาสนา ที่เข้ามาในภายหลังโดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อ เป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติท่ีล่วงลับ ซึ่งได้รับการปล่อยตัวมาจากนรกเนื่องจากผล กรรมที่ตนได้เคยทาไว้ตอนทีย่ ังมีชีวิตอยู่โดยจะเริ่มปล่อยตัวจากนรกในทุกวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๐ เพ่ือมายังโลกมนุษย์ ในการมาขอรับส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้อง ที่ได้เตรียมการอุทิศไว้ให้เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ล่วงลับ หรอื ท่ีเรยี กกนั ว่า \"วันรบั ตายาย\" หรือเป็นวนั บญุ แรก หลงั จากน้ันกจ็ ะกลบั ไปยังนรกในวนั แรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๐ \"วนั ส่ง ตายาย\" หรือเป็นวันบุญหลังหรอื บุญใหญ่ ซึ่งวนั นม้ี ีแหก่ ระจาดทีม่ ีการบรรจุขนมเดือนสิบ อาหารแห้ง ของใช้ ผลไม้ และ อ่ืนๆ พร้อมภัตตาหาร (ปิ่นโต) ไปวัด เม่ือกระจาดถึงวัดแล้ว ก็จะร่วมกันประกอบพิธีทางศาสนา ถวายภัตตาหารแก่ พระสงฆ์ เสร็จแล้วจะร่วมกัน \"ตั้งเปรต\" เพ่ือแผ่ส่วนบุญกุศลให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว โดยอาหารท่ีจะตั้งเปรตน้ัน จะเป็น ขนมเดือนสบิ ทงั้ ๕ หรอื ๖ อยา่ ง รวมถึงอาหารอ่ืนๆ และผลไม้ที่บรรพชนชอบต้ังเปรตเสรจ็ แลว้ พระสงฆ์จะสวดบงั สกุล โดยจับสายสิญจ์ท่ีผูกไว้กับหลาเปรต เม่ือพิธีสงฆ์เสร็จส้ิน ผู้คนจะร่วมกัน \"ชิงเปรต\" ทั้งน้ีนอกจาก เพื่อความสนุกสนาน แลว้ ยังมคี วามเชื่อวา่ หากใครได้กินอาหารบนหลาเปรตจะได้รับกศุ ลแรง เป็นมงคลแก่ตนเองและครอบครวั หลังเสรจ็ ส้ิน การชิงเปรตแล้วส่วนหน่ึงก็จะรบั ประทานอาหารเท่ียงรว่ มกันที่วัดหรอื ต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้านด้วยใจท่ีอิม่ บุญ ในช่วง เทศกาลประเพณีบุญสารทเดือนสิบนี้เอง อาเภอกะปง จังหวัดพังงา ได้จัดงานประเพณีทาบุญสารทเดือนสิบขึ้นอย่าง ยิ่งใหญ่เป็นประจาทุกปี โดยกาหนดจัดงานก่อนวันทาบุญหลัง ๒-๓ วัน (๑๕ ค่า เดือน ๑๐) จานวน ๒ วัน ๒ คืน ณ สนามกีฬากลางหน้าท่ีว่าการอาเภอปะกง และบริเวณศาลาเอนกประสงค์เทศบาลตาบลท่านา เพ่ือส่งเสริมและสืบสาน เอกลกั ษณ์วฒั นธรรมประเพณขี องท้องถิ่นให้คงอยสู่ ืบไป เพือ่ เสรมิ สร้างความกตัญญกู ตเวทีต่อบรรพชนและความสามคั คี ในหมู่คณะ สาหรับกิจกรรมในงาน ประกอบด้วย พิธีบวงสรวงพระนารายณ์พิธีสมโภชกระจาด การประกวดตกแต่ง กระจาดและขบวนแห่ การประกวดธิดาวันสารท การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่งและหนูน้อยแดนเซอร์ การประกวดทา ขนมเดือนสิบภาคนักเรียน และประชาชน การประกวดทาขนมกาละแม การแข่งขันชกมวยไทยการจัดนิทรรศการและ จาหน่ายผลิตภณั ฑพ์ ้ืนบ้าน การแสดงทางศลิ ปวฒั นธรรมของนกั เรยี นและกลุ่มแมบ่ า้ น เป็นตน้
อตั ลกั ษณ์ท่โี ดดเดน่ ๑๑ กิจกรรมท่ีถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของประเพณีวันสารทเดือนสิบของอาเภอกะปง คือกิจกรรมการแห่ กระจาด จงึ ถือเปน็ เอกลกั ษณ์ทแ่ี ตกต่างจากวันสารทเดอื นสิบของจงั หวัดอนื่ ๆ ในภาคใต้ ชาวบา้ นทุกหมู่บา้ นในอาเภอ กะปง นาโดย ผู้นาท้องถ่ิน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกตาบล ร่วมกันจัดทากระจาดประดับประดา ตกแต่ง อย่างสวยงามหลังจากเสร็จภารกิจในการทางานของแต่ละครอบครัวในแต่ละวันแล้ว ชาวบ้านก็จะมารวมตัวกันท่ี ศาลาเอนกประสงค์ของหมู่บ้านแตล่ ะหมบู่ ้านเพ่อื ร่วมกันจัดทากระจาด บ้างก็จดั ทากระจาด บา้ งก็จัดทาอาหาร บา้ งก็ ร้องราทาเพลง กันอย่างสนุกสนาน ซ่ึงแสดงออกให้เห็นถึงความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชนนอกจากจะมีการ ประกวดการตกแต่งกระจาดแล้ว ยงั มกี ารประกวดขบวนแห่ดว้ ย ควำมสำคญั และคณุ คำ่ ทำงสังคมและทำงจิตใจ ประเพณีสารทเดือนสิบมีสาระสาคัญและคุณค่าทางสังคม จิตใจ และวิถีการดาเนินชีวิตของสังคมหลาย ประการ คือ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษ โดยราลึกถึงคุณความดีของบรรพบุรุษทล่ี ่วงลับไปแล้ว ท่ี ได้เลีย้ งดูลกู หลานและใหก้ ารศกึ ษาอบรมเป็นอยา่ งดี เพื่อตอบแทนบญุ คณุ ดังกล่าวลกู หลานจงึ ทาบญุ อทุ ิศส่วนกศุ ลไป ให้ เป็นการเปิดโอกาสได้รวมญาติทอ่ี ยู่ห่างไกล ได้มาพบปะซักถามสารทกุ ข์สกุ ดบิ ตอ่ กัน และได้มโี อกาสทาบุญรว่ มกัน เป็นการสร้างความสนิทสนมกลมเกลียวในหมู่ญาติ สร้างความสบายใจที่ได้ทาบุญ เป็นการเก็บพืชผลทางการเกษตร ของตนไปทาบุญถวายพระ เพราะชาวบ้านอาเภอกะปง จังหวัดพังงา มีอาชีพทางการเกษตรในชว่ งปลายเดือนสิบเป็น ระยะท่ีพืชพันธุ์ต่างๆ กาลังออกผล จึงได้เก็บพืชผลไปทาบุญอันเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว เป็นการเก็บ เสบยี งอาหาร มที ้ังพชื ผัก อาหารแห้ง อาหารสาเร็จรูป จัดนาไปถวานในรูปรบั หรือสารับ เพ่ือท่ีทางวดั จะได้เก็บรักษา ไว้เป็นเสียงสาหรับพระภิกษุสงฆ์จะบิณฑบาตด้วยความยากลาบากเป็นการจัดงานรื่นเริงสนุกสนานประจาปี งานร่ืน เริงจัดข่ึนเพราะความภาคภูมิใจ ความสุขใจ ความอ่ิมใจ ท่ีได้ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษญาติมิตรที่ล่วงลับไป และเป็นการทาบุญในโอกาสท่ีได้รับผลผลิตทางการเกษตรและช่ืนชมในผลผลิตที่ได้รับได้ร่วมกันจัดงานรื่นเริงเพื่อ เฉลิมฉลองร่วมกัน งานเพื่อเฉลมิ ฉลองประเพณีสารทเดอื นสิบของชาวอาเภอกะปง ซ่ึงนบั เป็นงานมหกรรมอันย่ิงใหญ่ งานหนงึ่ ของชาวจงั หวดั พงั งา
๑๒ ประเพณตี กั บำตรธปู เทยี น ประเพณีตักบาตรธูปเทียนคือการถวายธูปเทียนแด่พระสงฆ์ ซึ่งประเพณีตักบาตรธูปเทียนถือเป็นส่วน หนึ่งของการถวายสังฆทานในวันเข้าพรรษา ช่วงวันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ซ่ึงการตักบาตรธูปเทียนจะมีขึ้นที่วัดพระ มหาธาตุวรมหาวิหาร จงั หวัดนครศรีธรรมราชเพียงแห่งเดียว แต่ปรากฏว่าเคร่ืองสังฆทานท่ีชาวบ้านนามาถวายนั้น มากเกินความจาเป็น จึงไดอ้ าราธนาพระสงฆ์จากวดั ตา่ งๆ มารับเครอ่ื งสังฆทานน้ัน ประเพณีตกั บาตรธปู เทียนมีพิธกี รรมโดย นิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากวัดอน่ื ๆ ยืนเรยี งแถวท่หี น้าวิหาร และชาวบา้ น จะนาเครื่องสังฆทานพร้อมท้ังดอกไม้ธูปเทียนท่ีเตรียมมาใส่ในย่ามพระ เม่ือเสร็จแล้วชาวบ้านจะทาการจุดเปรียง (การจุดเปรยี งคือ การนาน้ามนั มะพร้าวใส่ในเปลือกหอยพร้อมด้วยด้ายดบิ และจุดไฟท่ีด้ายเพื่อให้ไฟสว่างไสวไปท่ัว ท้ังวดั ) ตามหน้าพระพุทธรปู และลานเจดยี ภ์ ายในวดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร “แต่ปจั จุบันประเพณตี กั บาตรธปู เทียนได้เปล่ยี นแปลงไปจากเดมิ บา้ ง เช่น แตเ่ ดิมชาวบา้ นจะเตรียมดอกไม้ ธูปเทียนมาเอง แต่ปัจจุบันดอกไม้ธูปเทียนจะมีวางขายทั่วไป หรือเม่ือก่อนพระสงฆ์จะเข้าแถวรับบาตรแต่เฉพาะ บริเวณหน้าวิหาร แต่ในปัจจุบันได้ขยายพื้นท่ีไปถึงหน้าวัด เม่ือคร้ังอดีตหลังจากใส่บาตรเรียบร้อยแล้วจะมีการจุด เปรียง แตป่ จั จบุ นั ไดเ้ ปล่ยี นมาจดุ เทยี นไขแทน เพราะการจุดเปรยี งทาใหเ้ กดิ ไปไหม้อยู่บอ่ ยครงั้
๑๓ ประเพณีภำคกลำงและวฒั นธรรมภำคกลำง ประเพณีตกั บำตรดอกไม้ เป็นประเพณีที่สาคัญท่ีอยู่คู่กับวัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหารมาช้านานพี่น้องประชาชนชาวอาเภอพระ พุทธบาทและพ้ืนท่ีใกล้เคียง จะถือเอาวันเข้าพรรษาของทุกปี (ตรงกับวันแรม ๑ ค่า เดือน ๘) เป็นวันตักบาตรดอก เข้าพรรษามาโดยตลอด เพ่ืออนุรักษ์และส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถ่ิน กระทั่งมาเป็นประเพณีของ จังหวัดสระบุรี และปัจจุบนั เป็นประเพณีระดบั ประเทศ ได้ชื่อว่า “เป็นประเพณหี น่ึงเดียวในโลก” โดยเดมิ จดั งานเพยี ง ๑ วนั แต่เนือ่ งจากพทุ ธศาสนิกชนมาร่วมทาบุญตกั บาตรเพมิ่ ขนึ้ เป็นจานวนมาก ทางจงั หวดั สระบรุ ีจึงได้เพิ่มจานวน วันตักบาตร จาก ๑ วัน เป็น ๓ วัน มีพิธีตักบาตรดอกเข้าพรรษาวันละ ๒ รอบคือรอบเช้าเวลา ๐๙.๐๐ น. และรอบบ่าย เวลา ๑๕.๐๐ น. เทศบาลเมอื งพระพทุ ธบาทได้จดั งานประเพณีตักบาตรดอกเขา้ พรรษา และถวายเทยี น พระราชทานเป็นประจาทุกปี ณ วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร โดยในปี ๒๕๖๐ จะจัดข้ึนในระหว่างวันท่ี ๗ - ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐ จึงขอเชญิ ชวนพ่ีนอ้ งประชาชน นักท่องเท่ียวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ มาร่วมงานประเพณี ตักบาตรดอกเข้าพรรษาประจาปี ๒๕๖๐ ซ่ึงนอกจากท่านจะได้บุญกุศลอันยิ่งใหญ่กับการถวายดอกเข้าพรรษาแด่ พระภิกษุสงฆ์ท่ีเดินรับบิณฑบาตจากพุทธศาสนิกชนแล้ว พระภิกษุสงฆ์จะนาดอกเข้าพรรษาไปสักการะรอยพระพุทธ บาท อันจะส่งผลบญุ กศุ ลให้ผทู้ าบุญตักบาตรไดข้ ้ึนสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ ประวตั งิ ำนตกั บำตรดอกเข้ำพรรษำ ความเป็นมาของการตักบาตรดอกเข้าพรรษานั้น มีแจ้งในพุทธตานานว่า นายมาลาการ เป็นผู้ทาหน้าท่ีนา ดอกมะลิสดไปถวายพระเจ้าพิมพิสาร พระราชาแห่งเมืองราชคฤห์ เป็นประจาทุกวัน มาวันหน่ึงขณะท่ีนายมาลาการ ออกไปเก็บดอกมะลิอยู่ในสวน องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ กาลังเสด็จออกบิณฑบาต ผ่านมา นายมาลาการเห็นดังน้ันจงึ เกิดความเล่ือมใสศรทั ธาตอ่ พระพทุ ธองค์จงึ นาดอกมะลิ ๘ กามือ ไปถวายพระพทุ ธ องค์ พระเจ้าพิมพิสารราชา ทรงทราบข่าวว่า พระศาสดาเสด็จออกบิณฑบาตมาถึงใกล้ๆ พระราชวังจนนายมาลา การได้พบ และถวายดอกมะลิบูชา พระราชาจึงเสด็จพระราชดาเนินไปถวายบังคมต่อพระศาสดา แล้วตามเสด็จพระ ศาสดาไปด้วยความเลื่อมใสศรัทธา พระเจ้าพิมพิสารเลยบาเหน็จรางวัลความดีความชอบ และพระราชทานสิ่งของทั้ง ปวงให้กับนายมาลาการ นบั แต่นั้นมานายมาลาการกอ็ ยอู่ ย่างร่มเยน็ ปราศจากทุกข์ใดๆ ทั้งปวง ด้วยอานิสงส์ของการ นาดอกมะลิบูชา แด่พระองคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าแทนการตักบาตร จากอานิสงส์ดงั กล่าวแต่คร้ังพทุ ธกาล ชาว พทุ ธทวั่ ไปจึงถอื เป็นประเพณี “ตกั บาตรดอกเขา้ พรรษา” เป็นประจาทกุ ปตี ลอดจนกระทง่ั ถงึ ปัจจบุ ัน
๑๔ ประวตั ิดอกเข้ำพรรษำ วันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ของทุกปี เป็นวันเข้าพรรษา ชาวอาเภอพุทธบาทจะนาดอกไม้ชนิดหน่ึงใช้ตัก บาตรจนกระทั่งเกิดเป็นประเพณีท้องถิ่น ดอกไม้ที่นามาใช้ตักบาตรในประเพณีน้ี เรียกกันว่า “ดอกเข้าพรรษา” หรือ “ดอกหงส์เหิน” เพราะลักษณะของดอกและเกสรประดุจดังตัวหงส์ที่กาลังเหินบินด้วยท่วงท่าลีลาอันสง่า งามนน่ั เอง หงสเ์ หิน (Globba Winiti) เป็นพืชจัดอย่ใู นวงศ์ขิง เป็นไมด้ อกเมืองร้อน เกิดข้นึ ในปา่ ร้อนชืน้ ซ่งึ พบได้ใน ประเทศไทย พม่า และเวียดนาม ต้นหงส์เหิน หรือต้นเข้าพรรษาเป็นไม้ล้มลุก มีสีเหลืองสดใส มีกลีบประดับ ขนาดใหญ่ตามช่อโดยรอบ จากโคนถึงปลาย สขี องกลีบประดับมีหลายสี เชน่ สเี หลือง สีขาว และสมี ่วง ซึ่งแตล่ ะ สีมีความเช่ือดังต่อไปน้ี ♦ สีขาว หมายถงึ ความบรสิ ทุ ธแิ์ ห่งพระพุทธศาสนา ♦ สเี หลอื ง หมายถงึ สแี หง่ พระสงฆ์ ♦ สีม่วง หมายถึง เป็นสีที่หายากท่ีสดุ และชาวอาเภอพระพทุ ธบาทเชื่อว่าการใส่บาตรด้วยดอกสมี ่วงได้บุญ กศุ ลแรงท่สี ุด เมื่อพระสงฆ์ได้รับบิณฑบาตแล้ว ก็จะนาไปสักการะรอยพระพุทธบาท อันจะส่งผลบุญให้ผู้ทาบุญตัก บาตรได้ข้ึนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ดอกเข้าพรรษา หรือดอกหงส์เหิน ๑ ปี จะออกดอกเพียงครั้งเดียว เฉพาะช่วง เทศกาลเข้าพรรษาเท่าน้ันในท้องท่ีอาเภอพระพุทธบาท พบว่ามี ๒ สกุล ได้แก่ สกุลกระเจียว มีดอกสีขาว หรือ ขาวอมชมพู และสกุลหงส์เหิน เมื่อถึงวันเข้าพรรษา วันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ของทุกปี ชาวอาเภอพระพุทธบาท จะพากันไปเกบ็ ดอกเข้าพรรษาตามไหล่เขาโพธิลังกา หรือเขาสวุ รรณบรรพต เทอื กเขาวงและเขาพุ ในเขตอาเภอ พระพุทธบาท นามาจดั รวมกับธปู เทยี น เพ่อื ตกั บาตรถวายพระ จงั หวัดสระบรุ นี ้ีได้จัดพิธตี ักบาตรดอกเขา้ พรรษา ณ วดั พระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร พระอารามหลวง ตไบลขนุ โขลน อาเภอพระพุทะบาท จังหวดั สระบุรี เปน็ สถานที่ประดิษฐาน “รอยพระพุทธบาท” อันศักด์ิสทิ ธิ์ ที่ พทุ ธศาสนิกชนให้ความเคารพบูชา มีความเชอื่ ในคติชาวลังกาว่า พระพุทธเจ้าได้ประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ๕ แห่ง และรอยพระพุทธบาทที่วัดพระพุทธบาทแห่งนี้ เป็น ๑ ใน ๕ แห่ง รอยพระพุทธบาทถูกค้นพบในสมัยพระ เจ้าทรงธรรม
๑๕ ประเพณีตกั บำตรเทโว การตักบาตรเทโวเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ตักบาตรเทโว หรือเรียกว่า การตักบาตรเทโว โรหณะ ซ่ึงคาว่า \"เทโว” ย่อมาจาก \"เทโวโรหณะ” แปลวา่ การเสด็จจากเทวโลก การตักบาตรเทโวจงึ เปน็ การระลกึ ถึง วนั ท่ีพระพทุ ธองค์เสด็จกลับจากการโปรดพระพทุ ธมารดาในเทวโลก ประเพณกี ารทาบญุ กุศลเน่ืองในวนั ออกพรรษาน้ี ทกุ วดั ในประเทศไทย ก็จะมีการจดพิธกี ารตกั บาตรเทโวนี้ ตกั บาตรเทโว หรอื ตักบาตรเทโวโรหณะ เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ ช้ันดาวดงึ ส์ในเวลาเช้าวัน แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ หลังจากท่ีพระองค์ทรงจาพรรษาที่นั้นเป็นเวลา ๓ เดือน ความสาคัญของวันเทโวโรหณะ เป็น วันท่ีมีการทาบุญตักบาตรท่ีพิเศษวันหนึ่ง กล่าวคือ ในพรรษาหน่ึงพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปยังสวรรค์ชั้นดาวดึงส์แสดง พระอภิธรรมโปรด พระมารดา และทรงจาพรรษาที่นนั้ พอออกพรรษาก็เสด็จลงจากเทวโลกน้ันมายังโลกมนุษย์ โดย เสด็จลงท่ีเมืองสังกัสส์ ใกล้เมืองพาราณสี ชาวบ้านชาวเมืองทราบข่าวก็พากันไปทาบุญตักบาตรพระพุทธองค์ท่ีนั้น และเป็นการรับเสด็จพระพุทธองค์ด้วย กล่าวกันว่า ในวันน้ีได้เกิดเหตุอัศจรรย์ คือ เทวดา มนุษย์ และสัตว์นรก ต่าง มองเห็นซึ่งกนั และกนั จึงเรยี กวนั นี้อีกช่ือหนง่ึ ว่า \"วันพระเจ้าเปดิ โลก” คือ เปิดให้เห็น กนั ท้งั ๓ โลกนั้นเอง การตักบาตรรับเสดจ็ พระพุทธเจ้าได้ปฏบิ ัติสืบเนื่อง ต่อกันมาเป็นประเพณี จนถงึ เมืองไทย จึงเรียกประเพณี นี้ ว่า การตกั บาตรเทโวโรหณะ เพ่ือใหส้ ะดวกในการส่ือความหมายนิยมส้ันๆ ว่า การตักบาตรเทโว ด้วยเหตุน้ี วนั เทโว โรหณะจึงเรยี กอกี ชื่อหนึง่ ว่า วันตักบาตรเทโว และเมื่อถึงวนั ตักบาตรเทโว พุทธศาสนกิ ชนนยิ มไปทาบุญตักบาตรกนั ท่ี วัด โดยแต่ละที่จะเตรียมของไปทาบุญ ในแบบท่ีอาจตะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับท่ีสัดในแต่ละท่ี เช่น เตรียมอาหารใน ตอนเช้า อาหารท่ีเตรียมเพื่อตักบาตรเป็นพิเศษในวันน้ี คือ ข้าวต้มมัด และข้าวต้มลูกโยน วัดบางวัดอาจจะจาลอง สถานการณ์วันท่ี พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลกช้ันดาวดึงส์ คือ ประชาชนจะนั่งหรือยืนสองฝั่งทางลงจากอุโบส ถ หรือศาลา ให้พระสงฆ์เดินเข้าแถวเรียงลาดับรับบาตรตรงกลาง โดยมีมัคนายก เดินอัญเชิญพระพุทธรูปนาหน้าแถว พระสงฆ์ หลักจากตักบาตรแล้ว มีการอาราธนาศีล สมาทานศีล และรักษาศีล ฟังธรรมและทาสมาธิตามโอกาส เพื่อ ทาให้จิตใจบรสิ ุทธิผ์ อ่ งใส แผเ่ มตตา และกรวดนา้ อุทิศสว่ นกุศลให้กับญาติ ผลู้ ว่ งลับ และสรรพสตั ว์ โดยในปีน้ีไดม้ ีการจัดงานตักบาตรเทโว ท่ี วัดสังกัสรัตนคีรี เขาสะแกกรัง อ.เมือง จ.อุทัยธานี โดยภายในงาน มี การแสดงแสง สี เสียง พร้อมรับประทานอาหารสารับคาว-หวาน พิธีตักบาตรเทโว ข้าวสารอาหารแห้ง ข้าวต้มลูก โยน การแสดงโต๊ะหมู่บูชาประดับงาช้าง ประเพณีตักบาตรเทโวท่ีวัดสังกสั รัตนคีรี จังหวัดอุทัยธานี เป็นงานประเพณี ท่ีเป็นเอกลักษณ์สาคัญของจังหวัด และจัดได้สอดคล้องกับตานานมาก โดยสมมติ ให้มณฑปท่ีประดิษฐานรอยพระ พุทธบาทจาลอง ซึ่งต้ังอยู่บนยอดเขาสะแกกรัง เป็น \"สิริมหามายากุฎาคาร” มีบันไดทอดยาวจากมณฑปลงสู่บริเวณ ลานวดั สังกัสรตั นครี ี ซึง่ อยเู่ ชิงเขาสะแกกรัง เปรียบเสมอื นบนั ไดทพิ ยท์ ่ที อดยาวจากสวรรค์ดาวดงึ ส์ สเู่ มอื งสังกสั นคร
๑๖ ประเพณรี บั บวั ประเพณีประเพณีรบั บวั เป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวอาเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ จัดขึ้นทุกวันข้ึน ๑๓ ค่า เดอื น ๑๑ ถงึ วันขนึ้ ๑๕ ค่า เดอื น ๑๑ มูลเหตุของการเกิดประเพณีรับบัวก็เน่ืองมาจากว่า แต่เดิมในอาเภอบางพลีจะมีประชากรอาศัยอยู่ ๓ กลุ่มคือ คนไทย คนรามัญ และคนลาว ต่อมาคนไทยทั้ง ๓ กลุ่ม ได้ตกลงกันว่าจะช่วยกันถากถางพงหญ้าให้เป็น พื้นทีท่ าไรท่ านา จนกระทง่ั คนไทยท้ัง ๓ กลุ่มไดถ้ างหญา้ มาถึง ๓ แยก ทุกคนตกลงกันว่าจะแยกไปคนละทาง โดย คนลาวไปทางคลองสลุด คนไทยไปทางคลองชวดลากหญ้า คนรามัญไปทางคลองลาดกระบัง ๒-๓ ปีต่อมา กลุ่ม รามัญท่ีย้ายไปอยู่ทางคลองลาดกระบังโดยหนูและนกทาลายพืชผลทางการเกษตรจึงต้องย้ายกลับมาอยู่ถิ่นฐาน เดิมคือท่ีปากลัด (พระประแดง) โดยเริมออกเดินทางในตอนเช้ามืดของวันข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ แต่ก่อนออก เดินทางพวกรามัญไดเ้ กบ็ ดอกบวั เพื่อนาไปบชู าพระคาถาพนั (เทศนม์ หาชาติ) ทีป่ ากลัด และได้ส่ังเสียพวกคนไทย บางคนที่ยังคงอาศัยอยู่ ณ คลองลาดกระบัง ว่าในปีต่อไปถ้าถึงวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ ให้ช่วยเก็บดอกบัวและ รวบรวมไวท้ ่วี ดั หลวงพ่อโตแลว้ พวกตนจะมารับ ครั้นถึงวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ คนไทยก็ได้เก็บดอกบัวและไปรวมไว้ที่วัดบางพลีใหญ่หรือวัดหลวงพ่อโตตามคา รอ้ งขอของชาวรามัญ การมาของชาวรามัญจะมาโดยเรือถึงประมาณตี ๓-๔ และทกุ ครั้งท่ีมาจะมีการร้องเพลงกัน อย่างสนุกสนานส่วนผทู้ ม่ี าคอยรบั กพ็ ลอยสนุกสนานไปดว้ ย “พิธีกรรมของประเพณีรับบัวจะเร่ิมต้นในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ โดยในตอนเย็นชาวพระประแดงและเพื่อน บา้ นใกล้เคียง จะลงเรือและร่องไปตามแม่น้าเจ้าพระยาบ้าง ตามคลองสาโรงบ้าง แต่ทุกคนจะมีจุดหมายเดียวกัน คือไปท่ีหมู่บ้านบางพลี โดยในเรือที่ร่องกันมานั่นจะมีเคร่ืองดนตรีนานาชนิด เช่น ปี่ ซอ แง แบ กรับ และกลอง เป็นต้น และทกุ คนจะร้องราทาเพลงกันอย่างสนุกสนาน ส่วนชาวบางพลีก็จะเตรียมดอกบัวและอาหารไว้ต้อนรับ แขกผู้มาเยอื น”
ประเพณตี ักบำตรพระรอ้ ย ๑๗ จะกระทากันในเทศกาลวันออกพรรษาต้ังแต่แรม 1 ค่า เดือน 11 เป็นต้นไป การตักบาตรพระร้อยนี้ ทางวัด ท่ีอยู่ตามฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาท้ังสองข้าง จะตกลงกันกาหนดแบ่งกันเป็นเจา้ ภาพเพ่ือไม่ให้ตรงกัน เพราะถา้ ตรงกันแล้ว จานวนพระที่มารับบาตรจะได้ไม่ครบ 100 รูป และต้องการให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายรู้กาหนดเวลา จะได้เตรียมจัด ทาอาหารหวานคาวไว้ทาบญุ ตักบาตรได้ถูกต้องด้วยงานประเพณีของชาวไทยเชอ้ื สายมอญโดยเฉพาะอย่างยิง่ ทอ่ี าเภอ สามโคกจงั หวัดปทมุ ธานีมีอยู่ไม่น้อยและยังคงอนุรักษ์สืบต่อกันมาอย่างเคร่งครัด และยังคงอนุรักษ์สืบต่อกันมาอย่าง เคร่งครัดจนถึงรุ่นปัจจุบันประเพณีตักบาตรพระร้อยเป็นประเพณีอันดีงามของการทาบุญเน่ืองในวันออกพรรษาท่ี ปฏิบัติสืบต่อกันมานานนับร้อยปีของชาวไทยเช้ือสายมอญประเพณีน้ีเริ่มต้ังแต่เทศกาลวันออกพรรษา แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ เป็นต้นไป ซึ่งในช่วงเดือนนี้เป็นช่วงน้าหลากล้นฝ่ังแม่น้าเจ้าพระยาน้าเปี่ยมตล่ิง การจัดการตักบาตรพระ ร้อยเป็นหน้าที่ของวัดที่ต้ังอยู่ริมฝ่ังแม่น้าเจ้าพระยาและริมคลอง แต่ก็ไม่ได้กาหนดไปเสียทุกวัด ส่วนใหญ่จะจัดให้มี การตักบาตรเฉพาะในวัดใหญ่ ๆ ตามที่ยึดถือกันมาแต่ด้ังเดิมเพราะว่าต้องนิมนต์พระภิกษุมาเป็นจานวนมาก ดังที่ เรียกว่า “พระร้อย” นนั่ เอง ด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของบรรดาพทุ ธศาสนิกชน การตักบาตรพระร้อยจึง เปน็ งานบุญท่ียง่ิ ใหญข่ องจังหวดั ปทมุ ธานี การกาหนดว่าวัดใดจะทาบุญตักบาตรพระร้อยในวนั ใดนั้น ไดก้ าหนดไวเ้ ปน็ ระเบียบ เช่น ท่ีจังหวัดปทุมธานี ไดก้ าหนดดังน้ีคือ วันแรม ๑ คา่ ทาบุญตักบาตรที่วัดมะขาม อ.เมือง และวดั เจดีย์ทอง อ.สามโคก วนั แรม ๒ ค่า ทาบญุ ตักบาตรทว่ี ดั หงษ์ปทมุ าวาส อ.เมือง วันแรม ๓ ค่า ทาบญุ ตกั บาตรทีว่ ัดสาแล อ.สามโคก วันแรม ๔ คา่ ทาบญุ ตกั บาตรทวี่ ดั บางหลวง และวัดบวั หลวง อ.สามโคก วันแรม ๕ คา่ ทาบุญตักบาตรทีว่ ดั โบสถ์ วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.เมอื ง วัดไผล่ ้อม อ.สามโคก วนั แรม ๗ ค่า ทาบุญตักบาตรทวี่ ัดสามคั คยิ าราม วัดบางนา อ.สามโคก และวดั บ่อทอง อ.ลาดหลมุ แกว้ วันแรม ๘ คา่ ทาบุญตกั บาตรที่วัดดาวเรือง วดั ชินวราราม อ.เมอื ง และวัดเขียนเขต อ.ธัญบรุ ี วนั แรม ๙ ค่า เดือน ๑๑ ตักบาตรพระร้อยและปดิ ทองพระวดั บางโพธเิ์ หนอื วันแรม ๑๐ ค่า เดอื น ๑๑ ตกั บาตรพระร้อยและปดิ ทองพระวดั บ้านพรา้ วใน วนั แรม ๑๑ คา่ เดือน ๑๑ ตกั บาตรพระร้อยและปดิ ทองพระวัดชยั สิทธาวาส วดั บ้านพรา้ วนอก อ.สามโคก และวัดบางขันธ์ วันแรม ๑๔ คา่ เดือน ๑๑ ตักบาตรพระร้อยและปดิ ทองพระวัดโพธเิ์ ลอ่ื น อ.เมือง
๑๘ เมือ่ ถงึ กาหนดตักบาตรพระร้อย ณ วดั ใด วัดน้ันจะเปน็ เจา้ ภาพเตรียมการต่างๆ ท่ีจงั หวัดปทุมธานี มัคนายก หรอื ชาวบา้ นที่อยใู่ กล้วดั จะมาชว่ ยนาเชอื กลงไปขึงแม่น้าเจา้ พระยาท้ังสองฝ่ังกบั บนั ไดขา้ ม ซงึ่ ใช้วัดทเ่ี ป็นเจา้ ภาพเป็น ศูนยก์ ลาง แล้วขงึ เชอื กตามรมิ ฝ่ังไปทางทศิ เหนือและทศิ ใตข้ องวดั ผา่ นหน้าบ้านของพุทธศาสนกิ ชนทอี่ ยู่รมิ ฝงั่ เป็นทาง ยาวเหยียด ผู้ที่จะทาบุญตักบาตรไม่ต้องเดินหรือไม่ต้องพายเรือเพียงแต่นั่งท่ีหัวบันไดหน้าบ้านของตนหรือน่ังบนเรือ หน้าบ้านที่อยู่ติดกับเชือกที่ขึงไว้ รอพระเพ่ือจะนาอาหารมาใส่บาตรเท่านั้น พอถึงเวลาท่ีกาหนด พระตามวัดต่างๆ จะนั่งเรือโดยมีศิษยว์ ัดหรือชาวบ้านมาช่วยพายเรอื ให้พระน่งั รับบาตร ซ่ึงพระท่ีนิมนต์มารบั บาตร จะมารวมกันท่ีวัดท่ี เป็นเจ้าภาพก่อน ถ้าวัดอยู่ไกลบางทีต้องมาค้างคืนที่วัดที่เป็นเจ้าภาพในครั้งนั้นๆ พอเช้าตรู่ของวันตักบาตรพระร้อย พระที่นิมนต์มารับบาตรจะจับฉลากหมายเลขแล้วก็จะพากันกลับวัดของตน ครั้นตกตอนบ่าย พุทธศาสนิกชนไม่ว่า เด็กหรอื วา่ ผู้ใหญ่จะพากันไปปดิ ทองนมสั การพระประธานในโบสถ์ หรือพระพุทธรปู ที่เช่ือกันวา่ ศักดิ์สิทธิ์ หรือปดิ ทอง รอยพระพุทธบาทซึ่งทางวัดจะจัดไว้ให้ เม่ือนมัสการและปิดทองพระเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะพากันลงเรือลอยไปตาม แมน่ า้ เจา้ พระยา
๑๙ ประเพณีภำคอสี ำนและวฒั นธรรมภำคอีสำน ชนพื้นเมืองถิ่นอีสานดารงชีวิตอย่างเรียบง่าย มีโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์บนพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมต่าง ๆ ของภาคอีสานเป็นการนาแนวความคิด ความศรัทธา และความเชื่อที่ได้ ส่ังสมและสืบทอดเป็นมรดกต่อกนั มา ตวั อย่างของวัฒนธรรมทางภาคอสี านทส่ี าคญั มดี ังน้ี ประเพณีบญุ บัง้ ไฟ เป็นหนึ่งในฮีตสบิ สองเดือนของชาวอสี าน นยิ มทากันในเดือน 6 หรอื เดือน 7 อนั เป็นช่วงฤดฝู นเข้าสู่การทานา ตก กล้า หว่าน ไถ เพ่ือเป็นการบูชาเทพยดาอารักษ์หลักบ้านหลักเมืองและบูชาพญาแถนขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล โดยมี ความเช่ือว่าเม่ือจัดงานนี้แล้วเทพยดาและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ท้ังหลายจะดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ทาให้พืชพันธุ์ ธัญญาหารอุดมสมบรู ณ์ ควำมหมำยของบงั้ ไฟ คาว่า \"บ้ังไฟ\" ในภาษาถ่ินอีสานมักจะสับสนกับคาว่า \"บ้องไฟ\" แต่ที่ถูกนั้นควรเรียกว่า \"บั้งไฟ\" โดยท้ัง 2 คามี ความแตกต่างกนั ดงั น้ี คาวา่ บ้อง หมายถึง สงิ่ ของใด ๆ กไ็ ด้ทม่ี ี 2 ชิ้น มาสวมหรือประกอบเข้ากันได้ ส่วนนอกเรียกว่า บอ้ ง ส่วนในหรือ สิ่งที่เอาไปสอดใส่จะเป็นสิ่งใดก็ได้ เช่น บ้องมีด บ้องขวาน บ้องเสียม บ้องวัว บ้องควาย ดังนั้น คาว่า บั้งไฟ ในภาษาถ่ิน อีสานจึงเรียกว่า บั้งไฟ ซ่ึงหมายถึงดอกไม้ไฟชนิดหน่ึง มีหางยาวเอาดินประสิวมาคั่วกับถ่านไม้ตาให้เข้ากันจนละเอียด เรียกว่า หม่ือ (ดินปืน) และเอาหม่ือน้ันใส่กระบอกไม้ไผ่ตาให้แน่นเจาะรูตอนท้ายของบั้งไฟ เอาไผ่ท่อนอื่นมัดติดกับ กระบอกให้ใส่หมอื่ โดยรอบ เอาไม้ไผ่ยาวลาหน่งึ มามัดประกบต่อออกไปเป็นหางยาว สาหรับใช้ถว่ งหัวให้สมดุลกัน เรียกว่า \"บัง้ ไฟ\" ส่วนคาวา่ บ้งั ไฟ คอื การนาเอากระบอกไมไ้ ผ่ เลาเหล็ก ทอ่ เอสลอน หรือเลาไมอ้ ย่างใดอย่างหนงึ่ มาบรรจุหมอื่ (ดิน ปืน) ตามอัตราส่วนที่ช่างกาหนดไว้แล้วประกอบท่อนหัวและท่อนหางเป็นรูปต่าง ๆ ตามท่ีต้องการ เพื่อนาไปจุดพุ่งข้ึนสู่ อากาศ จะมีควนั และเสยี งดัง บัง้ ไฟมีหลายประเภท ตามจดุ มุ่งหมายของประโยชน์ในการใช้สอย
ประวตั คิ วำมเปน็ มำประเพณีบญุ บ้งั ไฟ ๒๐ ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีหน่ึงของภาคอีสานของ ไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตานานมาจากมาจากนิทานพ้ืนบ้านของ ภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรืองผาแดงนางไอ่ ซ่ึงในนิทาง พ้ืนบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึงการที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบ้ังไฟขึ้น เพ่ือเป็นการบูชาพระยาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซ่ึง ชาวบ้านมีความเช่ือว่า พระยาแถนมีหน้าท่ีคอยดูแลให้ฝนตก ถูกต้องตามฤดูกาล และมีความช่ืนชอบไฟเป็นอย่างมาก หาก หมู่บ้านใดไม่จัดทาการจดั งานบุญบั้งไฟบชู า ฝนก็จะไม่ตกถูกต้อง ตามฤดูกาล อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติกับหมู่บ้านได้ตานานเร่ือง พญาคนั คากกบั พญาแถน ตำมตำนำนพญำแถน เทพผู้เป็นใหญ่ในสวรรค์ผู้ดลบันดาลให้ฝนตก เกิดไม่ พอใจชาวโลกจึงบนั ดาลให้ฝนไม่ตกเลยตลอด๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน ชาวเมืองทนไม่ไหวจึงคิดทาสงครามกับพญาแถน แต่สู้พญาแถน กับกองทัพเทวดาไม่ได้ ถูกไล่ลา่ หนมี าถึงต้นไม้ใหญ่ที่พระโพธสิ ัตว์ เสวยชาติเป็นพญาคันคาก (คางคก) อาศัยอยู่ และพญาคันคาก ตกลงใจเป็นจอมทัพของชาวโลกต่อสู้กับพญาแถน พญาคันคาก ให้พญาปลวกก่อจอมปลวกขึ้นไปจนถึงสวรรค์ ให้พญามอดไม้ไป ทาลายด้ามอาวุธของทหารและอาวุธพญาแถน และให้พญาผ้ึง ต่อ แตนไปต่อยทหารและพญาแถนฝ่ายเทวดาพ่ายแพ้ พญาแถน จึงให้คามั่นว่า หากมนษุ ย์ยิงบ้ังไฟข้ึนไปเตือนเมื่อไรจะรีบบันดาล ให้ฝนตกลงมาใหท้ ันทีและถ้ากบเขียดร้องก็ถือเป็นสัญญาณวา่ ฝน ได้ตกลงถึงพ้ืนแล้ว และเม่ือใดที่ชาวเมืองเล่นว่าวก็เป็นสัญญาณ แห่งการหมดสน้ิ ฤดูฝน
ตำนำนเร่อื งท้ำวผำแดงนำงไอ่ ๒๑ นางไอ่เป็นธิดาพระยาขอมผู้ครองเมืองชะธีตา นาง ไอ่เปน็ สตรีท่มี ีสริ ิโฉมงดงามเป็นทีเ่ ลอื่ งลือไปในนครตา่ ง ๆ ท้ัง โลกมนุษย์และบาดาล มีชายหนุ่มหมายปองจะได้อภิเษกกับ นางมากมาย ในจานวนผูท้ มี่ าหลงรักนางไอ่ มีท้าวผาแดงและ ท้าวพังคี โอรสสุทโธนาค เจ้าผู้ครองนครบาดาล ท้าวทั้งสอง ต่างเคยมีความผูกพันกับนางไอ่มาแต่อดีตชาติ จึงต่างช่วงชิง จะได้เคียงคูก่ ับนาง แต่กพ็ ลาดหวัง จึงมิได้อภิเษกทั้งคู่เพราะ แขง่ ขันบ้งั ไฟแพ้ ท้าวพังคีนาคไม่ยอมลดละ แปลงกายเป็นกระรอก เผือกคอยติดตามนางไอ่ สุดท้ายถูกฆ่าตาย พญานาคผู้เป็น พ่อจึงข้ึนมาถล่มเมืองล่มไป กลายเป็นหนองน้าใหญ่ คือ หนองหาน หนองหานในตานานท้าวผาแดงนางไอ่ ท่ีเป็นที่ ถกเถียงกันว่าที่ไหนกันแน่ มีอยู่ถึง ๓ ที่ ได้แก่ หนองหาน ท่ี อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี และหนองหาน อาเภอกุม ภวาปี ซึ่งก็ไม่ไกลจากที่แรกมากนัก และอีกท่ีหน่ึงก็คือหนอง หาร จงั หวัดสกลนคร ในตาราอ้างอิงถึงเรื่องผาแดงนางไอ่จบลงด้วยการ เกิดเป็นหนองน้า ขนาดใหญ่จากการต่อสู้ของพญานาคกับ ท้าวผาแดง ต่างก็มีข้อมูลอ้างอิงถึง หนองน้าท่ีชื่อหนองหาน แตก่ ลา่ วต่างกนั ไปในตาราแต่ละเล่มถึงหนองนา้ ท้งั ๓ แหง่ ควำมเช่อื ของชำวบำ้ นกบั ประเพณบี ญุ บั้งไฟ ชาวบ้านเช่ือว่ามีโลกมนุษย์ โลกเทวดา และโลกเทวดา มนุษย์อยู่ใต้อิทธิพลของเทวดา การราผีฟ้าเป็น ตวั อย่างท่ีแสดงออกทางด้านการนบั ถือเทวดา และเรยี กเทวดาว่า \"แถน\" เมื่อถือว่ามีแถนก็ถือว่า ฝน ฟ้า ลม เป็น อิทธิพลของแถน หากทาให้แถนโปรดปราน มนุษย์ก็จะมีความสุข ดังนั้นจึงมีพิธีบูชาแถน การจุดบ้ังไฟก็อาจเป็น อีกวิธีหน่ึงที่แสดงความเคารพหรือส่งสัญญาณความภักดีไปยังแถน ชาวอีสานจานวนมากเชื่อว่าการจุดบ้ังไฟเป็น การขอฝนจากพญาแถน และมีนทิ านปรัมปราเช่นน้อี ยู่ทั่วไป แตค่ วามเชอื่ น้ยี งั ไมพ่ บหลกั ฐานทแี่ น่นอน
กำรจัดประเพณบี ุญบั้งไฟ ๒๒ ก่อนจะถึงวันงานหรือวันเอาบุญ ชาวบ้านก็จะช่วยกันเตรียมงานกันอย่างสามัคคี ชาวบ้านที่ได้รับมอบหมายจะ สร้างปะรา หรือ \"ผาม\" หรือ \"ตูบบุญ ฝา่ ยแม่ครัวก็เตรียมข้าวปลาอาหารไว้เล้ียงแขกเลี้ยงคน ฝ่ายช่างฟ้อนก็เตรียมขบวน ราไว้สาหรับแห่บ้ังไฟ ฝ่ายผู้ชายท่ีเป็นช่างฝีมือก็ช่วยกันทาบั้งไฟและตกแต่งให้สวยงาม งานบุญบ้ังไฟส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมี พธิ ีกรรมทางศาสนาเทา่ ใดนักแตบ่ างแห่งก็มีพธิ ีทาบุญเล้ียงพระบ้าง วันโฮม เป็นชาวบ้านก็จะมาตั้งขบวนเพ่ือแห่บั้งไฟไปรอบ ๆ หมู่บ้าน เป็นงานบุญท่ีเน้นความสนุกสนานรื่นเริง ใน ขบวนจะมีการราเซ้ิงตามบ้ังไฟ และบรรดาข้ีเหล้าทั้งหลายก็จะร้องเพลงเซ้ิงไปของเหล้าตามบ้านต่าง ๆ กาพย์เซิ้งอาจจะ หยาบคายแตก่ ไ็ ม่มใี ครถือสากนั แต่กาพยเ์ ซิง้ ทใ่ี ช้แหใ่ นขบวนมักจะเป็นประวตั แิ ละความเปน็ มาของพิธีบุญบัง้ ไฟ วันจุดบั้งไฟก็อาจจะเป็นอีกวันหน่ึงคือเป็นวันที่ชาวบ้านจะเอาบั้งไฟของแต่ละคุ้มแต่ละหมู่บ้านมาจุดแข่งกัน ถ้า ของใครทามาดีจุดขนึ้ ได้สงู สุดกจ็ ะชนะแต่ถา้ ของใครแตกหรอื ซกุ ถ็ ือว่าแพ้ ต้องโดนลงโทษโดยการจบั โยนลงโคลนหรือตมซึ่ง เป็นที่สนุกสนานอยา่ งยิ่ง การจุดบง้ั ไฟเป็นการเสย่ี งทาย ถ้าบั้งไฟข้ึนสงู ก็ทานายวา่ ฝนจะตกดี ขา้ วปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ ประเพณบี ุญผะเหวดเทศน์มหำชำติ ควำมเป็นมำ (ภมู หิ ลัง/ควำมเช่ือ) บุญผะเหวด หรือท่ีเรียกวันโดยท่ัวไปว่า บุญมหาชาติ เป็นประเพณีบุญตามฮีตสิบสองของชาวอีสาน แต่ถ้าถือเป็น เรอื่ งทาน ก็เป็นประเพณกี ารบริจาคทานคร้ังย่ิงใหญ่ คืองานมหากุศล ให้ราลึกถึงการบาเพญ็ บุญ คือ ความดที ่ียงิ่ ใหญ่ อันมี การสละความเห็นแก่ตัว เพื่อผลประโยชน์สุขอันไพศาลของมวลมนุษยชาติ ในตานานฮีตสิบสอง ได้กล่าวถึงการทาบุญผะ เหวด ไว้วา่ \"ฮอดเดือนสี่ ให้พากนั เก็บ ดอกจาน สานบ้ังไผ่เสียบดอกจิก\" ก็พอจะอนมุ านไดถ้ ึงสภาพท่ัวไปของชาวอสี านว่า ดอกจิก ดอกจาน บานราวตน้ เดอื นสาม พทุ ธศาสนกิ ชนจะเกบ็ ดอกไม้เหล่านี้ มาร้อยเป็นมาลัยเพื่อตกแต่งศาลาการเปรียญ สาหรับบุญมหาชาติน้ีเอง และในงานน้ี ก็จะมีการเทศน์มหาชาติ ซ่ึงถือว่าเป็นงานอันศักดิ์สิทธ์ิผู้ใดฟังเทศน์มหาชาติจบ ภายในวันเดียว และบาเพ็ญคุณงามความดี จะได้อานิสงส์ ไปเกิดในภพพระอริยเมตไตรย ซึ่งเป็นดินแดนแห่งความสุขตาม พุทธคติ การจัดงานประเพณีบุญผะเหวดในรอบหนึ่งปีจะจัดเพียงครั้งเดียว คือ ระหว่างเดือนสาม เดือนสี่ ไปจนถึง กลางเดือนห้า โดยจะมีวันรวม ตามภาษาอีสาน เรียกว่า ธูปเทียน วันโฮมบุญ พุทธศาสนิกชนมาช่วยกันจัดตกแต่งศาลา หรือสถานที่ที่จะทาบุญ จัดเตรียมเครื่องสักการะ ดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวตอก อย่างละพันก้อน มีการต้ังธงใหญ่ ไว้แปดทิศ และมีศาลเลก็ ๆ เป็นท่ีเก็บข้าวพนั ก้อนและเครื่องคาวหวาน สาหรับผี เปรต และมารรอบๆ ศาลาการเปรยี ญจะแขวนผ้าผะ เหวด เป็นเร่ืองราวของพระเวสสันดรต้ังแต่กัณฑ์ที่หน่ึง ถึงกัณฑ์สุดท้าย องค์การบริหารส่วนตาบลซา ได้ตระหนักถึง ความสาคัญของกิจกรรมทางด้านศาสนา วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น จึงได้จัดทาโครงการบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติขึ้น เพอ่ื บารงุ สง่ เสริมประเพณพี ืน้ บ้านใหค้ งอยูต่ ลอดไป
๒๓ อตั ลกั ษณ์ (ทโี่ ดดเดน่ ) งานประเพณีบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ เป็น ประเพณีที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ทุกหมู่บ้านมีการสืบ ทอดประเพณบี ุญผะเหวดเทศนม์ หาชาตเิ ป็นประจาทุกปี โดย มีวันโฮมบุญก่อน พุทธศาสนิกชนมาช่วยกันจัดตกแต่งศาลา หรือสถานท่ีท่ีจะทาบุญ จัดเตรียมเครื่องสักการะ ดอกไม้ ธูป เทียน ข้าวตอก อย่างละพันก้อน มีการตั้งธงใหญ่ ไว้แปดทิศ และมีศาลเล็กๆ เป็นที่เก็บข้าวพันก้อนและเครื่องคาวหวาน สาหรับผี เปรต และมารรอบๆ ศาลาการเปรียญจะแขวน ผ้า ผะเหวด วันต่อมาจะมกี ารแห่พระเวสสันดรชาดก โดยทาเป็น ขบวนแห่ มีการประดับตกแต่งขบวนแห่แต่ละขบวนให้มี ความสวยงามและเป็นเร่ืองราวของพระเวสสันดร ควำมสำคัญและคณุ คำ่ ทำงสังคมและทำงจิตใจทมี่ ีในวถิ ี กำรดำเนินชีวิตของชุมชน น้ันๆ งานประเพณีบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ เป็น ประเพณีการบริจาคทานครั้งย่ิงใหญ่ คืองานมหากุศล ให้ ราลึกถึงการบาเพ็ญบุญ คือ ความดีที่ยิ่งใหญ่ อันมีการสละ ความเห็นแก่ตัว ของพระเวสสันดร เพื่อประโยชน์สุขของ มนุษยชาติ มีการฟังเทศน์มหาชาติตั้งแต่กัณฑ์แรก ถึงกัณฑ์ สุดท้าย โดยเชื่อว่าถ้าฟังเทศน์มหาชาติครบทุกกัณฑ์ภายใน วันเดยี วจะทาใหไ้ ปเกดิ ในภพพระอริยเมตไตรย์ การได้รับรูถ้ ึง ความเสยี สละของพระเวสสนั ดร ทาใหผ้ ูค้ นได้ซาบซึง้ ถึงความ ดีอันยิ่งใหญ่ เกิดความซาบซึ้งในพระพุทธศาสนา มีผลต่อ จิตใจของผู้คนให้ยึดถือเป็นแบบอย่างท่ีดีในการประพฤติ ปฏิบัติ เป็นวิถีการดาเนินชวี ิตทีด่ ีงามของผู้คน จนทาให้มีการ สืบทอด สืบสานประเพณีบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติกันทุก หมู่บ้าน จากรุ่นสู่รุ่น การจัดงานประเพณีจึงมีคุณค่าทาง สังคมเพราะประเพณีทางศาสนาเป็นส่ิงยึดเหนี่ยวจิตใจของ ผู้คนในสังคม เป็นศูนย์รวมของชาวพุทธทุกคนที่ประพฤติ ปฏบิ ัติแบบเดยี วกันในวนั ดังกล่าว
ประเพณีแห่ปรำสำทผ้ึงจังหวดั สกลนคร ๒๔ ประเพณีแห่ปราสาทผึ้งจังหวัดสกลนครถือเป็นประเพณีงานบุญสาคัญและเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด สกลนคร ประเพณีแห่ปราสาทผ้ึงจะจัดข้ึนในช่วงเดือน 11 หรือช่วงออกพรรษา ในงานแห่ปราสาทผ้ึงจังหวัด สกลนคร ชาวบา้ นจากทุกหมู่บ้านจะมีการจัดทาปราสาทซึ่งสร้างมาจากข้ีผ้งึ เปน็ ส่วนประกอบหลัก จากน้ันจะมีการ จัดขบวนแห่อย่างสวยงาม อันประกอบไปด้วยการแสดงพ้ืนบ้าน การแต่งกายพื้นเมือง การรามวย หรือกระท่ังการ ฟ้อนภูไทย จากน้ันทุกขบวนแห่ปราสาทผึ้งของแต่ละหมู่บ้านจะนาปราสาทผึ้งไปทอดถวาย ณ วัดพระธาตุเชิงชุม วรวิหาร ประเพณีแห่ปราสาทผ้ึงเป็นประเพณีที่ทาสืบต่อกันมาเป็นเวลานานในภาคอีสานแต่จะเป็นท่ีรู้จักมากและ แพรห่ ลายในพื้นทจ่ี ังหวดั สกลนคร โดยมจี ุดประสงค์ของประเพณที ่ีเกยี่ วเนอื่ งกนั ระหว่างความเชื่อในการทาบญุ อุทิศ ส่วนกุศลแก่ญาติผู้ล่วงลับ และการทาบุญใหญ่ในช่วงออกพรรษาซ่ึงเป็นงานบุญที่มีความเช่ือกันอย่างแพร่หลายว่า จะไดร้ ับอานิสงส์มาก งานประเพณีแห่ปราสาทผ้ึงมีความใกล้ชิดกับงานบุญแจกข้าวของคนภาคอีสาน ซ่ึงจะมีในช่วงเดือน ๑๑ หรือช่วงออกพรรษา หรือที่รู้จักกันในฐานะของงานทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ผู้ตายของชาวอีสาน เน่ืองจากในงาน ทาบุญแจกข้าวเป็นงานบุญใหญ่ที่มีการจัดข้ึนในช่วงออกพรรษา ในงานประเพณีแจกข้าวน้ันชาวบ้านในหมู่บ้านจะ ออกมาช่วยกันจดั งานบุญ ในงานบุญน้ันจะมีการจัดทาหอผึ้ง เปน็ ทรงตะลุม่ ขึ้นโครงด้วยไม่ไผ่จักตอกเพ่ือยึดโครง มี การแทงหยวกประดับหอผึ้ง และมีการใช้ข้ีผ้ึงหล่อในแม่พิมพ์ นิยมทาให้เป็นรูปทรงของดอกไม้จึงเรียกถูกเรียกว่า ดอกผึ้ง เพื่อนามาประดับตกแตง่ ในหอผึ้ง หลังจากที่ชาวบ้านร่วมกันทาหอผึ้งเรียบร้อยแล้ว มักจะมีการใส่ข้าวเม่า ข้าวตอก ไปในหอผึ้งเพ่ือนาไป ถวายพระสงฆ์ในงานบุญแจกขา้ ว โดยการจัดทาหอผ้ึงนน้ั มิไดถ้ ูกจากดั วา่ จะต้องทาจานวนมากเทา่ ใด หากญาติของผู้ ล่วงลับครอบครวั ใด ต้องการจะจัดทาหอผ้ึงของตนเองก็สามารถจัดทาขึน้ ได้ การจัดทาหอผึ้งในงานบุญแจกข้าวน้ัน เป็นผลมาจากความเชื่อในชาดกสมัยพุทธกาลว่า ขณะท่ีพระพุทธเจ้าได้เสด็จประทับอยู่ท่ีรกั ขติ วนั มีพญาลิงตนหนึ่ง ได้ปฏิบตั ิหน้าที่เป็นอุปัฏฐานของพระพุทธองค์ วันหน่ึงพญาลิงไปพบรังผึ้งจึงนามาถวายแดพ่ ระพทุ ธองค์ หลังจากท่ี พระพุทธองค์รับของถวายจากพญาลิงแล้ว พญาลิงก็เกิดความปิติเป็นอย่างมาก จึงกระโดดโลดเต้นไปตามก่ิงไม้ อย่างยินดี จนในทส่ี ุดตกกพ็ ลัดตกจากก่ิงไม้ลงมาตาย แต่ดว้ ยอานิสงส์จากการถวายรังผงึ้ แกพ่ ระพุทธเจ้า จึงทาใหไ้ ด้ ไปเกิดเป็นเทพบุตรมีบริวารมากมายอยู่บนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ จึงทาให้เกิดความเช่ือว่าหากถวายหอผ้ึงในงานบุญ แจกขา้ วแล้ว หลงั จากล่วงลบั ไปจะไดไ้ ปเกดิ เป็นเทพบตุ ร เทพธดิ าบนสวรร์ค์ การทาปราสาทผึ้งส่วนมากในอีสานนิยมทากันมาแต่โบราณด้วยเหตุผลหรือคติที่ว่า ๑. เพื่ออุทิศส่วนกุศล ให้แก่บรรพบุรุษท่ีล่วงลับไปแล้ว ๒. เพื่อต้ังความปรารถนาไว้หากเกิดในภพมนุษย์ขอให้มีปราสาทราชมณเฑียร อาศยั อยูด่ ้วยความมั่งมีศรีสุข ถ้าเกิดในสวรรคข์ อ ใหม้ ีปราสาทอันสวยงาม มีนางฟ้าแวดล้อมเป็นบริวารจานวนมาก 3. เพ่ือรวมพลังสามัคคีในงานบุญร่วมกัน พบประสนทนากันฉันท์พี่น้อง 4. เพ่ือเป็นการประกาศหลักศีลธรรม ทาง บุญทางกศุ ลใหป้ รากฏ
นอกจากงานบุญแจกข้าวแลว้ ประเพณีแห่ปราสาทผงึ้ ในจงั หวัดสกลนครยังมคี วามเกยี่ วเน่ืองกับความ ๒๕ เชื่อในวันออกพรรษาหรือวันเทโวโรหนะ ว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากการแสดงธรรมแก่พระพุทธ มารดาในสวรรค์ ก่อนท่ีจะเสด็จลงมายังโลกมนุษย์ พระองคไ์ ดพ้ จิ ารณาโลกทง้ั สามอนั ไดแ้ ก่ มนุษย์โลก เทวโลก และยมโลก จะสามารถมองเหน็ ความเป็นอยู่ซึ่งกันและกนั ในวนั นี้ และดว้ ยพทุ ธานุภาพของพระองค์จะทาใหไ้ ด้ เห็นหอผึง้ ทช่ี าวบา้ นในมาถวายในงานบญุ วนั ออกพรรษานี้ การจัดสร้างปราสาทผ้ึงท่ีเป็นจุดเด่นของงานแห่ปราสาทผ้ึงของจัดหวัดสกลนครน้ัน ได้มีการพัฒนา รูปแบบการสร้างซ่ึงมีพ้ืนฐานมากจากการจัดทาหอผ้ึงในสมัยก่อนให้มีความวิจิตรตระการและสวยงามมากขึ้น โดยการจัดทาปราสาทผึ้งของแต่ละหมบู่ ้านนนั้ จะกินเวลารว่ มสามเดือนเป็นอย่างตา่ มีการจัดการวางแผนการ สร้างโดยอาศัยองค์ความรู้ในศาสตร์และศิลป์ต่างๆ ท่ีสืบทอดกันมา ข้ันตอนการดาเนินงานน้ันจะเริ่มจากการ วางแผนข้ึนโครงไมใ้ นการสร้างโดยช่างไม้ทีม่ ีฝมี ือสูง จากนัน้ กท็ าการออกแบบลวดลายและสีของปราสาท และ เข้าสู่ขั้นตอนการหล่อข้ีผ้ึงตามท่ไี ด้วางแผนไว้ โดยทาการหล่อในแมพ่ ิมพ์เพื่อใหไ้ ด้ลวดลายท่ีต้องการ จากนั้นก็ นาข้ีผึ้งที่หล่อเอาไว้มาประกอบเข้าด้วยกันด้วยการเชื่อม หรือยึดด้วยเข็มหมุด และสุดท้ายก็คือข้ันตอนการ ตกแตง่ ปราสาทผง้ึ กถ็ ือเปน็ อันเสร็จส้นิ ประเพณีแห่ปราสาทผงึ้ ของชาวสกลนคร นบั เป็นประเพณที ม่ี ีการสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน จงึ ทาให้ เกิดพัฒนาการและความเปล่ียนแปลงของพิธีการต่างๆ ตามช่วงเวลา อาจจะมีความแตกต่างกันในการปฏิบัติ ของแต่ละพ้ืนท่ีอยู่เล็กน้อย อันเป็นผลมากจากความเชื่อและวัฒนธรรมย่อยในแต่ละพื้นท่ีน้ัน อย่างไรก็ตาม ประเพณีแห่ปราสาทผ้ึงของชาวสกลนคร ก็มีสัญลักษณ์ทางประเพณี ที่ทาหน้าที่เป็นตัวแทนของเหตุการณ์ใน ลกั ษณของการสรา้ งสงิ่ แทน ชว่ งเวลาหรอื เหตุการณห์ นึ่ง ซึ่งสะท้อนถงึ ความเชอื่ และวฒั นธรรมหลกั ของสังคม
๒๖ ประเพณที อดกฐิน กฐิน หมายถึง ชือ่ พธิ ีทาบุญทางพระพุทธศาสนาหลงั จาก ออกพรรษาภายในกาหนด 1 เดือน มีข้อควรทราบดงั น้ี ๑ .เขตกฐิน ระยะเวลาให้พระรับกฐินได้คือตั้งแต่แรม๑๑ ค่าเดอื น๑๑ ถึงข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๒ ๒ ผ้ากฐินเป็นผ้าสบง ผ้าจีวร ผ้าสังฆาฏิ ผืนใดผืนหน่ึงใน ๓ ผืนน้ี กฐิน หมายถึง ไม้สะดึงผ้าที่ยกนามาถวายแด่พระสงฆ์ผู้ อยู่จาพรรษาแลว้ ท่เี รียกเช่นน้เี พราะ เวลาจะตดั ใช้สะดึงทาบ การ ท่นี าผ้าไปถวายเรียกว่า ทอดกฐิน การทอดกฐิน คือ การถวายผ้ากฐินแก่พระสงฆ์ผู้จาพรรษาอยู่วัดใดวัดหน่ึงหรือสถานที่ใดท่ีหนึ่ง ครบ ๓ เดือน เพ่ือใหพ้ ระได้มีผา้ เปลย่ี นใหมก่ ารทอดกฐนิ จงึ ถือเปน็ งานบุญท่ียงิ่ ใหญ่ ให้อานิสงส์แรง เพราะในปีหนงึ่ แตล่ ะ วัดจะรบั กฐนิ ไดเ้ พียงครง้ั เดียวเท่านนั้ และจะต้องทาภายในเวลาทก่ี าหนดในการทอดกฐิน คอื ๑ เดือนเทา่ นนั้ โดย นบั ตั้งแตว่ นั ออกพรรษา ก่อนการทอดกฐินจะต้องมีการจองกฐินก่อนโดยจะต้องไปแจ้งความประสงค์แก่เจ้าอาวาส แล้วเขียนปิด ประกาศให้ทราบ และเม่ือจองเรียบร้อยและได้หมายกาหนดการเรียบร้อยแล้ว เจ้าภาพจะต้องจัดเตรียมเครื่อง กฐินซ่ึงได้แก่ ผ้าจีวรหรือผ้าสบงหรือสังฆาฏิ ผืนใดผืนหน่ึง และเครื่องบริขาร บริวารกฐิน ซึ่งอาจจะถวายเป็น ปัจจัยสี่หรือถวายเป็นสว่ นกลางเพื่อเป็นประโยชน์กับสงฆ์ วันก่อนการทาพิธีทอดกฐิน ๑ วันเรียกว่า วันสุกดิบ ทุกคนจะมาช่วยกันเตรียมสถานที่ ปักธงเตรียม เคร่ืองใชส้ าหรับถวายพระและของที่จะต้องใช้ในพิธใี นวันงานทอด กฐินนิยมจัดงาน ๒ วันคอื วันแรกจะเป็นวันตั้ง องค์พระกฐินซ่ึงอาจจะเป็นที่บ้านเจ้าภาพหรือที่วัดก็ได้ ตอนกลางคืนก้จะมีมหรสพ ในวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่สองก็จะ เป็นวนั ทอด ซึ่งจะมีการแห่ไปตอนเช้าและเล้ียงพระเพล หรืออาจจะทอดในตอนเพลก็ได้แล้วแต่ความสะดวกของ เจ้าภาพ หากเป็นกฐินสามัคคี คือ มหี ลายเจ้าภาพซึ่งแยกกนั ต้ังองค์กฐินตามบ้านของตนเอง ใหแ้ หม่ าทอดรวมกัน ในวันรงุ่ ขนึ้ เพราะแตล่ ะวดั จะรบั กฐินได้เพียงครง้ั เดียวเท่าน้ัน
๒๗ แบบทดสอบ วฒั นธรรมไทย ๔ ภาค https://forms.gle/CjRXwrjkJXTCHmVs6
๒๘ บรรณำนุกรม เค ปกุ๊ . (2557). ประเพณบี ญุ บัง้ ไฟ. สืบคน้ เมื่อ 15 มนี าคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://hilight.kapook.com/view/101828?fbclid=IwAR1EKTN2cmmtrSZAmEdUu3l678oG PcKkVNGmAhAk_RES_zT9FZKNoC67TVY. พรชติ า คาประสิทธ.์ิ (2560). ประเพณีแห่ปรำสำทผ้งึ . สืบค้นเม่อื 15 มนี าคม 2563, จากเว็บไซต์ : https://www.sac.or.th/databases/rituals/detail.php?id=126&fbclid=IwAR3X1paYQI6DB4 Q4IXcsUnOlfb6GqP-FpukNkyDox9QRTEOjMQPN1hF9olM. วิลาศนิ ี กุราจินดา. (2559). วฒั นธรรมท้องถ่นิ ภำคใต.้ สบื คน้ เมอื่ 15 มีนาคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://sites.google.com/site/theculturesofthai/system/app/pages/recentChanges วลิ าศนิ ี กรุ าจนิ ดา. (2559). วัฒนธรรมท้องถนิ่ ภำคอสี ำน. สืบคน้ เมื่อ 15 มนี าคม 2563, จากเว็บไซต์ : https://sites.google.com/site/theculturesofthai/system/app/pages/recentChanges. วลิ าศนิ ี กรุ าจินดา. (2559). วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ภำคกลำง. สบื คน้ เมื่อ 15 มีนาคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://sites.google.com/site/theculturesofthai/system/app/pages/recentChanges. วิลาศนิ ี กุราจนิ ดา. (2559). วัฒนธรรมภำคเหนอื . สืบคน้ เม่อื 15 มีนาคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://sites.google.com/site/theculturesofthai/system/app/pages/recentChanges. อะตอม. (2555). วฒั นธรรม ๔ ภำคของประเทศไทย. สืบคน้ เมอ่ื 15 มนี าคม 2563, จากเว็บไซต์ : http://0057.blogspot.com
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: