คำนำ การที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2551 มีประเด็น การศึกษาสาคัญคือ การระบุส่ิงท่ีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้เม่ือสาเร็จการศึกษา นับว่าเป็นเจตนาที่จะให้ เสรีภาพแต่ละท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาของตนเอง หลักสูตรท้องถ่ินไม่ว่าจะเป็นท้องถ่ินใดก็ตามมี ความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เก่ียวกับท้องถ่ินของตน ได้รู้จักตนเอง รู้จักวิถีชีวิต ความคิดความเช่ือ วัฒนธรรม และทรัพยากรท่ีมีค่าในชุมชนของตน นาไปสู่ความรับผิดชอบที่จะมีส่วน ร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด และสานต่อเจตนาชุมชนไปพร้อมๆ ท่ีส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต ทาให้ผู้เรียน ดาเนินชีวติ ในทอ้ งถิ่นได้อยา่ งมีความสขุ และเตบิ โตขน้ึ เปน็ พลเมืองท่ดี ี มีคุณภาพของประเทศสืบไป การสร้างส่ือการเรียนการสอนสาหรับวิชาท้องถิ่นศึกษา ฉบับน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชาท้องถ่ินศึกษา โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องหลักสูตรท้องถ่ินศึกษา ท้ังนี้ ในส่ือการเรียนการสอน น้ีมีเน้ือหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับความหมายของหลักสูตรท้องถิ่นศึกษาและตัวอย่างของหลักสูตร ท้องถนิ่ ศกึ ษา ตลอดจนการนาไปประยุกตใ์ ช้ได้จรงิ ซึ่งผูจ้ ดั ทาไดเ้ ลือกหัวขอ้ น้ีในการทาสอ่ื การสอนเนอ่ื งมาจากเป็นเรือ่ งทนี่ ่าสนใจ รวมทัง้ แสดงให้เห็น ถึงความสาคัญของหลักสูตรท้องถ่ินศึกษาผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ อาจารย์นนทวรรณ แสนไพร ผู้ให้ ความร้แู ละแนวทางการศึกษา หวงั ว่าสื่อการสอนเรอ่ื งน้ีจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แกผ่ ูอ้ ่านทุกๆ ทา่ น หากมขี ้อเสนอแนะประการใด ผ้จู ดั ทาขอรบั ไวด้ ว้ ยความขอบพระคณุ ยิ่ง คณะผูจ้ ดั ทา 26 มกราคม 2563
สำรบญั หน้ำ 1-2 เร่อื ง 2 ควำมหมำยของหลักสูตรท้องถิ่น 3 กำรพัฒนำหลักสูตรท้องถ่นิ 4-8 กระบวนกำรพัฒนำหลกั สูตรท้องถิน่ 5 ตัวอย่ำงหลกั สูตรท้องถน่ิ ประเพณีสำรทเดือนสิบ 5 5 -ชอ่ื หลักสตู ร 5 -ความสาคญั 6 -จดุ มงุ่ หมาย 6 -วตั ถปุ ระสงค์ 6 -เนื้อหาของหลักสตู ร 7 -เวลาเรียน 8 -แหลง่ การเรยี นรู้และสื่อประกอบการเรยี น 9-17 -การวดั และประเมนิ ผล 10-11 -โครงสร้างเนอื้ หาของหลักสตู ร 11 ตวั อย่ำงหลกั สตู รท้องถิ่นกำรทำข้ำวเกรยี บวำ่ วสมุนไพร 12 -หลักการ 13 -จุดม่งุ หมาย 14 -โครงสรา้ งหลกั สูตร 14 -ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร 15 -สาระการเรยี นรู้ -อัตราเวลาเรียน -ตารางวเิ คราะหเ์ น้ือหาคาบเวลาเรยี น
สำรบญั (ตอ่ ) หน้ำ 15 เร่ือง 16 -แนวการจดั กิจกรรม 16-17 -สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 15-28 -การวดั และประเมนิ ผล 16 17 ตวั อยำ่ งหลักสูตรท้องถ่นิ กำรนวดแผนไทยเพ่ือสุขภำพ 17 -ความเปน็ มา 18 -เป้าหมายของหลกั สตู ร 18 -หลกั การและเหตผุ ล 19 -วสิ ัยทศั น์ 19 -จดุ มุ่งหมาย 20 -คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 20-21 -คาอธิบายรายวชิ า 22 -สาระการเรียนรู้ 23-24 -สาระการเรยี นรู้และมาตรฐานการเรยี นรู้ 24 -สาระการเรยี นร้แู ละผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง 25 -โครงสร้างหลกั สตู ร 26 -หนว่ ยการเรยี นรู้ 26 -แนวการจัดการเรียนรู้ 27-28 -การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ -ส่ือ/อปุ กรณ์และแหล่งเรียนรู้ -ข้อปฏบิ ตั ิ
สำรบัญ(ต่อ) หน้ำ 29-36 เรอื่ ง ตวั อยำ่ งหลักสูตรท้องถิ่นตำนำนบำงข้ีนำก 30 30 -หลักสตู รทอ้ งถน่ิ ตานานบางข้ีนาก 30 -ความสาคัญ 30 -จุดมงุ หมาย 31 -วตั ถปุ ระสงค์ 31 -เน้ือหาหลกั สตู ร 31 -เวลาเรียน 31 -แหล่งเรียนร/ู้ ส่อื ประกอบการเรยี น 32 -กจิ กรรมการเรยี นรู้ 32 -การวดั และประเมนิ ผล 32-33 -ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั 33 -โครงสรา้ งหลักสตู ร 34 -แผนผงั มโนทศั น์หลักสูตรท้องถน่ิ ตานานบางขน้ี าก 34 -คาอธิบายรายวิชา 35 -ผลการเรียนรู้ 36 -ภาคผนวก -บรรณานุกรม
1 หลกั สตู รทอ้ งถ่ิน ควำมหมำยของหลักสูตรทอ้ งถนิ่ มนี ักการศกึ ษาไดใ้ ห้ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่นพอสรุปได้ ดงั น้ี กรมวิชาการ (2545) กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิ่นหมายถึง มวลประสบการณ์ที่จัดข้ึนทั้ง ในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติและ คุณภาพการดารงชีวิตโดยพยายามใช้ทรัพยากรในท้องถนิ่ ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ บนพ้ืนฐานของสภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ของตนเองตลอดจนมีส่วนร่วมในการ แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ของชาตบิ ้านเมอื ง สุโขทัยธรรมาธิราช (มปป.) ให้ความหมายหลักสูตรท้องถิ่น หมายถึงเน้ือหาสาระและ มวลประสบการณ์ท่ีจัดให้กับผู้เรียนในท้องถิ่นที่หน่ึงท่ีใดโดยเฉพาะขั้นตอนการพัฒนาหลักสตู ร ของหลักสูตรกลางและหลักสูตรท้องถ่ินจะพบว่ามีขั้นตอนท่ีแตกต่างกันออกไปบ้างหลักสูตร ท้องถิ่นแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ หลักสูตรท้องถิ่นที่สร้างขึ้นเพ่ือกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เป็น หลักสูตรระยะส้ันเพื่อผู้เรียนในท้องถ่ินทุกวัย ทุกระดับอายุ หลักสูตรอีกประเภทหนึ่งเป็น หลักสูตรท้องถ่ินสาหรับเสริมหลักสูตรแกนกลางให้มีความสมบูรณ์ขึ้นหลักสูตรท้องถ่ินใน ลกั ษณะนจ้ี ะใช้รว่ มกบั หลกั สตู รแกนกลาง ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539) กล่าวว่า หลักสูตรท้องถ่ิน หมายถึง มวลประสบการณ์ท่ี สถานศึกษาหรือหน่วยงานและบุคคลในท้องถิ่นจัดให้แก่ผู้เรียนตามสภาพและความต้องการ ของ ท้องถน่ิ น้ันๆ อุดม เชยกีวงศ์ (2545) กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิน่ หมายถึง หลักสูตรท่ีสถานศึกษาหรือ ครูหรือผู้เรียนร่วมกันพัฒนาข้ึนเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้นาไปใช้ในชีวิตจริงเรียนแล้วเกิดการ เรียนรู้ สามารถนาไปใชอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ และเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องสงั คมอย่างมีความสขุ สาลี ทองธวิ (2543)ได้กล่าวไว้วา่ หลักสูตรทอ้ งถ่นิ หมายถึง ดงั น้ี 1. เนื้อหาสาระ โครงสร้าง การจัดเวลา การบรหิ ารหลกั สูตร ซงึ่ มาจากความต้องการของคนใน ท้องถิน่ เปน็ สาระ แนวคดิ หลักการทคี่ นในท้องถน่ิ ให้ความสาคญั และมองเหน็ ความจาเป็นท่ี จะต้องเรยี นรู้เพือ่ ความอยู่รอดและการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืนของทอ้ งถิ่นนั้นๆ 2. เปน็ หลักสูตรที่คนในท้องถ่นิ มสี ่วนร่วมในการสร้างอย่างเทา่ เทยี มกนั ครูและผ้บู ริหาร
2 กำรพฒั นำหลักสูตรทอ้ งถนิ่ สงดั อุทรานนั ท์ (2532) ได้เสนอวิธีการพฒั นาหลกั สูตรท้องถ่ิน 2 ลักษณะ คอื 1. การประเมินหลักสูตรแกนกลางให้เข้ากับหลักสูตรท้องถิ่น เน่ืองจากหลักสูตรที่ใช้ใน ประเทศไทยเป็นหลักสูตรในส่วนกลางและได้ใช้หลักสูตรเดียวกันท่ัวประเทศ เพื่อให้ประชาชนท่ัว ประเทศมีมาตรฐานขน้ั ตา่ ทางด้านการศึกษาในระดบั เดียวกัน การพัฒนาหลักสตู รเพ่อื ใชก้ ว้างขวางใน ระดับประเทศเช่นนี้จึงมีเน้ือหาสาระซ่ึงอาจไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ ท้องถ่ินอยู่บ้าง ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการจึงเปิดโอกาสให้ท้องถิ่นทาการปรับเน้ือหาของหลักสูตร บางส่วนให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความตอ้ งการของท้องถนิ่ ได้ 2. การสร้างหลกั สูตรยอ่ ยในระดับท้องถิ่นข้ึนมาเสริมหลกั สูตรแกนกลาง สาหรับนามาใช้ ในการจัดการเรยี นการสอนในโรงเรียน
3 กระบวนกำรพัฒนำหลักสตู รทอ้ งถ่นิ อดุ ม เชยกวี งศ์ (2545) กล่าวถงึ กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รทอ้ งถ่ิน ดังนี้ 1. การสารวจสภาพปัญหาชุมชน เปน็ การศึกษาความเปน็ อยูข่ องชมุ ชนและผเู้ รียน เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่ีตรงกับการพฒั นาหลกั สตู รทอ้ งถนิ่ อยา่ งแท้จริง 2. การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาและกาหนดความตอ้ งการ 3. การจัดทาผังหลกั สูตร 4. การเขียนแผนการสอน 4.1 การกาหนดหัวขอ้ เรื่อง 4.2 การเขียนสาระสาคัญ 4.3 การกาหนดขอบเขตเนอ้ื หา 4.4 การกาหนดจดุ ประสงคท์ ่ัวไปหรือจดุ ประสงคป์ ลายทาง 4.5 การกาหนดจดุ ประสงคเ์ ฉพาะหรอื จุดประสงค์นาทาง 4.6 การกาหนดกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.7 การกาหนดสือ่ การเรียนการสอน 5. การจดั การเรยี นการสอน 6. การประเมินผล นิรมล ศตวฒุ ิ (2543) กล่าวถงึ กระบวนการพัฒนาหลักสตู รท้องถ่ิน ตามขั้นตอน ดงั น้ี 1. จดั ตั้งคณะทางาน 2. ศึกษาและวเิ คราะหข์ ้อมูลพืน้ ฐาน 3. กาหนดจดุ มงุ่ หมายของหลักสูตร 4. เลือกและจัดเนอื้ หาและประสบการณก์ ารเรียนรู้ 5. กาหนดเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. ตรวจสอบคุณภาพหลักสตู รกอ่ นนาไปใช้ 7. เสนอขออนุมัตใิ ชห้ ลักสตู ร 8. นาหลกั สูตรไปใช้ 9. ประเมินหลักสูตร
4 ตัวอยำ่ งหลกั สตู รทอ้ งถ่ิน เร่อื ง ประเพณสี ำรทเดอื นสิบ : ทำบุญรบั ส่งตำยำยบ้ำนธรรมรัตน์ โรงเรียนบ้ำนธรรมรตั น์ ตำบลทองมงคลอำเภอบำงสะพำน สำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำ ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต ๑
5 1. ชือ่ หลกั สูตร หลักสูตรทอ้ งถิน่ เรอื่ งประเพณีสารทเดอื นสิบ : ทาบุญรับแต่งตายายบา้ นธรรมรตั น์ 2. ควำมสำคัญ ชุมชนบา้ นธรรมรัตนป์ ระกอบไปด้วยหม่ทู ่ี 4 หมู่ที่ 5 และหม่ทู ่ี 8 ของตาบลทองมงคล อาเภอบาง สะพาน รวมไปถงึ หมูท่ ่ี 1 และหมู่ที่ 7 ตาบลชา้ งแรก อาเภอบางสะพานนอ้ ย ประชากรสว่ นใหญ่อพยพมา จากจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุง ซึ่งเป็นจังหวัดทางภาคใต้และได้นาวัฒนธรรมและ ประเพณี ของภาคใต้ที่เคยปฏิบัติมาโดยเฉพาะประเพณีสารทเดือนสิบท่ีเป็นวัฒนธรรมท่ีนามาปฏิบัติ ตั้งแต่ก่อต้ังชุมชน บ้านธรรมรัตน์และวัดธรรมรัตน์ ต้ังแต่ พ.ศ. 2500 และได้ชื่อว่ามีหนึ่งเดียวในจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ซ่ึงประเพณีดังกล่าวจัดข้ึนเพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อญาติและบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ เพอ่ื ความสามัคคใี นหมู่ คณะและเพื่ออนรุ กั ษ์และสบื สานวฒั นธรรมประเพณีของชาวใต้ปัญหาอย่างหนึ่งที่ เกิดขึ้นในประเพณีสารท เดือนสิบพบว่าเด็กและเยาวชนยังไม่มีความรู้ความเข้าใจและไม่เห็นความสาคญั ของประเพณีดังกล่าว ส่วนใหญ่มาเพ่ือติดตามพ่อแม่ญาติพ่ีน้องมาร่วมทาบุญที่วัด ไม่เข้าใจขั้นตอนของ การประกอบพิธีกรรม ดังน้ันจึงมี ความจาเป็นอย่างย่ิงในการนาองค์ความรู้มาทาเป็นหลักสูตรท้องถิ่น เรอื่ งประเพณสี ารทเดือนสิบ : ทาบญุ รบั สง่ ตายายบ้านธรรมรตั น์ ข้นึ มา 3. จุดมงุ่ หมำย 1. เพอ่ื ให้นักเรียนเหน็ คุณคา่ และเกิดความภาคภมู ิใจในประเพณีสารทเดือนสิบ 2. เพอื่ อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดประเพณีสารทเดอื นสิบใหค้ งอยคู่ หู่ มูบ่ ้านธรรมรัตน์ 3. เพื่อสรา้ งความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งบ้านวัดและโรงเรยี น 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประเพณีสารทเดือนสบิ 2. เพื่อใหน้ ักเรียนเข้ารว่ มสืบสานประเพณีสารทเดอื นสบิ 5. เนอ้ื หำของหลกั สูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เร่ือง ดังน้ี 1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของประเพณีสารทเดอื นสบิ 2. หมรับและสงิ่ ของเครื่องใช้ในประเพณีสารทเดอื นสิบ 3. พิธกี รรมในประเพณีสารทเดอื นสบิ 4. การร่วมประเพณีสารทเดอื นสิบ
6. เวลำเรยี น 6 หลกั สูตรท้องถ่นิ เรือ่ งประเพณีสารทเดอื นสิบ : ทาบุญรบั ส่งตายายบา้ นธรรมรัตน์ ใชเ้ วลาเรียน ทั้งหมดตามรายละเอียดดงั นี้ *ระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 2-3 จานวนชน้ั ละ 1 หน่วยประสบการณ์ *ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 แบง่ เป็นช่วงชัน้ ละ 5 ชัว่ โมง (ประมาณเดือน กันยายน) โดยจดั ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ แบง่ เปน็ ป.1-ป.3 จานวน 5 ชว่ั โมง แบ่งเป็น ภาคทฤษฎี 3 ชัว่ โมง ภาคปฏิบตั ิ 2 ช่วั โมง ป.4-ป.6 จานวน 5 ชั่วโมง แบง่ เปน็ ภาคทฤษฎี 3 ช่วั โมง ภาคปฏบิ ตั ิ 2 ช่ัวโมง ม.1-ม.3 จานวน 5 ชว่ั โมง แบ่งเป็น ภาคทฤษฎี 3 ช่ัวโมง ภาคปฏิบัติ 2 ชว่ั โมง รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 15 ช่ัวโมง โดยนักเรยี นทกุ คนมเี วลาเข้าร่วมประเพณีสารทเดือนส้นิ : ทาบญุ วันสง่ ตา ยายบา้ นธรรมรตั น์ ปลี ะ 2 วนั 7. แหล่งกำรเรียนรู้และส่ือประกอบกำรเรยี น 1. ศกึ ษาจากผ้รู ้แู ละภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น - พระครูพศิ าลธรรมาวุธ เจ้าอาวาสวดั ธรรมรัตน์ - พระครูธงชยั อาภสสโร พระรปู วดั ธรรมวตั น์ - นายเผือกชุลี - นางยินดี สุวรรณรตั น์ - นายวนิ ไชยแก้ว - นายสมศักดิ์ ประพนั ธบ์ ัณฑติ 2. ศึกษาจากเอกสารทางวิชาการ - หนังสอื ประวตั ิ โรงเรียน วดั และบา้ นธรรมรตั น์ - หนังสอื ประเพณีท้องถนิ่ ภาคใต้ - โครงการศึกษาเฉพาะเร่อื งการอนรุ กั ษ์ประเพณีสารทเดือนสบิ ชุมชนบ้านธรรมรัตน์ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ - วิทยานิพนธ์เรือ่ งการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เรอื่ ง ประเพณกี ารทาบุญวันสารทเดือนสิบ สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 - วิทยานิพนธ์เรอื่ งการพัฒนาหลกั สูตรท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี เรื่องการทาขนมประเพณีทาบุญวนั สารทเดือนสบิ ของจงั หวดั สงขลา สาหรบั นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 3. ศกึ ษาจาก VCD, Website - SCOOP งานเดือนสอบวดั ธรรมรตั น์ (www.youtube.com/wath) - www.facebook.com/notes/ปากพนงั /งานเดือนส้ินนครศรีธรรมราช
7 8. กำรวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรม 2. ทดสอบ 3. ตรวจชิ้นงาน 9. โครงสรำ้ งเนือ้ หำของหลังสูตร เนอ้ื หำหลัก เนอื้ หำย่อย เวลำ ประวตั ิความเป็นมาของประเพณี - ตน้ กาเนดิ ของประเพณสี ารทเดอื นสิบของ 1 ชม. ภาคใต้ 2 ชม. 2 ชม. - ความเปน็ มาของการเกดิ ประเพณขี องวนั 2 วัน สารทเดือนสิบของชมุ ชนบา้ นธรรมรตั น์ -วันแรม 1 ค่า เดือน 10 - วัตถุประสงค์ของประเพณีสารทเดอื นสิบ (บญุ แรก) -วนั แรก 15 ค่า - หลังธรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ประเพณีสารท เดอื น 10 (บุญหลงั ) เดอื นสิบ หมรบั และสิ่งของเคร่อื งใชใ้ น - การจดั หมรบั ประเพณีสารทเดือนสบิ - ขนมเดอื นสบิ พิธกี รรมในประเพณีสารทเดือน - การจดั เตรยี มพธิ ี สิบ - การยกหมรับ - การตง้ั เปรต - การฉลองหมรบั และการบงั สกุ ลุ - เกมการละเล่นตามวิถชี วี ติ ปักษ์ใต้ การรว่ มประเพณสี ารทเดอื นสิบ - เขา้ รว่ มประเพณีสารทเดือนสิบกบั ชมุ ชน
8 ตวั อย่ำงหลักสตู รทอ้ งถ่นิ เรอ่ื งกำรทำขำ้ วเกรียบว่ำวสมุนไพร กล่มุ สำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 โรงเรยี นอนุบำลชมุ ตำบง สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนครสวรรคเ์ ขต 2 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
9 หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องกำรทำข้ำวเกรียบว่ำวสมุนไพร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษำปีที่ 6 หลักกำร พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 27 กาหนดให้สถานศกึ ษา ขัน้ พื้นฐานมี หน้าที่ จดั ทาสาระของหลักสูตรในส่วนท่ีเกยี่ วกับสภาพปญั หาในชมุ ชน และสงั คม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น คณุ ลกั ษณะอัน พึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ มาตรา 29 ให้ สถานศึกษา ร่วมกันบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร วิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัด กระบวนการเรยี นรู้ ภายในชมุ ชนเพื่อใหช้ ุมชนมีการจดั การศกึ ษา อบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ขอ้ มูลขา่ วสารและรู้จักเลอื กสรรภูมิ ปัญญาเละวิทยาการต่างๆ เพ่ือพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการรวมทั้งวิธีการ สนบั สนุนให้มกี ารแลกเปลยี่ นประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชุมชน ดังน้นั สถานศึกษาจึงตอ้ งพัฒนาหลกั สตู ร เฉพาะท้องถ่ินเพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยการจัดการ เรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพและความ ต้องการของทอ้ งถนิ่ เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนนาความรู้ ประสบการณไ์ ปพัฒนา ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและเพือ่ ปลกู ฝัง ให้ผู้เรียนมีความรักความภูมิใจผูกพันกับท้องถ่ินของตน มาตรา 7 ได้บัญญัติไว้ว่า “ในกระบวนการเรียนรู้ ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกท่ีถูกต้องเก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็ นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ไดร้ ู้และเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง” ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนให้ความสาคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมากข้ึน เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เกี่ยวกับท้องถ่ินของตน สร้างความเชื่อมโยงการเรียนรู้กับสภาพแวดล้อมในชีวิตจริง การเช่ือมโยงระหว่าง การเรียนที่บ้าน โรงเรียนและชุมชนและเชื่อมโยงให้เข้ากับหลักเศรษฐกิจพอเพียงดังพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2559 ความว่า“ความ พอเพยี งไมไ่ ดห้ มายความว่าทกุ ครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตวั จะตอ้ งทอผา้ ใส่เอง อยา่ งนัน้ มนั เกินไป แต่ ว่าในหมู่บ้าน หรือในอาเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางส่ิงบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความ ต้องการขายได้ แต่ขายในท่ีไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก” ในท้องถ่ินท่ีตั้งของโรงเรียนบ้าน คลองสมบูรณ์ คนในท้องถ่ินส่วนใหญ่อพยพมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือและรับประทานข้าวเหนียวเป็น อาหารหลัก จึงนิยมปลูกข้าวเหนียวและนาข้าวเหนียวมาทาข้าวเกรียบว่าวในวันสาคัญทางศาสนา หรืองาน ประเพณงี านบญุ ตา่ งๆ และ นาข้าวเกรียบว่าวไปถวายพระ หรอื ทาเปน็ อาหารวา่ ง ซึ่งเปน็ ภมู ปิ ัญญาในทอ้ งถนิ่ ท่ีควรส่งเสริมและสืบทอดเพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้มีความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ รว่ มกับการรกั ษาภูมิปัญญาในท้องถ่ินของตนไว้โดยการทาขา้ วเกรียบวา่ วสมุนไพรตามความต้องการชมุ ชน
10 จดุ มุง่ หมำย 1. เพ่ือใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเรอ่ื งการทาขา้ วเกรยี บวา่ วสมนุ ไพร 2. เพ่ือใหน้ ักเรยี นทาข้าวเกรียบวา่ วสมนุ ไพรได้ 3. เพอื่ ให้นกั เรียนมีนิสัยรักการทางานเละทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ 4. เพ่อื ให้นักเรยี นมีความภาคภูมิใจในภูมิปญั ญาและความสามารถของบคุ คลในท้องถน่ิ โครงสร้ำงหลงั สตู ร โครงสรำ้ งหลังสตู รทอ้ งถน่ิ เรอื่ งกำรทำข้ำวเกรียบวำ่ วสมนุ ไพร กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้กำรงำนงำนอำชพี และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท6ี่ เวลำเรียน 12 ช่วั โมง กจิ กรรมท่ี เรือ่ ง จุดประสงค์กำรเรียนรู้ สำรกำรเรยี นรู้ เวลำ (ช่ัวโมง) 1 1.ความเปน็ มาของข้าว 1.บอกความเป็นมาของขา้ ว 1.ความเปน็ มาของ 2 เกรยี บวา่ วและลักษณะ เกรยี บวา่ วได้ ข้าวเกรียบว่าว ของข้าวเกรยี บว่าว 2.บอกลักษณะของขา้ ว 2.ลักษณะของข้าว 2.วสั ดุ อุปกรณ์ และ เกรยี บว่าวได้ เกรียบวา่ ว สว่ นผสมท่ีใช้ในการทา 3.สามารถบอกวัสดอุ ุปกรณ์ 3.วัสดุอุปกรณ์และ ขา้ วเกรียบว่าวสมนุ ไพร และสว่ นผสมท่ใี ช้ในการทา สว่ นผสม ที่ใชใ้ นการ ขา้ วเกรยี บว่าวได้ ทาขา้ วเกรยี บว่าว 2 1.สมุนไพรในทอ้ งถ่ิน 1.บอกชือ่ สมนุ ไพรที่มใี น 1.สมนุ ไพรในทอ้ งถิน่ 4 2.ประโยชน์ทไี่ ดจ้ าก ทอ้ งถน่ิ ได้ 2.ประโยชนท์ ี่ได้จาก สมนุ ไพร 2.บอกประโยชนข์ อง สมนุ ไพร 3.วิธีการนาสมุนไพรมา สมนุ ไพรในทอ้ งถิ่นได้ 3.วิธกี ารนาสมุนไพร ใช้ 3.เลือกสมุนไพรมาใชเ้ ป็น มาใชเ้ ปน็ ส่วนผสม สว่ นผสมของข้าวเกรียบว่าว ของขา้ วเกรียบวา่ ว ได้ สมุนไพร 3 ขัน้ ตอนในการทาข้าว 1.สามารถทาข้าวเกรยี บว่าว 1.การทาข้าวเกรยี บ 6 เกรยี บว่าวสมนุ ไพร สมนุ ไพรได้ วา่ วสมุนไพร 2.การแสดงผลงาน
11 ตำรำงวิเครำะหห์ ลักสตู รท้องถิ่นเรื่องกำรทำข้ำวเกรียบวำ่ วสมนุ ไพร กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยชี น้ั ประถมศึกษำปีที่ 6 สำระ จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ กำรจดั กิจกรรม 1.ขา้ วเกรียบว่าว 1.บอกความเป็นมาของขา้ วเกรยี บวา่ ว 1.ศกึ ษาความเปน็ มาของ - ความเป็นมาของข้าว 2.บอกลกั ษณะของข้าวเกรยี บวา่ ว ข้าวเกรยี บว่าว เกรียบว่าว 3.สามารถบอกวสั ดุ อุปกรณแ์ ละ 2.อภิปรายเก่ียวกบั ลกั ษณะ - ลกั ษณะของข้าวเกรียบ สว่ นผสมในการทาข้าวเกรยี บวา่ วได้ ของข้าวเกรียบว่าว ว่าว 3.บอกและอธบิ ายชอ่ื วสั ดุ - วสั ดุ อุปกรณแ์ ละส่วน 1.บอกชอ่ื สมนุ ไพรทม่ี ใี นทอ้ งถิ่นได้ อุปกรณ์และส่วนผสมท่ใี ช้ใน ผสมท่ีใชใ้ นการทาขา้ ว 2.บอกประโยชนข์ องสมุนไพรในท้องถ่นิ การทาข้าวเกรยี บว่า เกรยี บวา่ ว ได้ 3.เลือกสมนุ ไพรมาใชเ้ ป็นส่วนผสมของ 1.ศกึ ษาและสารวจพืช 2.สมุนไพร ข้าวเกรยี บวา่ วได้ สมนุ ไพรในท้องถิ่น - สมนุ ไพรในท้องถิ่น 2.ศึกษาและบอกประโยชน์ - ประโยชนท์ ีไ่ ดจ้ าก ของสมนุ ไพรในท้องถ่นิ สมนุ ไพร 3.ศึกษาวิธีการนาสมุนไพร - วิธีการนาสมนุ ไพรมาใช้ มาใช้ (สีและกลิน่ ) 1.ศกึ ษาข้ันตอนการทาข้าว 3.การทาข้าวเกรยี บวา่ วสมุนไพร 1.อธบิ ายข้ันตอนการทาขา้ วเกรยี บวา่ ว เกรียบวา่ วสมนุ ไพร 2.ลงมอื ปฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอน - ขั้นตอนในการทาข้าว สมุนไพรได้ การทาข้าวเกรียบวา่ ว สมนุ ไพร เกรียบวา่ วสมุนไพร 2.สามารถทาข้าวเกรียบว่าวสมนุ ไพรได้ 3.นาผลงานมาจัดแสดง 3.มคี วามภาคภมู ใิ จในผลงานของตนเอง
12 สำระกำรเรยี นรู้ หลักสูตรท้องถ่ิน เรื่องการทาข้าวเกรียบว่าวสมุนไพรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้จัดประสบการณ์ สาระการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะในการปฏิบตั ิงาน มี คุณลักษณะที่ดีใน การทางาน เพ่ือเป็นพื้นฐานในการพัฒนาคน พัฒนาอาชีพและพัฒนาสังคม จึงได้กาหนด สาระการเรียนรู้ให้ ผเู้ รยี นไดเ้ รยี น เรียงตามลาดับดังน้ี 1. ข้าวเกรียบวา่ ว - ความเปน็ มาของขา้ วเกรียบวา่ ว - ลักษณะของข้าวเกรียบว่าว - วสั ดุ อปุ กรณ์และสว่ นผสมทใ่ี ชใ้ นการทาข้าวเกรียบว่าว 2. สมนุ ไพร - สมนุ ไพรในทอ้ งถน่ิ - ประโยชน์ทีไ่ ดจ้ ากสมุนไพร - วธิ ีการนาสมุนไพรมาใช้ 3. การทาขา้ วเกรียบว่าวสมุนไพร - ขั้นตอนในการทาขา้ วเกรียบว่าว อัตรำเวลำเรยี น อัตราเวลาเรียน ใช้เวลาทัง้ หมดในการตกอกรรม จานวน 12 ชัว่ โมง ตำรำงวเิ ครำะห์เน้อื หำคำบเวลำเรียน หลักสตู รท้องถน่ิ เรอ่ื งกำรทำข้ำวเกรยี บว่ำวสมนุ ไพร กลุ่มสำระกำรเรยี นร้กู ำรงำนอำชพี และเทคโนโลยชี นั้ ประถมศึกษำปีที่ 6 กจิ กรรม เรอื่ ง เวลำ (ช่ัวโมง) หมำยเหตุ กิจกรรมที่ 1 - ความเปน็ มาของข้าวเกรยี บว่าว ขา้ วเกรียบว่าว - ลกั ษณะของขา้ วเกรยี บว่าว 2 - วัสดุ อุปกรณแ์ ละส่วนผสมท่ีใช้ใน การทาขา้ วเกรียบวา่ ว กิจกรรมท่ี 2 - สมนุ ไพรในท้องถ่นิ สมุนไพร - ประโยชนท์ ไ่ี ด้จากสมนุ ไพร 4 - วธิ ีการนาสมนุ ไพรมาใช้ กิจกรรมที่ 3 - ขัน้ ตอนในการทาข้าวเกรยี บวา่ ว การทาข้าวเกรยี บวา่ ว สมุนไพร 6 สมุนไพร - การแสดงผลงาน
13 แนวกำรจัดกิจกรรม เพื่อให้การจัดกิจกรรมตามหลักสูตรท้องถ่ิน เร่ือง การทาข้าวเกรียบว่าวสมุนไพร กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประสบความสาเรจ็ ตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้จึงกาหนดแนวดาเนินการ จดั กจิ กรรมไวด้ ังนี้ 1. การจดั กิจกรรมให้ยดื หยนุ่ ตามสภาพและความเหมาะสมของท้องถ่ิน 2. การจัดกิจกรรมโดยการยดึ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของ ผเู้ รียน ให้โอกาสนักเรยี นไดแ้ สดงความสามารถอย่างเทา่ เทียมกัน 3. ครผู ู้สอนเป็นผูใ้ หค้ วามร้ใู นเรอื่ งเนอ้ื หาและภาคทฤษฎี และวทิ ยากรท้องถนิ่ ทมี่ ีความรู้ ความชานาญในการทาข้าวเกรียบว่าวสมุนไพร จะเปน็ ผ้ใู ห้ความร้เู สรมิ และคอยให้คาแนะนาในการ ลงมือปฏบิ ตั ิ 4. การจดั ตารางเรยี นควรยดื หยุ่นตามเนอ้ื หาท่กี าหนดแต่ละคร้งั เพ่ือความสะดวกในการสอน ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติ 5. จัดกจิ กรรมโดยเน้นกระบวนการกลมุ่ 6. การจดั กจิ กรรมภาคปฏิบตั ิโดยวิธกี ารให้วิทยากรทอ้ งถน่ิ สาธติ ให้ดูแลว้ ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏิบัติ 7. การจัดกจิ กรรมควรจัดให้ผู้เรียนมโี อกาสฝกึ ปฏบิ ตั ิอยา่ งต่อเนือ่ งตามขนั้ ตอน 8. เมือ่ สนิ้ สดุ การจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นจดั แสดงผลงาน สอ่ื และแหล่งกำรเรยี นรู้ 1. วทิ ยากรท้องถิ่น (แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทบคุ คล) 2. เอกสาร ตาราเกย่ี วกบั การทาขา้ วเกรยี บวา่ วสมนุ ไพร 3. ขา้ วเกรียบวา่ วสมุนไพรชนิดต่างๆ 4. วัสดุ อปุ กรณ์ ทใี่ ชใ้ นการทาข้าวเกรียบว่าวสมุนไพร 5. ใบความรู้ 6. ใบงาน
14 กำรวดั และประเมนิ ผล การวดั และประเมินผลระหวา่ งเรียนและหลงั เรยี นตามจุดมุ่งหมายทีก่ าหนด โดยเน้น ให้ครอบคลุม ทงั้ ด้านความรู้ ทักษะการปฏิบตั ิงานของนกั เรยี นดังน้ี เคร่อื งมือการวัดและประเมินผล ไดแ้ ก่ 1. แบบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เกณฑ์การวัดและประเมินผล นกั เรยี นทเ่ี รียนจบหลักสูตรท้องถ่ิน เร่ือง การทาขา้ วเกรียบวา่ วสมุนไพร กลุ่ม สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หลังเรียนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80 2. แบบประเมินทกั ษะการปฏบิ ัติงานของนกั เรยี น เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล ทกั ษะการปฏบิ ตั ิงานของนักเรียน โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนนทกั ษะการปฏบิ ัติงาน ของนักเรยี น ดงั นี้ ดีมาก ให้ 5 คะแนน ดี ให้ 4 คะแนน ปานกลาง ให้ 3 คะแนน พอใช้ ให้ 2 คะแนน ปรับปรงุ ให้ 1 คะแนน เกณฑใ์ นการประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัติงานของนักเรียน ดังนี้ ค่าเฉล่ีย 4.50 - 5.00หมายถึง นักเรียนมีทักษะการปฏบิ ตั ิงาน ในระดับมากท่สี ดุ คา่ เฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถงึ นกั เรยี นมีทักษะการปฏบิ ตั งิ าน ในระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 2.50 - 3.49 หมายถงึ นกั เรยี นมีทักษะการปฏบิ ตั งิ าน ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉล่ยี 1.50 - 2.49หมายถึง นักเรยี นมที กั ษะการปฏิบัตงิ าน ในระดับน้อย ค่าเฉล่ยี 1.00 - 1.49 หมายถงึ นกั เรียนมที ักษะการปฏิบัตงิ าน ในระดบั น้อยที่สดุ
15 หลักสูตรทอ้ งถ่ิน เร่อื ง กำรนวดแผนไทยเพ่ือสุขภำพ นำงสำวธรี ำวรรณ แกว้ ศิริ โรงเรยี นบำ้ นคำเลำะ สงั กัดสำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำอดุ รธำนี เขต 3 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
16 ควำมเป็นมำ การนวดไทยเป็นท้ังศาสตรแ์ ละศิลปะที่มีมาแต่โบราณ เกิดจากสัญชาตญาณเบื้องต้นของการอยรู่ อด เมอ่ื มอี าการปวดเมื่อยหรือเจ็บปว่ ยตนเองหรือผทู้ ี่อยู่ใกล้เคยี งมักจะลูบไลบ้ ีบนวดบริเวณดงั กล่าว ทาให้อาการ ปวดเม่ือยลดลง เริ่มแรกๆ ก็เป็นไปโดยมิได้ตั้งใจ ต่อมาเริ่มสังเกตเห็นผลของการบีบนวดในบางจุด หรือบาง วิธี ที่ได้ผลจึงเก็บไว้เป็นประสบการณ์ และกลายเป็นความรู้ท่ีสืบทอดกันต่อๆ มา จากรุ่นหน่ึงไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ความรู้ทีไ่ ดจ้ งึ สะสมจากลักษณะงา่ ยๆ ไปส่คู วามสลบั ซับซ้อน จนสามารถสร้างเปน็ ทฤษฎกี ารนวด จึงกลายมา เป็นศาสตร์แขนงหน่ึงท่ีมีบทบาทบาบัดรักษาอาการและโรคบางอย่าง เมื่อพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ผ่านมา ทางประเทศจีน และเข้ามาสู่เมืองไทย โดยการนา ของพระสงฆ์ หลักฐานการนวดท่ีเก่าแก่ที่สุดคือ ศิลาจารึก ท่ี ขดุ พบทป่ี า่ มะมว่ งในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง ในสมัยโบราณนนั้ ความรูเ้ กยี่ วกบั การแพทย์ และการนวดของ ไทย จะส่ังสอนสืบต่อกัน เป็นทอด ๆ โดยครูจะรับศิษย์ไว้ แล้วค่อยส่ังค่อยสอนให้จดจาความรู้ต่าง ๆ ซ่ึง ความรู้ ทีส่ บื ทอดกนั มานั้น อาจเพิม่ ข้นึ สญู หาย หรอื ผิดแปลกไปบา้ ง การนวดแผนไทยเป็นศาสตร์และศิลปะประจาชาติซ่ึงมีบทบาทในการแก้ไขปัญหา ความเจ็บปวด ต่างๆ ของคนไทย ต้ังแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน การดาเนินการฟ้ืนฟู การนวดแผนไทยท่ีผ่านมา ในภาค ประชาชน และภาครัฐ ได้ทาให้การนวดไทย เป็นท่ียอมรับของสังคม การแพทย์แผนไทย ที่มีบทบาทในการ สร้างเสริมสุขภาพและบาบัดรักษาอาการป่วยของประชาชนมากย่ิงข้ึน ด้วยเห็นความสาคัญน้ี ทาให้ผู้สอน จัดทาหลักสูตร นวดแผนไทย ประเภทการนวดศีรษะ และนวดไหล่ นวดแขน ขา กดจุดคลายเครียด สาหรบั การอบรม และการถ่ายทอดความรู้ ของวิทยากร เพื่อให้เป็นมาตรฐานในการเรียน การสอน การประเมินผล และการทดสอบ ความรู้ ความสามารถซ่ึงผู้เรียน สามารถนาไปประกอบอาชีพ พร้อมท้ังสร้างรายได้ อาชีพ การ นวดเพอ่ื สขุ ภาพจึงเป็นอาชีพหนึง่ ที่มคี วามสาคัญในชุมชนและเปน็ อาชีพหนึ่งท่ีสามารถสร้างรายได้ให้กับ บุคคล และครอบครัวได้อย่างม่ันคงหลักสูตรอาชีพการนวดเพื่อสุขภาพน้ี จึงเป็นทางเลือกหน่ึงในการทา กจิ กรรมของนกั เรียน
17 เป้ำหมำยของหลกั สูตร หลกั สูตรสถานศึกษา เร่ืองการนวดแผนไทย เปน็ สว่ นหนงึ่ ของสถานศึกษาท่ีมุง่ พัฒนาผเู้ รียน ให้เปน็ มนษุ ย์ทส่ี มบูรณท์ ้ังร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา สงั คม เปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสุข จงึ กาหนดเปา้ หมายไวด้ งั น้ี 1. นักเรยี นเหน็ ความสาคัญของการอนรุ กั ษ์ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ 2. มที กั ษะกระบวนการทางานโดยการทางานเปน็ ข้นั ตอน 3. มีความขยนั หมั่นเพียร มีวินยั มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม อนั พงึ ประสงค์ 4. มีจิตสานึกในการอนรุ ักษ์และเห็นคณุ ค่าของภูมิปญั ญาท้องถ่นิ 5. นักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดา้ นความรู้ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามมาตรฐานการเรียนร้ขู องหลักสตู รสถานศกึ ษา หลักกำรและเหตุผล 1. ส่งเสรมิ ความสมั พันธ์อันดี ระหว่างโรงเรียนกบั ชุมชนโดยต่างฝา่ ยต่างมี ส่วนรว่ มในการ แกป้ ัญหา คือโรงเรยี นให้นักเรียนศกึ ษาข้อมูลจากชมุ ชน ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ใหโ้ รงเรียน ส่งผลให้ เกิดความรว่ มมือ ในการแก้ปัญหาของชมุ ชนโดยใหช้ มุ ชน เตระหนักถึงการอนรุ ักษ์ภมู ิปัญญาท้องถิ่น 2. เปล่ียนแปลงกระบวนการเรียนร้ขู องนักเรยี นจากการท่องจาตามหนงั สอื มาเป็นการลง มือฝกึ ปฏบิ ัติ จริงด้วยตนเอง 3. เปลีย่ นแปลงกระบวนการสอนของครู จากการท่ีมีครูเป็นศนู ยก์ ลาง มาเป็นการใช้แหล่ง เรียนรู้ใน ชมุ ชนเปน็ ท่ศี ึกษาหาความรู้ นักเรยี นเปน็ ผูล้ งมือปฏบิ ัตโิ ดยมคี รู และวทิ ยากรท้องถิ่นเปน็ ผู้ดแู ล ใหค้ าปรึกษา แนะนา ส่งเสรมิ สนบั สนุน สรา้ งบรรยากาศ ใหน้ ักเรียนเกดิ ความสนใจในการ เรยี นรแู้ ละทากิจกรรม 4. เกิดการเรียนรูจ้ ากภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ อนั นาไปสกู่ ารพัฒนาหลักสูตรเก่ียวกับกจิ กรรมการ เรยี น การสอน ทเี่ รยี กวา่ หลักสตู รทอ้ งถ่นิ หรือหลักสูตรสถานศกึ ษา
18 วิสยั ทศั น์ หลักสูตรสถานศึกษา เรื่องการนวดแผนไทย เป็นเน้ือหาเก่ียวกับสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี เป็นสาระที่เน้นกระบวนการทางาน และการจัดการอย่างเป็นระบบ พัฒนาความคิด สร้างสรรค์ มีทักษะการออกแบบงาน และการทางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ ตลอดจนนาเทคโนโลยีมาใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการทางาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง พฒั นาความคิดให้เต็มศกั ยภาพ เนน้ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อมและพลงั งาน อยา่ งประหยัดและ คุ้มค่า ให้ความสาคัญเก่ียวกับ ความรู้ ความสัมพันธ์ของตนเอง ของครอบครัว และชุมชน ที่มีศอการ อนุรักษส์ ่งิ แวดล้อม โดยศึกษาเก่ยี วกบั ประวัติและความเป็นมาของการนวดแผนไทย ประเภทของการนวด แผนไทย ประโยชนข์ องการนวดแผนไทย ความรู้ท่ีจาเป็นสาหรับการนวดแผนไทย ข้อห้ามและข้อควรระวังในการนวดแผนไทย ข้อปฏิบัติหลังการ นวด ของผู้นวดและผู้ถูกนวด ความรู้เกี่ยวกับโรคทางหัตถเวช (นวดแบบราชสานัก) ทฤษฎีเส้นประธานสบิ และ ทักษะพ้ืนฐานการนวดแผนไทย รู้จักการทางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีและ เทคโนโลยี สารสนเทศ ตลอดจนนาเทคโนโลยีมาใช้ และประยุกต์ใช้ในการทางาน รู้จักการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและพลังงานอย่างประหยัด และคุ้มค่า ได้รับการปลูกฝังและพัฒนาให้มี คุณธรรม จริยธรรม การเรียนรู้จากการทางานและการแก้ปัญหา เป็นการเรียนรู้จากการบูรณาการความรู้ ทกั ษะและความดี ทห่ี ลอมรวมกัน จนกอ่ ใหเ้ กิดเป็นลักษณะของผเู้ รยี น ท้ังดา้ นคุณธรรม ตามมาตรฐานการ เรียนรูท้ ่ีสถานศกึ ษากาหนด จุดมุ่งหมำย เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ลักษณะดังน้ี 1. มีความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชีพ สามารถสรา้ งรายไดท้ ม่ี น่ั คง ม่งั ค่ัง 2. เปน็ แนวทางพ้นื ฐานในการประกอบอาชีพใหส้ อดคล้องกับศกั ยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมี คุณธรรม จริยธรรม 3. มเี จตคตทิ ีด่ ใี นการทากจิ กรรมการนวดแผนไทย 4. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและฝึกทักษะการนวดแผนไทยอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5. มโี ครงการประกอบอาชพี เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเองตอ่ ไป
19 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลกั สูตรสถานศึกษา เรอื่ งการนวดแผนไทย มดี ังน้ี 1. เห็นความสาคัญของการอนรุ กั ษ์ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ 2. รับขอ้ มลู อย่างมีวิจารณญาณ 3. วิเคราะหข์ อ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ 4. รู้จกั เลือกแนวทางในการแกป้ ญั หา 5. ปฏิบตั ิตามแผนงานท่ีวางไว้ตามข้ันตอน 6. ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน ความภาคภูมิใจกับผลสาเรจ็ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ง1510 การงานอาชพี และเทคโนโลยี เวลา 40 ชั่วโมง ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 ศกึ ษาประวตั แิ ละความเป็นมาของการนวดแผนไทย ประเภทของการนวดแผนไทย บอกประโยชน์ ของการ นวดแผนไทย อธิบายความรู้ที่จาเป็นสาหรับการนวดแผนไทย ข้อห้าม และข้อควรระวังในการนวด แผนไทย ข้อ ปฏิบัติหลังการนวดสาหรับผู้นวดและผู้ถูกนวด อธิบายแนวการนวดพื้นฐาน ขา, หลัง, แขน, ไหล่, บ่า, และศีรษะ ปฏิบัติการฝึกกาลังนิ้วมือ สามารถนวดพื้นฐาน ขา , หลัง, แขน, ไหล่, บ่า และศีรษะ ได้วิเคราะห์งานวางแผนการ ดาเนินงาน ปฏิบัติงานตามแผนและประเมินการดาเนินงาน มีสัมพันธภาพที่ดี ในกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหา หาสาเหตุ และแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีการท่ีเหมาะสม มคี วามสุขในการทางาน ทางานรว่ มกับ ผ้อู น่ื ได้และมคี วามภาคภูมิใจในผลงาน ตวั ชวี้ ัด ง 1.1 ป. 5/1 ป. 5/2 ป. 5/3 ง 2.1 ป. 5/1 ป. 5/2 ป. 5/3 ง 3.1 ป. 5/1 ป. 5/2 ป. 5/3 ป. 5/4 ป. 5/5 ง 4.1 ป. 5/1 ป. 5/2 รวม 13 ตวั ช้วี ดั
20 สำระกำรเรียนรู้ สาระทีเ่ ป็นองค์ความรใู้ นหลักสูตร เรื่อง การนวดแผนไทย ประกอบด้วย 7 สาระ ดงั น้ี สาระท่ี 1 ประวตั ิและความเป็นมาของการนวดแผนไทย สาระท่ี 2 ประเภท และ ประโยชน์ของการนวดแผนไทย สาระที่ 3 ความรทู้ จ่ี าเป็นสาหรบั การนวดแผนไทย สาระที่ 4 ข้อห้าม ข้อควรระวังและข้อปฏิบัตหิ ลังการนวดแผนไทย สาระที่ 5 ความรู้เกยี่ วกบั โรคทางหตั ถเวช สาระท่ี 6 ทฤษฎเี ส้นประธานสบิ สาระที่ 7 ทักษะพ้นื ฐานการนวดแผน สำระกำรเรียนร้แู ละมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระ มำตรฐำน มาตรฐาน สาระท่ี 1 ประวตั ิ และความเป็นมาของ มาตรฐานท่ี 1.1 ร้แู ละเข้าใจประวัติและความ การนวดแผนไทย เปน็ มาของการนวดแผนไทย เป็นมาของการนวด แผนไทย สาระท่ี 2 ประเภทประโยชนข์ องการนวดแผนไทย มาตรฐานที่ 2.1 รแู้ ละเขา้ ใจประเภท และลักษณะ การนวดของการ \"นวดแผนไทยแต่ละประเภท มาตรฐานที่ 2.2 รแู้ ละเข้าใจประโยชน์ของการ นวดแผนไทย สาระท่ี 3 ความรู้ท่ีจาเป็นสาหรบั การนวดแผนไทย มาตรฐานที่ 3.1 รแู้ ละเข้าใจการเตรยี มร่างกาย ของผนู้ วด มาตรฐานที่ 3.2 รแู้ ละเข้าใจแนวทางปฏิบัติ การนวด มาตรฐานท่ี 3.3 เข้าใจและมีทกั ษะใน การแต่งรสมือ มาตรฐานท่ี 3.4 เข้าใจและมีทกั ษะการลงจังหวะ นิ้วมือในการนวด มาตรฐานท่ี 3.5 เข้าใจและมี ทักษะการกาหนดลมหายใจ มาตรฐานท่ี 3.6 รแู้ ละเขา้ ใจ มารยาทในขณะทา การนวด
สาระที่ 4 ขอ้ ห้าม ข้อควรระวัง 21 และ ข้อปฏิบัตหิ ลังการนวดแผนไทย สาระที่ 5 ความรู้เกย่ี วกบั โรคทางหัตถเวช มาตรฐานที่ 4.1 รแู้ ละเขา้ ใจข้อหา้ มและข้อควร สาระที่ 6 ทฤษฎีเส้นประธานสบิ ระวังของการ นวดแผนไทย มาตรฐานท่ี 4.2 รู้และเข้าใจข้อปฏบิ ัติหลงั การนวด สาระท่ี 7 ทกั ษะพื้นฐานการนวดแผนไทย สาหรับ ผูน้ วด และผูถ้ กู นวด มาตรฐานที่ 5.1 รู้และเข้าใจโรคท่สี ามารถนวดได้ และโรคท่ีหา้ มนวด มาตรฐานท่ี 6.1 รแู้ ละเขา้ ใจคุณลกั ษณะของเส้น ประธานสืบ มาตรฐานที่ 6.2 รแู้ ละเข้าใจลักษณะของอาการ และวธิ กี ารนวดแก้ไขอาการท่ี เกดิ จากเส้น ประธานสิบ ผดิ ปกติ มาตรฐานที่ 6.3 รู้และเข้าใจแนวของเส้นประธาน สบิ มาตรฐานท่ี 7.1 รแู้ ละเข้าใจ แนวการนวดพน้ื ฐาน และข้อควรระวงั ในการนวด ขา, หลัง, แขน, ไหล่, บา่ และ ศรี ษะ มาตรฐานท่ี 7.2 เขา้ ใจและมีทักษะการนวด พ้ืนฐานขา มาตรฐานท่ี 7.3 เข้าใจและมีทกั ษะการนวด พ้ืนฐานหลงั มาตรฐานท่ี 7.4 เข้าใจและมีทกั ษะการนวด พ้นื ฐานแขน มาตรฐานที่ 75 เข้าใจและมีทักษะการนวด พื้นฐานใหม่ มาตรฐานท่ี 7.6 เข้าใจและมีทกั ษะการนวด พ้ืนฐานบา่ มาตรฐานท่ี 7.7 เข้าใจและมีทักษะการนวด พืน้ ฐานศรี ษะ
22 สำระกำรเรียนรแู้ ละผลกำรเรียนรูท้ ี่คำดหวัง สำระท่ี 1 ประวตั ิและควำมเป็นมำของกำรนวดแผนไทย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนท่ีคำดหวงั มาตรฐานที่ 1.1. รูแ้ ละเขา้ ใจ 1. การนวดสมยั กรุงสุโขทยั 1. นักเรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ประวตั ิและความเปน็ มาของการ 2. การนวดสมัยกรุงศรีอยธุ ยา เกี่ยวกับประวตั แิ ละความเป็นมา นวดแผนไทย 3. การนวดสมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ของการนวดแผนไทย สำระที่ 2 ประเภท ประโยชนข์ องกำรนวดแผนไทย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้ ผลกำรเรยี นรทู้ ค่ี ำดหวงั มาตรฐานท่ี 2.1 รแู้ ละเข้าใจ 1. ประเภทของการนวดแผนไทย 1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ลักษณะการนวดแผนไทยแบบ ราชสานกั และแบบเลยศักดิ์ 2. ลกั ษณะการนวดไทยของแตล่ ะ เก่ียวกับประเภทของการนวดแผน ประเภท ไทย 3. ประโยชนข์ องการนวดแผนไทย 2. นกั เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 3.1 ประโยชน์เกย่ี วกบั การ ลกั ษณะการนวดแผนไทย แต่ละ ส่งเสริมสุขภาพ ดงั น้ี ประเภท 3.1.1 ประโยชน์ต่อระบบ 3. นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ การไหลเวียนของโลหติ ประโยชนข์ องการนวดแผนไทย 3.1.2 ประโยชนต์ อ่ ระบบ ทางเดินอาหาร 3.1.3 ประโยชนต์ ่อสว่ น ตา่ งๆ ของร่างกาย 3.1.4 ประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพดา้ นโรคภัย 3.1.5 ประโยชน์ต่อระบบ กล้ามเนื้อ 3.1.6 ประโยชน์ตอ่ ผวิ หนัง 3.1.7 ประโยชน์ต่อจิตใจ 3.2 ประโยชน์เพ่อื แก้ไข ขอ้ บกพร่องของรา่ งกาย
หน่วยกำร โครงสรำ้ งหลักสูตรสถำนศกึ ษำ เรื่องกำรนวดแผนไทย 23 เรยี นรู้ 1 สำระกำรเรยี นรู้ เวลำ (ช่ัวโมง) 2 ประวตั ิและความเป็นมาของการนวดแผนไทย 1. การนวดสมยั สโุ ขทยั 2 2. การนวดสมยั อยธุ ยา 3. การนวดสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ 2 ประเภทของการนวดแผนไทย 1. ประเภทของการนวดแผนไทย 6 2. ลักษณะการนวดแผนไทยของแตล่ ะประเภท ประโยชน์ของการนวดแผนไทย 2 1. ประโยชนต์ ่อระบบการไหลเวียนของโลหติ 2 2. ประโยชน์ตอ่ ระบบทางเดินอาหาร 3. ประโยชน์ต่อส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย 4. ประโยชนต์ ่อสขุ ภาพดา้ นโรคภยั 5. ประโยชนต์ ่อระบบกล้ามเนื้อ 6. ประโยชนต์ ่อผวิ หนัง 7.ประโยชน์ต่อจิตใจ 8. ประโยชน์เพื่อแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งของรา่ งกาย ความร้ทู ี่จาเปน็ สาหรบั การนวดแผนไทย 1. การฝกึ กาลังนว้ิ มือ 2.การรักษาสุขภาพทัว่ ไป 3 3. ศลี ของผนู้ วด 4. การลงนา้ หนกั น้ิวมือในการนวด คอื เบา ปานกลาง มาก 5. การลงจงั หวะนิว้ มอื ในการนวด คือ หนว่ ง เนน้ นิ่ง 6. การกาหนดลมหายใจ 7. มารยาทในขณะทาการนวด ข้อห้ามและข้อควรระวังในการนวดแผนไทย 1. ขอ้ หา้ มในการนวด 4 2. ขอ้ ควรระวงั ในการนวด ขอ้ ปฏบิ ัตหิ ลงั การนวด สาหรับผู้นวดและผถู้ ูกนวด 1. คาแนะนาสาหรับผ้นู วด 2. คาแนะนาสาหรบั ผถู้ ูกนวด ความรเู้ ก่ยี วกบั โรคทางหตั ถเวช (นวดแบบราสานกั ) 5 1. โรคทส่ี ามารถใช้การนวดรักษาได้ 2. โรคทีห่ ้ามนวด
ทฤษฎเี ส้นประธาน 24 1. ลกั ษณะและคุณลักษณะของเสน้ ประธาน 6 2. แนวของเสน้ ประธาน 8 3 ลักษณะของอาการทีเ่ กดิ จากเส้นประธานสิบผิดปกติ 4. การนวดเพื่อแก้ไขอาการท่ีเกดิ จากเสน้ ประธานสบิ ผิดปกติ 8 ทกั ษะพน้ื ฐานการนวดแผนไทย 1. แนวการนวดพน้ื ฐาน ขา หลัง แขน ไหล่ บ่าและศีรษะ 2. การนวดพ้ืนฐานขา 7 3. การนวดพื้นฐานหลัง 4. การนวดพน้ื ฐานแขน 5. การนวดพน้ื ฐานไหล่ 6. การนวดพนื้ ฐานบ่า 7. การนวดพืน้ ฐานศรี ษะ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ หนว่ ยกำร ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ เวลำเรียน หมำยเหตุ เรียนรู้ (ช่ัวโมง) 1 ประวตั แิ ละความเปน็ มาของการนวดแผนไทย 2 ประเภท ประโยชนข์ องการนวดแผนไทย 2 3 ความรทู้ ีจ่ าเป็นสาหรบั การนวดแผนไทย 2 4 ใสใ่ จขอ้ ห้าม ข้อปฏิบัตหิ ลังการนวด 6 5 ความร้เู กีย่ วกับโรคทางหตั ถเวช (นวดแบบราชสานกั ) 2 6 ทฤษฎีเสน้ ประธานสิบ 2 7 ทกั ษะพนื้ ฐานการนวดแผนไทย 8 18 รวม 40
25 แนวกำรจัดกำรเรยี นรู้ เพอ่ื ใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่องการนวดแผนไทย บรรลุตามวัตถุประสงค์ จึงกาหนด แนวทางไว้ดังน้ี 1. จัดการเรียนรตู้ ามความตอ้ งการของท้องถิ่น โดยให้ทอ้ งถิ่นมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาหลกั สูตร และมี การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอนจากวสั ดุทมี่ ีในท้องถิ่น 2. จัดการเรยี นรูโ้ ดยยึดผู้เรยี นเปน็ สาคญั เน้นให้ผ้เู รียนไดป้ ฏิบัติจรงิ มากท่สี ุด 3. จดั การเรียนรโู้ ดยเน้นกระบวนการกล่มุ 4. จดั การเรยี นรู้ ให้มกี ารเชื่อมโยงบรู ณาการระหวา่ งสาระตา่ ง ๆ 5. จดั กจิ กรรมให้ผูเ้ รียนนาความรูแ้ ละทักษะการนวดแผนไทย บรกิ ารนวดแผนไทยใหข้ มุ ชน 6. วดั ประเมินผลตามสภาพจรงิ 7. สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 8. จดั บรรยากาศใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นการสอน ใชแ้ หลง่ เรียนรใู้ นทอ้ งถิ่น ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 9. จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชว้ ทิ ยากรทอ้ งถ่นิ ในบางกิจกรรม 10. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังน้ี 10.1 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาคทฤษฎี ใช้การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบ ร่วมมือ (Cooperative Learning) ซึง่ มีขัน้ ตอนดังน้ี ขัน้ ที่ 1 ขน้ั เตรยี ม ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสอน ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั ทากจิ กรรมกลมุ่ ขั้นที่ 4 ขน้ั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขน้ั ท่ี 5 ขน้ั สรปุ บทเรียน ได้แก่ การเรยี น รว่ มเรียน ร่วมรู้ สบื ค้นเปน็ กลมุ่ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค STAD การ จดั การเรยี นรูแ้ บบจกิ ซอว์ (JIGSAW) 10.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนภาคปฏบิ ัติ ใช้การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) คือครผู สู้ อน และวิทยากร เป็นผ้สู าธิต ซึ่งมขี น้ั ตอนดังต่อไปน้ี ขน้ั ที่ 1 ข้ันเตรยี มการสอน ขั้นที่ 2 ขัน้ สาธิต ขนั้ ท่ี 3 ชนั้ สรุป ขน้ั ท่ี 4 ขั้นวดั ผล
26 กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ เพ่ือให้ทราบวา่ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา เรือ่ งการนวดแผนไทย ทา ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด จงึ กาหนดการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. การวัดประเมนิ ผลตามสภาพจริง 1.1 กิจกรรมสารวจ ตรวจสอบ 1.2 กิจกรรมศกึ ษาค้นควา้ 1.3 ทกั ษะการปฏิบตั ิ 1.4 เจตคติต่อการนวดแผนไทย 1.5 ความพึงพอใจต่อการเรียน ตามหลักสตู รสถานศึกษา เร่ืองการนวดแผนไทย 2. การวดั และประเมนิ ผล ด้านความสามารถ 2.1 ประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ัติ นวดแผนไทย 2.2 ให้ผู้เรียนบริการนวดแผนไทย แกช่ มุ ชน แลว้ พิจารณาระบวนการทางาน และผลสาเรจ็ ของ งานโดยให้ชมุ ชนร่วมในการวัดและประเมินผล 3. การประเมินผลโดยสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 3.1 ผลงานจากการร่วมทางานกล่มุ เมื่อครใู ห้ทางานกลุ่ม แลว้ ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางาน 3.2 ผลงานจากการทาแบบฝึกหัด ทาแบบทดสอบ และการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ส่อื /อุปกรณ์และแหลง่ เรยี นรู้ ในการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง การนวดแผนไทย ผ้เู รียนผ้สู อนสามารถศึกษาหาความรหู้ รอื เรียนรจู้ าก แหลง่ เรียนรทู้ ้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา ทม่ี ีอยดู่ ังนี้ 1.ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ที่มีความรคู้ วามสามารถ ผ้มู ีประสบการณ์ 2. แหลง่ วิทยาการตา่ งๆ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุด สถานีอนามยั โรงพยาบาล 3. สถานประกอบการ นวดแผนไทยทว่ั ไป 4. สื่อ ส่งิ พมิ พ์ต่างๆ เชน่ แผ่นพับ วารสาร หนังสอื เกี่ยวกับการนวดแผนไทย เป็นต้น 5. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น อนิ เทอร์เนต็ ซดี ี-รอม วีซีดี เป็นต้น
27 ขอ้ ปฏบิ ัติหลงั กำรนวด สำหรบั ผนู้ วดและผถู้ ูกนวด ขอ้ หำ้ มในกำรนวด 1. หา้ มนวดผทู้ ม่ี ไี ข้สงู เกิน 38.5 องศาเซลเซียส 2. หา้ มนวดบริเวณท่ีมีกระดูกแตก หัก ปริ ร้าว ทยี่ ังไมต่ ดิ ดี 3. ห้ามนวดบริเวณทเ่ี ป็นมะเร็ง 4. ห้ามนวดผทู้ ี่มคี วามดนั โลหติ สูง systolic สูงกว่าหรือเท่ากบั 160 mmHg และ/หรือdiastolic สูงกวา่ หรอื เทา่ กบั 100 mmHg ท่มี อี าการหนา้ มืด ใจสัน่ ปวดศีรษะ หรือคลื่นไส้อาเจียน 5. ห้ามนวดบริเวณทเี่ ปน็ แผลเปิด แผลเร้อื รงั หรอื บรเิ วณท่ีมรี อยโรคผวิ หนงั ท่สี ามารถติดต่อได้ 6. ห้ามนวดบรเิ วณท่ีมีการบาดเจ็บภายในเวลา 48 ชว่ั โมง 7. ห้ามนวดบรเิ วณท่ผี ่าตดั ภายในระยะเวลา 1 เดือน 8. ห้ามนวดบริเวณทมี่ ีหลอดเลือดดาอักเสบ 9. ห้ามนวดบุคคลที่เปน็ โรคติดเชอื้ เฉยี บพลัน 10. ห้ามนวดบคุ คลท่เี ป็นโรคกระดูกพรนุ รุนแรง ข้อควรระวงั ในกำรนวด 1. ในกรณีทนี่ วดท้องไมค่ วรนวดผู้ที่รบั ประทานอาหารอ่ิมใหม่ๆ (ไม่เกนิ 30 นาที) 2. ไม่นวดใหเ้ กิดการฟกช้ามากข้นึ หรอื มอี าการอักเสบซา้ ซ้อน 3. กรณผี ้สู ูงอายุ โรคประจาตัวบางอย่าง เช่น เบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง ต้องระมัดระวงั 4. ไม่ควรนวดผู้มีอาการอักเสบ ตดิ เชือ้ คือ มีไข้มากกวา่ 38 องศาเซลเซยี ส ปวด บวม แดง รอ้ น 5. ไม่ควรนวดผู้ทหี่ ลงั ประสบอุบตั ิเหตใุ หม่ๆ ควรไดร้ ับการชว่ ยเหลือขัน้ ด้น และตรวจวนิ ิจฉยั ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ หากเกินความสามารถ ควรประสานความร่วมมอื กับแพทยแ์ ผนปัจจุบัน 6 ข้อห้ามหรือข้อควรระวงั อืน่ ๆ ทีก่ ล่าวไว้เฉพาะแต่ละโรค หรืออาการ ดงั นี้ 6.1 หญิงต้ังครรภ์ 6.2 ผู้สูงอายแุ ละเด็ก 6.3 โรคของหลอดเลือด เช่น หลอดเลือดแดงโป่ง หลอดเลือดอักเสบ 6.4 ความดนั โลหิตสงู (Systolic สูงกว่าหรอื เทา่ กับ 160 mmHgและ/หรอื diastolic สูงกว่า หรือกบั 100 mm/Hg) ทไี่ ม่มีอาการหน้ามืด ใจส่ัน ปวดศรี ษะ หรอื คลนื่ ไลอ้ าเจยี น 6.5 เบาหวาน 6.6 กระดูกพรนุ 6.7 มคี วามผดิ ปกติของการแข็งตวั ของหลอดเลือด มีประวตั ิเลือดออกผิดปาตริ วมทัง้ กินยา ละลายลิม่ เลอื ด 6.8 ขอ้ หลวม/ขอ้ เล่ือน 6.9 บรเิ วณทม่ี กี ารผาตัด ใส่เหลก็ หรือขอ้ เทยี ม 6.10 บริเวณทีแ่ ผลหายยงั ไมส่ นิทดี
28 6.11 ผวิ ท่แี ตกง่าย 6.12 บริเวณที่ปลูกถ่ายผวิ หนงั ขอ้ ปฏิบัติหลังกำรนวด คำแนะนำนวดสำหรับผ้นู วด หากผู้นวดมอี าการปวดนิ้วให้แชม่ ือในนา้ อุ่นเพื่อช่วยใหก้ ลา้ มเน้ือผอ่ นคลาย และการไหลเวยี นโลหติ ดขี น้ึ ใชผ้ า้ ชุบนา้ อุ่นประคบมือ และนวดคลงึ บรเิ วณเนินกล้ามเนื้อ ฝา่ มือ และรอบข้อน้ิวมือ คำแนะนำนวดสำหรับผู้ถูกนวด 1.งดอาหารแสลง เช่น อาหารมัน อาหารทอด หน่อไม้ ข้าวเหนียว เคร่อื งในสตั ว์ เหลา้ เบยี ร์ ของหมักดอง 2. หา้ มสลดั บีบ ดัด ส่วนท่มี ีอาการเจ็บปวด 3. ทา่ กายบริหารเฉพาะโรคหรอื อาการ 4. คาแนะนาอ่ืนๆ เชน่ หลีกเลีย่ งพฤติกรรมท่ีเปน็ มูลเหตเุ กิดโรค
29 คณะผูจ้ ัดทำ 1. นำงบญุ ตำ มหำสุชลน์ 2. นำยปรชี ำ ทมุ่ แกว 3. นำงสำวเสวลกษั ณ กลน่ั ธูป 4. นำงสำวกำญจณำ โลทิม ตำแหน่ง ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ โรงเรยี นเทศบำล 2 วดั ชัยมงคล อำเภอบำงมูลนำก จังหวดั พิจติ ร
30 หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน “ตำนำนบำงขีน้ ำก” ควำมสำคัญ หลักสูตรท้องถ่ินเป็นหลักสูตรท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึนตามวัตถุประสงค์ท่ีเก่ียวกับสภาพปัญหาใน ชุมชนและสงั คม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน กาหนดใหผ้ ู้เรยี นในระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานไดเ้ รยี นรู้เกี่ยวกับเนื้อหา ทีเ่ ก่ียวข้องกบั ทอ้ งถ่นิ ท่ีตนอาศัยอยใู่ นด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม ประเพณีวฒั นธรรมตลอดจนอาชีพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านทฤษฎี การปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าของ ท้องถ่ินท่ีตนเองรู้จักรักและหวงแหนความเป็นไทยในท้องถ่ินตนเอง ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติมาตราที่ 27 ที่มุ่งเน้นความเป็นไทยความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติการดารงชีวิต ความ เปน็ พลเมืองท่ีดขี องชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพ่ือการศกึ ษาต่อในระดับสูงตอ่ ไป หลักสูตรตานานบางข้ีนากเป็นหลักสูตรท้องถิ่น ท่ีเน้นกระบวนการปฏิบัติเพ่ือให้นักเรียนเกิดการ เรียนร้ทู ่ีหลากหลายจากแหลง่ เรียนรภู้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ หรือปราชญช์ าวบ้านท่ีอยู่รอบๆ ในอาเภอบางขน้ี าก จงึ จัดทาหลักสูตรท้องถน่ิ น้ีข้ึนมา จุดมุง่ หมำย 1. เพื่อนาความรู้และทรพั ยากรในท้องถิน่ มาจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรียนร้แู บบบรู ณาการเกย่ี วกับท้องถิ่น 3. เพอ่ื ให้เหน็ คณุ คา่ ของทรัพยากรในท้องถ่ิน 4. เพื่อนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้ วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื นาความรแู้ ละทรพั ยากรในท้องถ่นิ มาจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหแ้ ก่นักเรียน 2. เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรยี นรแู้ บบบูรณาการเก่ียวกับทอ้ งถ่นิ อย่างเต็มศกั ยภาพ 3. เพอ่ื ให้นกั เรียนเหน็ คณุ คา่ ของทอ้ งถน่ิ ของตนเองรักและหวงแหนทรัพยากรในท้องถ่ินตนเอง 4. เพอื่ ใหช้ มุ ชน/ทอ้ งถิ่น/ครภู มู ปิ ัญญา มสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนสามารถ นาไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันอยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม 5. เพอื่ ใหค้ รูมหี ลกั สตู รท้องถิ่นไว้ใช้ในการเรยี นการสอนในสถานศึกษา
31 เนือ้ หำหลกั สตู ร ประกอบด้วยเนื้อหา 5 หน่วยดงั นี้ หนว่ ย 1 ตานานเมืองบางข้นี าก หนว่ ย 2 สถานท่ีและแหล่งท่องเที่ยวทส่ี าคญั หนว่ ย 3 ประเพณีและวัฒนธรรม หนว่ ย 4 อาชพี ในท้องถิ่น หนว่ ย 5 ของดีเมอื งบางข้ีนาก เวลำเรียน หลกั สูตร “ตานานบางขน้ี าก” ภาคทฤษฎี 19 ชว่ั โมง ภาคปฏบิ ัติ 21 ชั่ว โมง แหลง่ เรยี นรู้/ส่อื ประกอบกำรเรียน 1. ใบความรู้เน้ือหา ประวัตเิ มอื งบางมูลนาก 2. แหลง่ เรียนร้ศู นู ย์ชยั พัฒนาวัดอาเภอบางขน้ี าก 3. แหลง่ ผลติ ของดีเมืองบางขน้ี าก กิจกรรมกำรเรียนรู้ 1. ศกึ ษาข้อมูลความรู้ด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏบิ ตั ิ 3. ศกึ ษาจากแหล่งเรียนร/ู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
32 กำรวัดและประเมินผล - การสังเกตพฤติกรรม - การสอบถาม/สัมภาษณ์ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประโยชนท์ ่ีคำดว่ำจะไดร้ ับ 1. นกั เรยี นได้เรยี นรู้จากภูมิปญั ญาท้องถน่ิ และจากแหล่งเรียนรทู้ งั้ ในและนอกโรงเรยี น 2. นักเรียนเกิดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการเก่ียวกบั ทอ้ งถิน่ อยา่ งเต็มศักยภาพ 3. นักเรียนเห็นคุณคา่ รักและหวงแหนในแหล่งเรยี นรูแ้ ละภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ของตน 4. นักเรยี นนาความรู้จากภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 5. สถานศึกษามีการใช้หลกั สตู รท้องถ่นิ ในการเรียนการสอน โครงสรำ้ งหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้สงั คมศึกษำศำสนำและวัฒนธรรม เวลำ 40 ช่วั โมง ชอ่ื หน่วยกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ สำระสำคัญควำมคดิ เวลำเรียน 1. ตานานเมืองบางขี้ (ช่ัวโมง) นาก รวบยอด 8 2. สถานทีแ่ ละแหลง่ บอกและอธิบายเก่ียวกับ - ประวตั คิ วามเปน็ มา ท่องเทีย่ วสาคัญ 8 ประวัตคิ วามเปน็ มาของ - สภาพสังคม 3. ประเพณี และ 8 วฒั นธรรม อาเภอบางขน้ี ากได้ - ลกั ษณะภมู ิประเทศ ถูกต้อง ตระหนกั เหน็ คุณค่า - ศนู ยช์ ัยพัฒนาฯ ความสาคัญของสถานที่ - วัดทา่ ช้าง สาคัญแหลง่ ท่องเทย่ี ว - ศาลเจา้ พอ่ แกว้ ของอาเภอบางข้นี าก - วดั ห้วยแขน - วดั สขุ มุ าราม อธบิ ายเกยี่ วกับประวตั ิ - แขง่ เรือยาว ความเปน็ มา ประเพณี - งานเจา้ พอ่ แก้ว และวัฒนธรรมของ - งานบญุ สลากภตั อาเภอบางขนี้ าก
4. อาชพี ในท้องถ่ิน บอกและอธิบายเกี่ยวกบั - ทาสวน 33 5. ของดเี มืองบางขน้ี าก อาชพี ในท้องถิน่ ของ - ทานา อาเภอบางขีน้ ากได้ 8 รวม 8 บอกและอธิบายของดี - ทาขนมจีน 40 ประจาอาเภอบางข้ีนาก - ทาสม้ แผ่น ได้ แผนผงั มโนทัศนห์ ลักสตู รทอ้ งถ่ิน “ตำนำนบำงขนี้ ำก หนว่ ยที่ 2 สถำนทแ่ี ละแหลง่ หนว่ ยที่ 1 ตำนำนเมอื งบำงข้ีนำก หน่วยท่ี 5 ของดเี มืองบำงข้นี ำก ทอ่ งเท่ียวทส่ี ำคัญ - ประวตั ิความเป็นมา - การทาขนมจีบ - สภาพสังคม - การทาส้มแผ่น - ศูนยช์ ัยพัฒนา - ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ - อาหารปลารสเดด็ - วดั ทา่ ชา้ ง - ศาลเจา้ พ่อแก้ว ตำนำนบำงขีน้ ำก หนว่ ยที่ 4 อำชีพในท้องถิน่ - วัดหว้ ยเขน - ทาสวน - วัดสขุ มุ าราม หน่วยท่ี 3 ประเพณแี ละวฒั นธรรม - ทานา - แข่งเรอื ยาว - งานเจ้าพอ่ แกว้ - งานบุญสลากภตั
34 อธบิ ำยรำยวชิ ำเพิ่มเติมหลักสูตรท้องถิ่นตำนำนบำงขีน้ ำก รหัสวชิ ำ ส 16201 กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษำปีท่ี6 เวลำ 40 ช่ัวโมง ศึกษาประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นตานานเมืองบางขี้นาก สถานท่ีและแหล่งท่องเท่ียวที่สาคัญ ประเพณีและวฒั นธรรม อาชพี ในทอ้ งถิ่น ของดีเมอื งบางข้ีนาก ทต่ี นอาศัยอยู่และบริเวณใกลเ้ คยี งโดยรอบ เรอ่ื ง สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง สังคม ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม โบราณวตั ถุ แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ บคุ คลสาคญั วิถกี ารดาเนินชวี ิตโดยกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วย การสืบค้นรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์เพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจท้องถิ่นของตน มีความรักและภาคภูมิใจผูกพันกับท้องถ่ินร่วมมือกันอนุรักษ์วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมในท้องถ่นิ มคี วามรบั ผิดชอบ มจี ติ สาธารณะ ผลกำรเรียนรู้ 1. บอกและอธิบายเก่ียวกบั ประวัติความเปน็ มาของ อาเภอบางขี้นากไดถ้ ูกต้อง 2. ตระหนกั เหน็ คุณค่าความสาคญั ของสถานที่สาคัญแหลง่ ทอ่ งเที่ยวในอาเภอบางขี้นาก 3. อธิบายเกีย่ วกบั ประวตั ิความเปน็ มา ประเพณแี ละวัฒนธรรมของอาเภอบางมลู นากได้ถูกต้อง 4. บอกและอธบิ ายเก่ียวอาชพี ในท้องถนิ่ ของอาเภอบางขนี้ ากได้ 5. บอกและอธิบายของดีประจาอาเภอบางขีน้ ากได้
35 ภำคผนวก
36 บรรณำนกุ รม กมลทิพย์ บุญอภยั . (2550). กำรทำข้ำวเกรยี บวำ่ วสมนุ ไพร. สบื คน้ เม่ือ 26 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์ : https://data.bopp-obec.info/emis/news/File/20130903210800. กรวรรณ งามสม. (2551). กำรพฒั นำหลกั สูตรท้องถนิ่ . สบื ค้นเมือ่ 26 มกราคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://www.kroobannok.com/blog/3731. ครบู ้านนอก. (2551). กำรพฒั นำหลกั สตู รท้องถ่นิ . สบื ค้นเมอื่ 26 มกราคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://www.kroobannok.com/3731. ธีราวรรณ แก้วศริ . (2561). กำรนวดแผนไทยเพ่อื สุขภำพ. สืบคน้ เมอื่ 10 กมุ ภาพนั ธ์ 1563, จากเว็บไซต์ : http://203.159.164.66/~eme66/includes/standard61/filestd61/pl413_2:1:1-2018-10- 16_112034-1.pdf. นฤมล ม่งิ ขวัญ. (2560). หลักสตู รท้องถน่ิ . สบื ค้นเม่อื 26 มกราคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : https://www.gotoknow.org/posts/643535. บญุ ตา มหาสุชลน. (2551). ตำนำนบำงขีน้ ำก. สืบค้นเมอื่ 10 กุมภาพันธ์ 2563, จากเวบ็ ไซต์ : http://www.nsru.ac.th/lrnc/files/data06/14.pdf?fbclid=IwAR03tZaettL5Bb0EJWyHZ WAv3pFyYtsGU1NWWYOYQBJ0DFPM0JLfEWI0Mco. พจิ ติ รา ธงพานชิ . (2545). ควำมหมำยของหลกั สูตรท้องถิ่น. สืบคน้ เม่ือ 26 มกราคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : http://lifestyemyself.blogspot.com/p/blog-page_50.html. โรงเรียนธรรมรัตน์. (2500). ประเพณสี ำรทเดือนสบิ . สบื คน้ เมือ่ 26 มกราคม 2563, จากเวบ็ ไซต์ : file:///C:/Users/Administrator/Downloads/ตวั อยา่ งหลักสูตรทอ้ งถนิ่ -วฒั นธรรม%20(3).pdf อาพร เรืองศร.ี (2551). หลกั สูตรท้องถ่ิน. สืบค้นเมือ่ 26 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์ : https://www.gotoknow.org/posts/164271.
คณะผ้จู ัดทำ 1.นางสาวจฑุ าพร พันธะ รหสั นักศกึ ษา 62115268207 2.นางสาวจิลดา สอนสมนกึ รหัสนักศกึ ษา 62115268209 3.นางสาวกชกร เกยี รติกุลกังวาน รหัสนกั ศกึ ษา 62115268210 4.นางสาวทวิ ยากร หาไชย รหัสนักศึกษา 62115268223 5.นางสาวเพญ็ นภา ไชยสุระ รหสั นกั ศกึ ษา 62115268226 6.นางสาวชญานิฐ เช้ือเมอื งแสน รหัสนักศกึ ษา 62115268231 THANK YOU Social Studies
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: