Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนรายวิชากัญชาและกัญชงเพื่อการศึกษา

แผนการสอนรายวิชากัญชาและกัญชงเพื่อการศึกษา

Published by nfenk.banwan, 2020-06-10 05:13:19

Description: แผนการสอนรายวิชากัญชาและกัญชงเพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

วชิ ากัญชาและกญั ชง เพื่อการศึกษาฯ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จดั ทําโดย นางรุจิรา ธรรมวงศา ครู กศน.ตาํ บล

แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ กลุ่มสาระความร้พู ้นื ฐาน รายวชิ า กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด ทช 33098 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการจัดการเรียนรูเ้ ร่อื งท่ี 2 กญั ชาและกญั ชง พืชยาท่คี วรรู้ เวลา 6 ช่วั โมง สอนวันที่ …….……เดือน …………………………..พ.ศ.………......... ภาคเรียนที่ ………ปีการศึกษา …..………. มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมี พฤติกรรมสุขภาพที่ดี ปฏบิ ตั จิ นเปน็ กิจนสิ ยั วางแผนพัฒนาสขุ ภาพ ดำรงสขุ ภาพของตนเอง และ ครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ชมุ ชนมี สว่ นรว่ มในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัย และพฒั นา สภาพแวดล้อมที่ดี ตวั ชวี้ ดั 1. เพ่ือให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะชวี ติ ในการเรียนรูก้ ญั ชาและกญั ชง ใชเ้ ป็นยา อย่างชาญ ฉลาด 2. เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี น ตระหนักถึงโทษและประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง ตลอดจนสามารถนาความรู้ และ ทกั ษะชวี ิตทไี่ ดไ้ ปแนะน าบคุ คลในครอบครวั หรือเพ่อื น หรือชมุ ชน ในการใชก้ ัญชาและกญั ชงเปน็ ยา ในการรกั ษาหรือควบคมุ อาการได้อยา่ งเหมาะสม สาระการเรยี นรู้ กัญชาและกัญชงพชื ยาที่ควรรู้ รจู้ ักโทษและประโยชน์ กฎหมายท่เี กย่ี วข้องกับกญั ชาและกัญชง กัญชา และกญั ชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกและแพทยแ์ ผนปจั จุบนั และใช้กัญชาและกัญชงเป็นยา อยา่ งรู้คณุ ค่าและชาญฉลาด กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขน้ั กำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรู้ 1.1 ครแู ละผู้เรยี นร่วมกันพูดคยุ แลกเปลย่ี นประสบการณ์ท่ีมีเกี่ยวกบั เร่ืองกญั ชา 1.2 ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ียวกบั กัญชาและกัญชง 1.3 วางแผนการเรยี นรู้ 2. ขนั้ แสวงหาขอ้ มูลและจดั การเรยี นรู้ 2.1 ครแู ละผเู้ รียนร่วมกันศึกษาหาขอ้ มูลเก่ียวกับเร่อื งความรเู้ บอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั กญั ชาและกัญชง 2.2 ครูและผเู้ รยี นรว่ มกันวเิ คราะห์ถงึ กัญชาและกญั ชงแตกต่างกันอยา่ งไร 2.3 ครูมอบหมายให้ผูเ้ รยี นศกึ ษาโดยหาขอ้ มูลทางอินเตอรเ์ น็ต ร้จู กั โทษและประโยชน์ของกญั ชาและ กัญชงแลว้ ให้สรปุ ประเดน็ ท่ีได้ค้น เสนอต่อกล่มุ ตามความคดิ เหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมงาน 3. ขั้นปฏบิ ัติและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ 3.1 ผ้เู รียนนำสถานการณน์ ี้ไปใชก้ ับชวี ติ ประจำวัน และสามารถวเิ คราะห์ถงึ ขอดีข้อเสยี ของการใช้

10 3.2 สรปุ และการดูรวบรวมไว้ในแฟม้ สะสมงาน 4. ขน้ั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 4.1 ครแู ละผู้เรยี นนำแฟ้มสะสมงาน และผลงานทีไ่ ดจ้ ากการปฏบิ ัติใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการประเมนิ ผล การเรียนรู้ 4.2 ครู ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้องรว่ มกนั สรา้ งเกณฑ์การวดั ผลการเรยี นรู้ 4.3 ครตู ัดสนิ ผลการเรยี นรตู้ ามเกณฑท์ ก่ี ำหนด 4.4 เกณฑก์ ารประเมนิ การวดั ผลประเมนิ ผล วิธีการวดั 1.ประเมินความกา้ วหน้า ดว้ ยวิธีการสังเกต การซักถาม ตอบคำถาม 2.การตรวจเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 3.การตรวจรายงานการศึกษาการนำกญั ชาและกญั ชงไปใชท้ างการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก และการแพทย์แผนปัจจุบนั และนำเสนอ และประเมนิ ผล 4. ให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ ตอบแบบสอบถามวดั ทักษะ และตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ เครื่องมือ ได้แก่ ใบงาน เกณฑ์การวัด ผา่ น ต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ของคะแนนเต็ม สื่อ และแหลง่ เรยี นรู้ กกก1. สอื่ เอกสารได้แก่ ใบความร้ทู ่ี 1 ใบงานที่ 1 และหนังสือเรยี นสาระทักษะชีวิต ทช33098 กัญชาและ กัญชงศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ป็นยำอย่างชาญฉลาด ทช33098 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ ได้แก่ Youtube คลิปวิดิโอ ออนไลน์ 3. หอ้ งสมดุ

11 บนั ทึกหลงั สอน กกกกกกก1. ปญั หาหรืออุปสรรคในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก2. แนวทางการแกป้ ญั หาหรอื อปุ สรรค กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก3. การปรบั ปรงุ แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เรื่อง ฟังให้รู้ ดใู ห้เหน็ พดู ให้เปน็ กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคดิ เหน็ ของผู้นิเทศท่ีไดร้ ับมอบหมายจากผ้บู ริหาร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหนง่ …………………………………………………. ความคดิ เหน็ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหนง่ ………………………………………………….

318 ใบความรู้ ท่ี 2 เร่ือง วิเคราะห์ เจาะลกึ กญั ชาและกญั ชง วตั ถุประสงค์ กกกกกกก1. เพอ่ื ใหว้ ิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกัญชากับกญั ชงในทกุ มิติได้ กกกกกกก2. เพื่อให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างกญั ชากบั กญั ชง กกกกกกก3. เพ่ือให้ตระหนักถงึ คุณและโทษของสารท่ีพบในกัญชาและกัญชง เน้อื หา กกกกกกก1. ความแตกตา่ งกัญชาและกัญชงทางกายภาพ ภาพท่ี 88 ใบพชื กญั ชา (Indica) ภาพท่ี 89 ใบพืชกญั ชง (Sativa) กกกกกกก 1.1 แหล่งกาเนดิ กกกกกกก แหล่งกาเนิดของพืชกัญชาอยู่ในเขตอบอุ่น และตะวันออกกลาง ปากีสถาน อัฟกานิสถาน อินเดีย และเทือกเขาทิเบต ส่วนพืชกัญชงพบใกล้บริเวณเส้นศูนย์สตู ร ได้แก่ โคลัมเบยี แมก็ ซิโก ไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

319 ภาพที่ 90 แหล่งกาเนิดพืชกัญชาและพืชกัญชง กกกกกกก1.2 ชนิดของสายพนั ุธ์ กกกกกกก กัญชา (Cannabis) มีชือ่ ทางวทิ ยาศาสตร์ Cannabis sativa L. subsp. indica มีลักษณะ เป็นพุ่มเต้ีย ลักษณะหน้าใบกว้างและส้ัน มีสีเขียวเข้ม แผ่นใบเป็นสีเขียวถึงเขียวจัด ใบมี 5 - 7 แฉก การเรียงตัวของใบจะชิดกัน ปล้องหรือข้อสั้น และแตกกิ่งเป็นแบบสลับ เปลือกไม่เหนียวลอกได้ยาก ให้เสน้ ใยส้ันมคี ุณภาพต่า เมือ่ ออกดอกจะมียางทีช่ ่อดอกมาก เมล็ดมีขนาดเล็ก ผิวเมล็ดมันวาว ใบเม่ือ นามาสูบจะมีกลิ่นหอมคล้ายหญ้าแห้ง มีสาร tetrahydrocannabinol (THC) ประมาณร้อยละ 1 - 10 ชอง บปั ตสิ ต์ เดอ ลามารก์ (Jean Baptiste de Lamarck) นกั ชวี วิทยาชาวฝรง่ั เศสได้ค้นพบความ แตกตา่ งของแคนนาบสิ ชนดิ น้ใี นแถบอนิ เดยี จึงมตี ง้ั ชือ่ โดยมีคานาหนา้ ว่า indica ภาพท่ี 91 ตน้ กัญชา ภาพท่ี 92 ต้นกัญชง

320 กกกกกกกกัญชง หรือ เฮมพ์ (Hemp) มีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannnabis sativa L.. subsp. sativa ลา ต้นสงู มากกวา่ 2 เมตร ปลอ้ งหรอื ข้อยาว แตกก่งิ ก้านน้อยและแตกก่ิงไปในทางเดียวกัน เปลอื กเหนียวลอก งา่ ย ให้เสน้ ใยยาวคุณภาพสูง แผ่นใบเปน็ สีเขียวอมเหลือง ใบมแี ฉกประมาณ 7 - 9 แฉก การเรียงตัวของใบ ค่อนข้างห่าง เมื่อออกดอกจะมียางที่ช่อดอกไม่มาก เมล็ดมีขนาดใหญ่และเป็นลาย ผิวเมล็ดหยาบด้าน ใบ เมอ่ื นามาสบู จะมีกลิน่ หอมน้อยทาใหผ้ ู้เสพปวดหัว มีสาร tetrahydrocannabinol (THC) น้อยกว่าร้อยละ 1.0 ใช้ประโยชน์เพ่ือต้องการเส้นใย กกกกกกก1.3 กญั ชาตัวผู้ ตวั เมีย และกะเทย มีความโดดเด่นที่แตกต่าง กกกกกกก- กัญชาเปน็ พชื แยกเพศต่างต้น คือมีทั้งกัญชาเพศผูแ้ ละเพศเมีย กกกกกกก- กัญชาเพศผู้มีโครโมโซม XY ส่วนกัญชาเพศเมียมีโครโมโซม XX โดยตามธรรมชาติจะมี ....................สัดสว่ นอยทู่ ่ีครึ่งตอ่ คร่ึง กกกกกกก- กัญชาสามารถเป็นพืชท่ีมี 2 เพศในต้นเดียวได้ โดยมีทั้งเกสรตัวเมียและเกสรตัวผู้ในต้น เดียวกันที่เรียกว่า “กัญชากะเทย” ซ่ึงจะผลิตดอกและจะถ่ายละอองเรณูกับดอกพวกนั้น โดยกัญชา อาจเป็นกัญชากะเทยได้เองตามธรรมชาติ หรือกลายเป็นกะเทยเนื่องจากความเครียดของพืชจาก ปจั จัยอยา่ งแสงแดดท่มี ากไป นา้ ทมี่ ากไปหรอื ไม่เพียงพอ รวมไปถึงแมลงหรือโรค เป็นต้น กกกกกกก- เพศของกัญชาไม่ใช่แค่ขึ้นอย่กู บั พนั ธกุ รรม แต่กข็ ้นึ อยู่กบั ปัจจยั ส่งิ แวดลอ้ มรอบขา้ งด้วย แต่ละเพศมีความโดดเด่นที่แตกต่างกนั กัญชากะเทยมักไม่นิยมนาผลติ ผลมาใช้เน่ืองจากดอกที่เต็มไปด้วยเมลด็ แปลว่าสารแคนนาบินอยด์ มีจานวนไม่มาก จึงไม่นิยมนามาใช้ในการรักษา อีกทั้งคุณภาพของตัวต้นจะไม่ดีเท่ากัญชาตัวผู้หรือ กัญชาตัวเมีย ทั้งนี้กัญชากะเทยสามารถผสมพันธุ์เองได้ แปลว่ากัญชารนุ่ หลังจะเป็นกัญชาท่ีสามารถ เปน็ พืช 2 เพศในตน้ เดียวกนั ทจ่ี ะทาใหแ้ หลง่ รวมยีนดอ้ ยลง ไมห่ ลากหลายเพราะการผสมพนั ธกุ์ ันเอง 1.4 กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง 1.4 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) กัญชา หรือ อินดิก้า (indica) มี คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) สูงจึงทาให้โตเร็วกว่าสายพันธุ์ย่อย กัญชง หรือซาติวา (sativa) ซึ่งทาให้ อินดีก้ามีสีเขียวเข้มกว่า แต่จะมีรงควัตถุ (accessory pigments) ท่ีทาหน้าที่จับพลังงานแสงแดด ทน่ี ้อยกว่าจงึ มกี ารเติบโตในประเทศที่มีอากาศเย็น

321 ภาพท่ี 93 รายละเอยี ดพืชกัญชาและพชื กญั ชง

322 กกกกกกก1.5 ประโยชน์ของพืชกัญชง กัญชง หรอื เฮมพ์ (Hemp) นามาใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายมิติ โดยแบง่ เปน็ 2 กลมุ่ 1. กัญชงสาหรับอุตสาหกรรม (Industrial 2. กัญชงเพ่ือใช้เป็นยา (Medicinal Hemp) คือ Hemp) คือพันธ์ุกัญชงที่ให้เส้นใยไฟเบอร์สูง พันธุ์กัญชงที่มีวัตถุประสงค์ในการเล้ียง เพ่ือให้ได้ ปริมาณน้ามันท่ีจะผลิต THC ต่า โดยเน้นใน ดอกกัญชง โดยดอกกัญชงจะผลิตเป็นน้ามันได้ สว่ นของลาต้นกญั ชงเปน็ หลกั โดยประเทศไทย มากท่ีสุด แต่น้ามันนั้นจะให้สาร THC ต่า แต่มี ได้มีการปลูกกัญชงและตัดกัญชงก่อนท่ีจะออก ความคาดหวังที่จะให้สารแคนนาบิไดออล หรือ ดอกเพ่ือให้ได้ใยกัญชงมาผลิตในอุตสาหกรรม CBD ซึ่งเป็นสารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ที่ช่วยลด ปัจจุบันใยกัญชงซึ่งมีคุณสมบัติท่ีเหนียว การอักเสบ ลดความเครียด และช่วยอาการเกร็ง ทนทานได้ถูกนามาใช้เป็นผลติ ภณั ฑ์หลายชนิด ผิดปกติ รวมถึงการนามาใช้ช่วยบาบัดอาการทาง เช่น ส่วนประกอบของแผงประตูรถยนต์ สมอง เช่น โรคลมชัก และโรคพาร์กินสัน ฯลฯ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ เสื้อผ้า กระเป๋า เยื่อ ปัจจุบันมูลค่าของ CBD มีราคาสูงมาก ไม่เพียง กระดาษ ไม้แปรรูป วัสดุก่อสร้าง อาหารสัตว์ นามาใช้เป็นยารักษาโรคเท่าน้ัน แต่ยังนามาใส่ใน ฯลฯ ผลิตภัณฑ์น้ามัน CBD ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อาหาร ขนม เคร่อื งดื่ม เคร่ืองสาอาง ฯลฯ กกกกกกกน กกกกกกกนอกจากนั้นแล้วยังมีส่วนท่ีเป็น “เมล็ดกัญชง” ท่ีเมื่อถูกเครื่องบีบอัดออกมาแล้วก็จะได้ “น้ามันกัญชง” จากเมล็ดซึ่งไม่มีทั้ง THC และ CBD แต่จะมีน้ามันโอเมก้า 3 ซ่ึงทาให้เลือดเหลวตัว ลดการก่อตัวเป็นล่ิมเลือด ช่วยลดการอักเสบของหลอดเลือด ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริม อาหารทม่ี ีคุณค่าได้เชน่ เดยี วกนั กกกก กล่าวโดยสรุป พืชกัญชากับพืชกัญชงมีความแตกต่างกันในด้านแหล่งกาเนิด ซ่ึงมีการ ระบุว่า พืชกัญชาอยู่ในเขตอบอุ่น ส่วนพืชกัญชงพบใกล้บริเวณเส้นศูนย์สูตร โดยกัญชามีช่ือทาง วิทยาศาสตร์ว่า แคนนาบสิ ซาตวิ ่า แอล. อินดกี ้า (Cannabis sativa L. subsp. indica ) สว่ นกัญชงมีช่ือ ทางวิทยาศาสตร์วา่ แคนนาบิส ซาติว่า แอล. ซาติว่า (Cannnabis sativa L.. subsp. sativa ) พืชกัญชาใน ท่ีนหี้ มายรวมถงึ กญั ชงดว้ ย มีการแยกเพศตา่ งต้น เปน็ ตวั ผู้ ต้นตัวเมีย และยงั มีตน้ กะเทย ซงึ่ มีสองเพศ ในต้นเดยี วกนั ด้านการสงั เคราะหแ์ สงเจริญเตบิ โตกญั ชามคี ลอโรฟิลล์สูงจึงทาให้โตเรว็ กว่ากญั ชง ทาให้ กญั ชามีสเี ขียวเขม้ กว่า และเตบิ โตในประเทศที่มีอากาศเย็น

323 ภาพที่ 94 เพศของกญั ชา กกกกกกก2. ความแตกต่างของสารสกัดกัญชาและกญั ชง กกกน การกาหนดคานิยามของคาว่า “กัญชง” ของแต่ละประเทศ เพ่ือให้แยกออกจากคา นิยามจากกัญชาน้ันมีความแตกต่างกัน โดยใช้ปริมาณของสาร THC ร้อยละของน้าหนักดอกเป็น เกณฑ์ตัดสิน โดยในประเทศแคนนาดา และสหรัฐอเมริกาได้กาหนดสาร THC ต่ากว่าร้อยละ 0.3 คือ กัญชง ในขณะทส่ี หภาพยุโรปกาหนดสาร THC ตา่ กว่าร้อยละ 0.2 คอื กัญชง กกกน ในประเทศไทย ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ได้กาหนดลักษณะ ตามปรมิ าณสาร THC ในใบและช่อดอกไม่เกนิ ร้อยละ 1.0 ตอ่ นา้ หนักแห้ง คือ กญั ชง ดงั นั้น หากปรมิ าณสาร THC สงู เกนิ กวา่ ทีแ่ ต่ละประเทศกาหนด จัดได้ว่าเปน็ กญั ชา ภาพที่ 95 ภาพแสดงชวี ะสังเคราะหส์ าร THC สาร CBD และภาพครึ่งใบของพืชกัญชาและกญั ชง

324 กกกกกกก2.. การพัฒนาสายพันธ์ุกัญชาท่ีมีค่าเฉล่ียสาร CBD สูง เพ่ือใช้ทางการแพทย์ ปัจจุบัน มีหลายประเทศท่ัวโลกที่อนุญาตให้ใช้ CBD ทางการแพทย์ รวมท้ังประเทศไทยอนุญาตให้ผู้ป่วยใช้ กัญชาทางการแพทย์ได้ ถึงแม้ไม่สามารถปลูกพืชชนิดนี้อย่างถูกกฎหมายได้ในประเทศไทย สายพันธุ์ กัญชาท่ีนิยมนามาใช้ทางการแพทย์ส่วนใหญ่จะเน้นสายพันธ์ุท่ีมี CBD สูง แต่มี THC ท่ีต่า หรือ ใกล้เคียง สาเหตทุ ีม่ ีการผลักดนั ให้ใช้ CBD ทางการแพทย์ เพราะสารนม้ี ปี ระโยชน์ในการรักษาท่ีคล้าย กับ THC แต่ CBD ไม่ทาให้เกิดอาการเมาเหมือนกับ THC จึงดูเหมาะสมท่ีจะนามาใช้ทางการแพทย์ มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามโรคบางโรคนั้นต้องใช้ท้ัง CBD และ THC ควบคู่กันไปในการรักษา เช่น โรคมะเรง็ บรรเทาอาการปลายปอกประสาทเส่ือม สาระสาคญั ตารางเปรยี บเทยี บคุณและโทษของสารกัญชาและกัญชง ทมี่ ใี น กญั ชา THC คณุ 1. ยบั ยงั้ ลดอาการปวดในการรักษาโรค โทษ 2. ใช้เปน็ ยาในการรกั ษาทางการแพทย์ 3. เปน็ ภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ใช้ปรุงผสม สาหรับตารับยา 16 ตารับ สารสาคญั 1. มผี ลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทม่ี ีใน กญั ชง 2. รับในปริมาณมากจะทาใหเ้ กดิ การเสพตดิ และมนึ เมา เนื่องจากมปี ริมาณ สารเสพตดิ มาก 3. ผลขา้ งเคยี ง ทาใหป้ ากแห้ง กระหายน้า หวั ใจเตน้ เร็ว ตอบสนองชา้ ตาแดง หรอื ความจาลดลง 4. ผ้ใู ดครอบครอง ที่ไม่ได้รับอนุญาตมโี ทษตาม พรบ.ยาเสพให้โทษประเภทที่ 5 CBD คณุ 1. ไม่มีผลข้าง เคียงต่อระบบประสาทสว่ นกลาง 2. ใชเ้ ป็นยาในการรักษาทางการแพทย์ 3. ใช้เป็นสารต้านฤทธิ์ THC ได้ เพ่อื ลดอาการมึนเมา และเสพตดิ 4. ลดอาการความเจ็บปวด โทษ 1. ถา้ รับเข้าในรา่ งกายในปริมาณมาก อาจจะทาให้เกดิ การอาเจยี น

325 กลา่ วโดยสรุป สาร THC และ CBD ถกู นาไปใช้ประโยชนท์ างการแพทย์ สาร THC มผี ลต่อ ระบบประสาทส่วนกลาง แต่สาร CBD ไมม่ ีผลข้างเคียงต่อระบบประสาทสว่ นกลาง กกกกกกก3. สารในกัญชงและกญั ชา ตามกฎหมายกาหนด ยงั เป็นยาเสพติด 3.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี 2 ยังคงยืนยันกาหนดให้กัญชาและกัญชง เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เช่นเดิม การผลิต เพาะปลูก นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ใน ครอบครองโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเปน็ ความผดิ ตามกฎหมายยาเสพตดิ ให้โทษ 3.2 ประกาศฉบับน้ีเป็นเพียงการประกาศยกเว้นให้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงท่ีมี ปริมาณของสาร THC เพียงเล็กน้อย รวมถึงบางส่วนของพืชกัญชงไม่ถูกควบคุมเป็นยาเสพติดให้โทษ เพ่ือให้นาไปใช้ในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น อาหาร เครื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์สมุนไพร และยา เทา่ นั้น 3.3 ผลของประกาศกาหนดให้สารสกัดและบางส่วนของพืชกัญชาและกัญชงเป็นยา หรือสมนุ ไพรเทา่ นัน้ 3.3.1 ปลอกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เสน้ ใยแหง้ ของกัญชาและกญั ชง 3.3.2 สาร CBD บริสุทธิ์ร้อยละ 99 ท่ีมี THC ผสมไม่เกินร้อยละ 0.01 (เพื่อ นามาใชเ้ ป็นสารมาตรฐานในหอ้ งปฏิบตั ิการ) 3.3.3 สารสกัด CBD หรือผลิตภัณฑ์จากสารสกัด CBD ท่ีมีสาร THC ผสมไม่เกิน ร้อยละ 0.2 ที่เป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือสมุนไพร (เช่นเดียวกับใน หลายประเทศท่ยี กเว้น) 3.3.4 เมลด็ กัญชงหรือน้ามันจากเมล็ดกัญชงทเี่ ปน็ อาหารตามกฎหมายว่าดว้ ยอาหาร 3.3.5 น้ามันหรอื สารสกัดจากเมล็ดกัญชงตามกฎหมายวา่ ด้วยเครื่องสาอาง 3.4. ในระยะเวลา 5 ปีแรกนับจากวันท่ี 31 ส.ค.2562 สารสกัด CBD หรือผลิตภัณฑ์ จากสารสกัด CBD ท่ีเป็นยาหรือสมุนไพร เมล็ดกัญชง น้ามันจากเมล็ดกัญชง หรือสารสกัดจากเมล็ด กัญชงที่เป็น อาหาร หรือเครื่องสาอาง จะได้รับการยกเว้นไม่เป็นยาเสพติดให้โทษจะต้อง “ผลิตใน ประเทศเท่าน้ัน” เพ่ือป้องกันมิให้นาเข้ายาหรือผลิตภณั ฑ์สมุนไพร อาหาร หรือเครื่องสาอางสกัดจาก เมล็ดกญั ชงจากต่างประเทศอยา่ งเสรี 3.5. การดาเนินการต่อไป กระทรวงสาธารณสุขกาลังเร่งแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงว่า ด้วยการอนุญาตเกี่ยวกับกัญชง พ.ศ.2559 จากเดิมมีบทเฉพาะกาล 3 ปีท่ีให้เฉพาะหน่วยงานของรัฐ ขออนุญาตปลูกกัญชงได้ เป็นให้ภาคเอกชนสามารถขออนญุ าตปลูกได้ด้วย กลา่ วโดยสรุป ตามกฎหมาย กัญชาและกญั ชง ยงั คงเปน็ ยาเสพติด

326 สรปุ 1. ความแตกต่างกัญชาและกัญชงทางกายภาพ คือ พืชกัญชากับพืชกัญชงมีความ แตกต่างกันในด้านแหล่งกาเนิด ซึ่งมีการระบุว่า พืชกัญชาอยู่ในเขตอบอุ่น ส่วนพืชกัญชงพบใกล้ บริเวณเส้นศูนย์สูตร โดยกัญชามีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า แคนนาบิส ซาติว่า แอล. อินดิก้า (Cannabis sativa L. subsp. Indica ) ส่วนกัญชงมีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า แคนนาบิส ซาติว่า แอล. ซาติว่า (Cannnabis sativa L.. subsp. Sativa ) พืชกัญชาในท่ีน้ีหมายรวมถึงกัญชงด้วย มีการแยกเพศต่างต้น เปน็ ตัวผู้ ตน้ ตวั เมีย และยังมีตน้ กะเทย ซ่งึ มีสองเพศในตน้ เดียวกนั ด้านการสงั เคราะหแ์ สงเจริญเตบิ โต กัญชามีคลอโรฟิลล์สูง จึงทาให้โตเร็วกว่ากัญชง ทาให้กัญชามีสีเขียวเข้มกว่า และเติบโตในประเทศที่มี อากาศเย็น 2. ความแตกต่างของสารสกัดกัญชาและกัญชง คือ สาร THC และ CBD ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ทางการแพทย์ แต่สาร THC มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนสาร CBD ไม่มีผลข้าง เคยี งตอ่ ระบบประสาทสว่ นกลาง 3. สารในกญั ชงและกญั ชา ตามทกี่ ฎหมายกาหนด ยงั เป็นยาเสพตดิ

363 ใบงานที่ 2 หวั เรอ่ื ง กัญชาและกญั ชงพชื ยาทคี่ วรรู้ คาช้ีแจง กกกกกกก1. ใบงานน้จี ดั ทาขึ้นเพ่ือใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับกญั ชาและกัญชงพืชยาทค่ี วรรู้ กกกกกกก2. ให้ผู้เรยี นปฏิบตั ติ ามข้ันตอนต่อไปนตี้ ามลาดับ 2.1 ผู้เรยี นรับฟงั บรรยายสรปุ หวั เรอื่ ง กัญชาและกัญชงพืชยาที่ควรรู้จากครูผู้สอน 2.2 ผเู้ รียนร่วมกับครผู ู้สอนกาหนดประเดน็ ศึกษาร่วมกนั ได้ประเดน็ ศึกษาตอ่ ไปน้ี 2.2.1 ประวตั ิความเป็นมาของพชื กัญชาและพชื กญั ชงเป็นอย่างไร 2.2.2 ความร้เู บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับพืชกญั ชาและพชื กัญชง ไดแ้ ก่ พฤกษศาสตร์ของพืช สายพันธุ์ย่อย องค์ประกอบทางเคมี และสารสาคัญที่พบในพืชกัญชาและพชื กัญชง คืออะไร 2.2.3 พืชกญั ชาและพชื กัญชงมีความแตกต่างกันอย่างไร 2.2.4 พชื กัญชาและพืชกญั ชงได้นามาใชใ้ นชวี ิตประจาวันในโลกอย่างไร 2.3 ผ้เู รียนศึกษาประเดน็ ศกึ ษาในข้อ 2.2.1 , 2.2.2 , 2.2.3 และ 2.2.4 จากสอ่ื เอกสาร ประกอบด้วย ใบความรู้ที่ 2 เร่อื ง วิเคราะห์ เจาะลึก กัญชาและกัญชง หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการ ดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชา กัญชงศึกษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด และหนงั สอื ที่ เกี่ยวขอ้ งอย่างน้อย 3 เลม่ ได้แก่ กญั ชารักษามะเร็ง รักษาโรคด้วยกัญชงและกัญชา และกัญชาสดุ ยอด ยาวิเศษ ศาสตรแ์ ห่งการรกั ษาโรคยคุ ใหม่ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อยา่ งน้อย 3 เว็บไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์ https://www.baanlaesuan.com/145563/plant-scoop/marijuana เวบ็ ไซต์ https://www.catdumb.com/mel-frank-007/ และเวบ็ ไซต์ https://www.billionmindset.com/how-thc-cbd-difference/ และแหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน ห้องสมดุ ใกลบ้ ้านผเู้ รยี น 2.4 บันทกึ ผลการศกึ ษาค้นควา้ ท่ีไดใ้ นขอ้ 2.3 ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) 2.5 พบกลุ่ม นาข้อมูล 2.4 มาอภปิ รายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขอ้ มูลท่ีได้กับเพื่อนผู้เรยี น และ ครูผ้สู อน คิดวเิ คราะห์ และคิดสงั เคราะห์ สรุปผลการเรียนรู้ทีไ่ ดใ้ หม่รว่ มกนั บนั ทึกลงในเอกสารการ เรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครผู ู้สอนตามทน่ี ัดหมาย 2.6 นาสรุปผลการเรียนรู้ทีไ่ ด้รว่ มกนั ไปฝึกปฏิบัติดว้ ยการตอบแบบฝกึ หัด บันทกึ ลงใน เอกสารการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) และกจิ กรรมตามท่ีมอบหมาย สง่ ครูผ้สู อนตามที่นัดหมาย

364 2.7 บันทกึ ผลการเรยี นรทู้ ไี่ ดจ้ ากการฝึกปฏิบัติ ในข้อท่ี 2.6 ลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วย ตนเอง (กรต.) ส่งครูผสู้ อนตามท่นี ัดหมาย แบบฝกึ หดั กกกกกกกคาชแี้ จง : ใหผ้ ู้เรยี นตอบคาถามในข้อตอ่ ไปน้ลี งในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก1. ประวตั ิความเป็นมาของพชื กัญชาและกัญชงเปน็ อย่างไร คาตอบ......................................................................................................... ....................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก2. สารสาคญั ท่พี บในพืชกัญชาและพืชกัญชง คือสารใด มีคณุ สมบัติของสารแต่ละตวั อย่างไร คาตอบ........................................................................................................................ ........ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก3. พชื กญั ชาและพืชกัญชงแตกต่างกนั อยา่ งไร คาตอบ.......................................................................................................................... ...... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………

365 กจิ กรรม กกกกกกกคาชแี้ จง : ใหผ้ เู้ รียนวาดภาพแสดงความแตกตา่ งระหว่างใบและตน้ ของพชื กัญชาและกญั ชง ลงในเอกสารการเรียนรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) ส่งครูผู้สอนตามทก่ี าหนดไว้ พืชกัญชา พชื กญั ชง (Subsp.Indica) (Subsp.Sativa)

แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ กลุ่มสาระความรพู้ นื้ ฐาน รายวิชา กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด ทช 33098 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการจดั การเรยี นรู้เรอื่ งท่ี 2 เวลา 6 ช่วั โมง สอนวนั ที่ …….……เดือน …………………………..พ.ศ.………......... ภาคเรียนที่ ………ปกี ารศึกษา …..………. มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมี พฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสขุ ภาพ ด ารงสุขภาพของตนเอง และ ครอบครัว ตลอดจนสนับสนนุ ให้ชุมชน มีสว่ นร่วมในการส่งเสริมด้านสขุ ภาพพลานามัย และพฒั นา สภาพแวดลอ้ มทดี่ ี ตัวชีว้ ดั 1. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะชีวติ ในการเรยี นรกู้ ัญชาและกญั ชง ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญ ฉลาด 2. เพ่อื ให้ผู้เรียน ตระหนกั ถึงโทษและประโยชนข์ องกัญชาและกัญชง ตลอดจนสามารถนาความรู้ และ ทักษะชีวิตทไ่ี ด้ไปแนะน าบคุ คลในครอบครวั หรือเพอื่ น หรือชุมชน ในการใชก้ ญั ชาและกัญชงเป็นยา ในการรักษาหรือควบคมุ อาการไดอ้ ย่างเหมาะสม สาระการเรยี นรู้ กัญชาและกญั ชงพชื ยาท่คี วรรู้ รจู้ ักโทษและประโยชน์ กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั กญั ชาและกญั ชง กัญชา และกญั ชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื กและแพทย์แผนปัจจุบัน และใชก้ ัญชาและกัญชงเป็นยา อยา่ งรคู้ ุณคา่ และชาญฉลาด กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ข้นั กำหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้ 1.1 ครแู ละผู้เรยี นร่วมกันพูดคุยแลกเปลีย่ นประสบการณ์ทม่ี ีเก่ยี วกบั เรื่องกญั ชา 1.2 รวบรวมปญั หาตา่ ง ๆ ทพ่ี บจากการฟัง และดใู นชีวติ ประจำวัน 1.3 วางแผนการเรยี นรู้ 2. ขนั้ แสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้ 2.1 ครแู ละผ้เู รียนร่วมกันศกึ ษาหาข้อมลู เกี่ยวกบั เรอื่ งของกญั ชา 2.2 ครูและผู้เรียนร่วมกันวเิ คราะห์ถงึ โทษและประโยชน์ของกญั ชา 2.3 ครมู อบหมายให้ผู้เรยี นศึกษาโดยหาขอ้ มูลทางอนิ เตอรเ์ น็ต ถงึ ประโยชนข์ องกฐั ชาทใ่ี ชร้ กั ษาโรคแลว้ ให้สรุปประเดน็ ที่ไดค้ ้น เสนอต่อกล่มุ ตามความคิดเหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมงาน

10 3. ข้นั ปฏิบตั แิ ละนำไปประยุกตใ์ ช้ 3.1 ผ้เู รียนนำสถานการณน์ ี้ไปใชก้ ับชวี ิตประจำวัน และสามารถวิเคราะหถ์ งึ ขอดีข้อเสยี ของการใช้ 3.2 สรุป และการดรู วบรวมไวใ้ นแฟม้ สะสมงาน 4. ขนั้ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 4.1 ครูและผู้เรยี นนำแฟม้ สะสมงาน และผลงานท่ีได้จากการปฏบิ ัติใช้เปน็ ข้อมูลในการประเมินผล การเรยี นรู้ 4.2 ครู ผู้เรยี นและผู้เก่ียวขอ้ งรว่ มกันสรา้ งเกณฑก์ ารวดั ผลการเรยี นรู้ 4.3 ครตู ัดสินผลการเรยี นรู้ตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด 4.4 เกณฑ์การประเมิน การวดั ผลประเมินผล วธิ กี ารวัด 1.ประเมินความก้าวหน้า ด้วยวธิ กี ารสังเกต การซกั ถาม ตอบค าถาม 2.การตรวจเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) 3.การตรวจรายงานการศกึ ษาการนำกญั ชาและกญั ชงไปใช้ทางการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก และการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั และนำเสนอ และประเมนิ ผลรวม ด้วย วิธีการ ให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ ตอบแบบสอบถามวดั ทกั ษะ และตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ เครอ่ื งมือ ไดแ้ ก่ ใบงาน เกณฑ์การวัด ผา่ น ต้องได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้ กกก1. สอื่ เอกสารไดแ้ ก่ ใบความรูท้ ี่ 1 ใบงานที่ 1 และหนงั สือเรียนสาระทกั ษะชีวิต ทช33098 กญั ชาและ กัญชงศกึ ษา เพื่อใช้เป็นยำอย่างชาญฉลาด ทช33098 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ Youtube คลิปวิดิโอ ออนไลน์ 3. หอ้ งสมุด

11 บนั ทกึ หลังสอน ก1. ปัญหาหรอื อุปสรรคในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กก.............................……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก2. แนวทางการแกป้ ัญหาหรอื อุปสรรค กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก3. การปรบั ปรงุ แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ เร่อื ง ฟงั ให้รู้ ดใู หเ้ ห็น พดู ใหเ้ ปน็ กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคิดเหน็ ของผนู้ ิเทศท่ไี ด้รบั มอบหมายจากผ้บู รหิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคดิ เห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหนง่ ………………………………………………….

310 ใบความร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง สือ่ อินเทอรเ์ นต็ ภยั เงยี บการใชก้ ัญชาและกัญชงเป็นยา วัตถุประสงค์ กกกกกกก1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจสอ่ื อนิ เทอร์เนต็ ภัยเงยี บการใชก้ ญั ชาและกัญชงเป็นยา กกกกกกก2. เพื่อให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ข้อมูลส่ืออินเทอร์เน็ต ภยั เงยี บการใชก้ ญั ชาและกญั ชงเป็นยา 3. เพื่อให้ตระหนักถึงการรับรู้ข้อมูลจากสื่ออินเทอร์เน็ตภัยเงียบการใช้กัญชาและกัญชง เปน็ ยา เน้ือหา กกกกกกกปัจจุบันจะเห็นคนจานวนมากมีโอกาสใช้เครื่องมือออนไลน์ในการเปล่ียนแปลงตนเองให้ กลายเป็น “ส่ือ” ในการเผยแพร่ข้อมูล ความคิด ข้อคิดเห็นต่าง ๆ โดยมีผู้ชมบนโลกออนไลน์จานวน มาก สามารถเข้ามาเย่ียมชมและแสดงความคิดเห็นแลกเปล่ียนได้ บ้างเข้ามากดไลท์ หรือกดแชร์ ให้เป็นกาลังใจหรือเป็นเครื่องวัดระดับความนิยมของแต่ละเนื้อหานั้น ๆ แต่ส่ือในวันนี้ ควรทาหน้าท่ี อะไรและมบี ทบาทอะไรบ้างในสงั คม กกกกกกกการเปิดพ้นื ท่ีออนไลน์แบบอิสระน้ัน ทาใหห้ ลาย ๆ คนมีโอกาสได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ ไดม้ ชี อ่ งทางเผยแพร่ส่ิงทีส่ ่อื ทว่ั ไปอาจจะไมส่ นใจหรือไมม่ ีเวลาเพยี งพอที่จะนาเสนอได้ ซงึ่ ถ้ามองอย่าง นั้นก็คงเป็นเรื่องท่ีดี แต่ในทางกลับกันจะพบว่ามีการใช้สื่อในทางท่ีไม่ดีไปพร้อม ๆ กัน การเปิดเพจ ท่ีใช้ข้อความชักจูง เชิญชวน แสดงความคิดเห็นเพื่อสรา้ งผลประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2562 นายวิทัศน์ เตชะบุญ อธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) กล่าวในพิธีเปิดอบรมเชิงปฏิบัติการ “รู้เท่าทัน เสริมพลังเครือข่าย ปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนพ้นภัยออนไลน์” ท่ีโรงแรมบางกอก พาเลส กรุงเทพมหานคร ว่า “ความรุนแรงหลากหลายรูปแบบที่เกิดข้ึนในปัจจุบันจานวนมากมาจาก ส่ือออนไลน์ ซึง่ เปน็ ภัยเงียบทส่ี รา้ งความสูญเสยี และผลกระทบมากมาย โดยเฉพาะกบั เดก็ และเยาวชน ข้อมูลการสารวจจากกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม พบว่าเด็กไทยมีโอกาสเส่ียงจากภัยสื่อ ออนไลน์ถึงร้อยละ 60 สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลกซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 56 ทั้งยังพบว่าเด็กไทยใช้อินเทอร์เน็ตเฉลยี่ 35 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สูงกว่าค่าเฉล่ียโลกถึง 3 ชั่วโมง จึงเป็นหน้าท่ีของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องต้องร่วมกัน ปอ้ งกนั และแก้ปญั หา โดยเฉพาะการสรา้ งการร้เู ท่าทนั สอื่ ไมใ่ หต้ กเปน็ เหย่ือส่ือที่เปน็ ภัยคกุ คาม”

311 กกกกกกกโลกของเครือข่ายสังคมออนไลน์ ก็ไม่ต่างจากโลกความเป็นจริง ที่มีท้ัง “คนดี” “คนร้าย” “ตัวจริง” “ตัวปลอม” ปะปนกันไป แต่ท่ีน่าวิตกกว่าโลกความเป็นจริง คือ เร่ืองราวบนโลกสังคม ออนไลน์ แพร่กระจายไปได้เร็วมาก และหยุดยากด้วย บางคนใช้สื่อสังคมออนไลน์ อย่าง รู้เทา่ ไม่ถึงการณ์ หรอื คาดไมถ่ ึงว่าจะเกดิ ผลเสยี หายตามมา อยา่ งกรณที ี่มีข่าวลือท่สี ร้างความเสียหาย แก่ผู้อื่น และมีการส่งต่อให้เพื่อน ๆ หลังจากน้ันไม่นานผู้เผยแพร่ข้อความได้ถูกตารวจจับกุมข้อหา กระทาความผดิ ตามพระราชบญั ญัตวิ า่ ด้วยการกระทาความผดิ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2550 และมี ตวั อย่างขา่ วลกั ษณะแบบนี้อยหู่ ลายกรณี จึงปฏิเสธไม่ไดว้ ่าเมื่อเป็น “สังคม” ก็ตอ้ งมกี ฎระเบียบ มขี ้อ ควรปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นสังคมบน “โลกออนไลน์” หรือ “โลกความเป็นจริง” จึงขอกล่าวถึงข้อควร ปฏิบัตแิ ละควรระวังในการใช้เครือข่ายสงั คมออนไลน์ ดงั นี้ กกกกกกก1. พึงตระหนักเสมอว่าการโพสต์ข้อความ หรือแสดงความคิดเห็นเผยแพร่บนส่ือสังคม ออนไลน์ เป็นข้อความท่ีสามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ ดังน้ันผู้เผยแพร่ต้องรับผดิ ชอบ ทั้งด้านสังคม และกฎหมาย กกกกกกก2. อย่าเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป บนส่ือสังคมออนไลน์ รวมถึงข้อมูลทางการเงิน เพราะการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเท่าไหร่ ภัยร้ายก็จะเข้าใกล้ตัวเรามากขึ้นเท่าน้ัน การระบุ วัน เดือน ปีเกิด จะทาให้มิจฉาชีพทราบถึงอายุ หากเป็นเด็ก หรือวัยรุ่น จะยิ่งเป็นเป้าหมายเพราะล่อลวง ไดง้ ่าย กกกกกกก3. ไม่ควรโพสตข์ ้อความ ท่ชี ้ีชวนใหม้ จิ ฉาชีพรับรู้ความเคล่ือนไหวส่วนตวั ของเราตลอด เช่น บอกสถานะว่าไม่อยู่บ้าน หรือเดินทางไปที่ไหน ขับรถอะไร ซึ่งทาให้ผู้ไม่หวงั ดีวางแผนมาทารา้ ย หรือ วางแผนขโมยทรพั ยส์ ินเราได้ กกกกกกก4. ใช้ความระมัดระวังอย่างย่ิงในการโพสต์ หรือ เผยแพร่ ส่งต่อ ข้อความ รูปภาพ วีดิโอ ท่ีอาจทาให้ผู้อื่นเสียหาย เช่น ภาพหลุด คลิปหลุด หรือ โพสต์รูปภาพที่สื่อถึงอบายมุขต่าง ๆ และไม่ ควรใช้ถ้อยคาหยาบคาย ถ้อยคาลามก อนาจาร ดูหมิ่น ส่อเสียด เสียดสี ให้ร้ายผู้อ่ืนในทางเสียหาย หรอื สร้างความแตกแยกในสังคม กกกกกกก5. พงึ ระมดั ระวงั อยา่ งยิ่งท่ีจะไว้ใจหรือเชื่อใจคน ท่ีรจู้ ักผา่ นอินเทอร์เนต็ ในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลส่วนตัว เช่น ช่ือ อีเมล หมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่ หรือชื่อสถานศึกษา เพราะอาจถูกหลอกลวง หรอื ลอ่ ลวงไปทาอันตรายได้ กกกกกกก6. ให้ระมัดระวังการเช็คอิน (Check-in) ผ่านส่ือสังคมออนไลน์ โดยใช้กล้องโทรศัพท์ ถ่ายภาพ ระบุพิกัด และเวลา เพราะภาพทุกภาพ การโพสต์ทุกอย่างจะอยู่ในอินเทอร์เน็ต ไม่มีวัน ถูกลบอย่างแท้จรงิ

312 กกกกกกกข้อควรระวังที่กล่าวมาน้ีเป็นเพยี งสว่ นหนึ่ง ของการปฏบิ ัตใิ นการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อให้เกิดการตระหนักรู้เท่าทันภยั คุกคามตา่ ง ๆ จากการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ เพื่อจะช่วยป้องกันภัย หรอื ลดความเสียหายลงได้ ภาพที่ 86 เลน่ โซเซียลเน็ตเวริ กใ์ ห้ปลอดภยั “รู้” ไวเ้ ลยี่ งอันตราย ภาพที่ 87 สาเหตทุ ไี่ ม่ควรให้ลกู ติดส่อื ออนไลน์

313 กรณีศึกษาท่ี 1 รวบหนุ่มปากช่องหวั ใส สกดั น้ามันกัญชาขายตลาดมืด พรอ้ มของกลางเพยี บ กกกกกกกเม่ือวันท่ี 11 มิถุนายน 2562 เจ้าหน้าท่ีชุดสืบสวน สภ.ปากช่อง นากาลังเข้าควบคุมตัว นายธนากร (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 27 ปี ท่ีบ้านพักแห่งหน่ึงในชุมชนโรงสูบ เขตเทศบาลเมืองปากช่อง หลังสืบทราบมาว่า มีการลักลอบผลิตน้ามันกัญชาส่งขายผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค นอกจากน้ี ยังพบของกลาง กัญชาอัดแท่ง ยาเค บ้อง เขียง พร้อมส่วนผสม ท้ังแอลกอฮอล์ น้ามันมะพร้าว อ้างไปได้สูตรมาจากอาจารย์ท่านหน่ึงใน กทม. เบื้องต้นแจ้ง ข้อหา ผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 5 (กัญชา) โดยผิดกฎหมาย มียาเสพติดให้โทษประเภทท่ี 5 (กัญชา) ไว้ใน ครอบครองเพอ่ื จาหน่ายโดยผิดกฎหมาย เสพยาเสพติดให้โทษประเภทท่ี 5 (กญั ชา) โดยผดิ กฎหมาย มีวัตถอุ อกฤทธิ์ ประเภทท่ี 2 (เคตามีน) ไวใ้ นครอบครองโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต จากการตรวจสอบของเจ้าหน้าท่ีพบของกลาง ประกอบด้วย 1. กัญชาแห้งห่อด้วยกระดาษฟอยล์ สีทอง น้าหนักรวมภาชนะบรรจุประมาณ 8.6 กิโลกรัม 2. เคตามีนแบ่งเป็นถุงบรรจุในถุงพลาสติกใสชนิดกดปิดดึงเปิดได้ จานวน 8 ถุง น้าหนักรวม 97.33 กรัม 3. ขวดบรรจุน้ามันกัญชาขนาดเล็ก จานวน 80 ขวด 4. ขวดเปล่าสาหรับ บรรจนุ ้ามนั กัญชา จานวน 1 ลงั ประมาณ 1,000 ขวด 5. แกลลอนสขี าวบรรจแุ อลกอฮอล์เหลวจานวน 1 แกลลอน 6. นา้ มนั กญั ชาผสมแอลกอฮอลจ์ านวน 1 ชามสเตนเลส ทผ่ี สมแลว้ 1 ชามสแตนเลสขนาดใหญ่ นอกจากน้ี ยังพบอุปกรณ์การเสพ เช่น บ้องกัญชาทาจากไม้ไผ่ 2 บ้อง เขียงไม้ โดย นายธนากร รับว่า ได้ไป เรียนวิธี ทาน้ามันกัญชา มาจากอาจารย์ท่านหน่ึงท่ี กทม. โดยสูตรในการผลิต มีส่วนผสม ทั้งแอลกอฮอล์ กัญชา น้ามันมะพร้าว ส่วนขั้นตอนวิธีการทา ไม่ขอเปิดเผย โดยกัญชา ซื้อมาจากแหล่งซ้ือขายตลาดมดื ใน กทม. นายธนากร ยังบอกว่าน้ามันกัญชา ใช้หยดใต้ลนิ้ รักษาโรคภมู แิ พ้ คลายเครียด นอนหลับสบาย และรักษาโรคอ่นื ๆ ได้อีกหลาย โรค ซึ่งในตลาดมืด มีการจาหน่ายกันต้ังแต่ ขวดละ 500 บาท ถึง 3,000 บาท มีการลงเพจขายกันอย่างโจ๋งครึ่ม โดยตน ผลิต จาหน่าย แจกจ่าย ให้กับวัยรุ่น และกลุ่มคนทั่วไป ในราคา 300 - 500 บาท นาไปขายต่อ ในราคา 500 - 3,000 บาท ขณะท่ีเจ้าหน้าที่ฝากไปถึงประชาชนท่ี ชอบใช้น้ามันกัญชา ว่าการลักลอบผลิตนั้น ไม่มีมาตรฐาน ไม่ถูก สุขลกั ษณะ ผิดกฎหมาย เปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพ และมีผลข้างเคยี งอยา่ งมาก ควรปรึกษาแพทยก์ ่อนใช้

314 ผลการวิเคราะห์กรณศี ึกษา กกกกกกกผลการวิเคราะห์ จากตัวอย่างกรณีศึกษา รวบหนุ่มปากช่องหัวใส สกัดน้ามันกัญชาขาย ตลาดมดื พร้อมของกลางเพียบ จะเหน็ ได้ว่า กกกกกกก1. ความสาคัญของกรณีศึกษา คือ การสกัดน้ามันกัญชาด้วยตนเองเป็นวิธีการท่ีผิด กฎหมาย กกกกกกก2. ความสัมพันธ์ในกรณีศึกษา คือ มีความต้องการใช้น้ามันกัญชาจากกลุ่มวัยรุ่น และคน ทัว่ ๆ ไป มีการฝา่ ฝืนกฎหมาย ลกั ลอบผลิตนา้ มันกัญชา และมกี ารโฆษณาขายผลิตภัณฑน์ ้ามันกัญชา ขายผ่านสื่อออนไลน์ที่กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงได้ง่าย ส่งผลให้นายธนากร ตัดสินใจลักลอบผลิต น้ามันกัญชาขายผา่ นสือ่ ออนไลน์ กกกกกกก3. หลกั การสาคัญในกรณีศึกษา คอื (1) การจะเชื่อถือข้อมูลทีผ่ ่านมาจากสื่อออนไลน์ ควร มีการวิเคราะห์ข้อมูล และแยกแยะความถูกต้องของข้อมูล และ (2) ความน่าเช่ือถือของแหล่งผลิต นา้ มันกญั ชาควรมมี าตรฐานรับรอง 4. กรณีศึกษาน้ีให้ประโยชน์ในการนาไปใชค้ อื 4.1 ถ้าจาเป็นต้องใช้น้ามันกัญชา ควรรู้ถึงวิธีการท่ีถูกต้อง ปลอดภัย และมี ประสทิ ธิภาพจากแพทย์ และเภสัชกรทีไ่ ด้รบั อนุญาตใหใ้ ชร้ กั ษาโรคดว้ ยนา้ มันกญั ชา 4.2 แนะนาคนในครอบครัว และคนในชุมชน ว่าต้องมีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการท่ี ถูกต้อง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ถ้าจาเป็นต้องใช้ควรปรึกษาแพทย์ และเภสัชกรภายใต้การ ควบคมุ ดูแลของแพทย์ และเภสัชกรทีไ่ ดร้ ับอนุญาตใช้รักษาโรคดว้ ยนา้ มันกญั ชา

315 กรณศี กึ ษาท่ี 2 องคก์ ารเภสชั เตือน ต้อง “รู้ใหจ้ ริง” นา้ มนั กญั ชาทางการแพทย์ กอ่ นใช้! วันที่ 30 มิถนุ ายน 2562 องค์การเภสัชกรรมได้ทวิตข้อความ เตือนประชาชน โดยระบุว่า เมื่อเรารูว้ า่ กัญชามสี รรพคุณเปน็ ยา ดังนั้น เราจึงตอ้ งรู้ทจี่ ะใชใ้ ห้ถูกต้อง ปลอดภัย และมปี ระสิทธภิ าพแทจ้ รงิ ดว้ ย นะครับ

316 ผลการวิเคราะหก์ รณศี กึ ษา ผลการวเิ คราะห์ จากตวั อย่างกรณีศึกษา องคก์ ารเภสชั เตือน ตอ้ ง “รู้ให้จริง” น้ามนั กัญชาทาง การแพทย์ กอ่ นใช้! จะเห็นได้วา่ กกกกกกก1. ความสาคญั ของกรณีศึกษา คือ ความรทู้ ีถ่ กู ต้องในการใชน้ า้ มันกัญชา กกกกกกก2 ความสมั พนั ธ์ในกรณีศึกษา คอื สาเหตมุ คี วามรู้ในวธิ ีการใช้น้ามันกญั ชาไม่ถูกต้อง ส่งผล ใหใ้ ชน้ ้ามนั กญั ชาได้ไม่ปลอดภัย และไมม่ ีประสิทธิภาพ กกกกกกก3. หลักการสาคัญในกรณีศึกษา คือ ข้อมูลที่ผ่านทางสื่อออนไลน์ ถือได้ว่าเป็นข้อมูลที่มี ความน่าเชื่อถือ โดยดูจากแหล่งท่ีมาของข่าว ว่าข้อมูลที่ได้รับมีความน่าเชอื่ ถือ สามารถเข้าไปดูแหล่ง อา้ งองิ ของขอ้ มูลได้ และเกดิ ประโยชนต์ อ่ ผอู้ า่ น 4. กรณศี กึ ษานี้ใหป้ ระโยชน์ในการนาไปใชค้ ือ 4.1 ไมฝ่ า่ ฝนื กฎหมายลักลอบผลติ น้ามันกญั ชา และใชน้ ้ามนั กัญชาในทุกกรณี 4.2 แนะนาคนในครอบครัว และคนในชุมชน ว่าการฝ่าฝืนกฎหมายลักลอบผลิตน้ามัน กัญชาเปน็ สิง่ ผดิ กฎหมาย เพราะกญั ชาเป็นยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 สรุป กกกกกกกเครือข่ายสงั คมออนไลน์กลายเป็นสังคมท่ีมขี นาดใหญ่มากขึ้น และมีความหลากหลายทั้งใน แง่คุณลักษณะทางเพศและอายุ ตลอดจนวัตถุประสงค์การใช้งาน ท่ีนับวันภาพของสังคมออนไลน์ ก็จะย่ิงสะท้อนภาพของคนในสังคมไทยเข้าไปทุกที ตั้งแต่เทคโนโลยีการส่ือสารพัฒนาอย่างก้าวล้า ส่ือสังคมออนไลน์กลับส่งผลไปในทางลบต่อชีวิตประจาวันและความสัมพันธ์ของคนในสังคมอย่าง ชัดเจนยิ่งข้ึน จนกลายเป็นประเด็นทางสังคม ที่ท้ังส่ือ กฎหมายและประชาชนเองจะต้องให้ ความสาคัญในการป้องกันและแก้ไข ซึ่งอาจจะนาไปสู่ปัญหาใหญ่ของสังคม ส่ิงที่เราสามารถทาได้ ในการป้องกันภัยท่ีมาจากสื่อสังคมออนไลน์ ก็คือการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) โดยต้องเข้าใจ สภาพของส่ือออนไลนว์ ่าเป็นสังคมท่ีมีทั้งพนื้ ทส่ี ่วนตัวและพน้ื ท่สี าธารณะ เรียนรูก้ ารส่ือสารและการมี ปฏิสัมพันธ์บนโลกออนไลน์กับชีวิตจริงว่า ความรอบคอบและมีสติทุกคร้ังในการส่ือสารและแสดง ความคดิ เหน็ ต่าง ๆ บนโลกออนไลน์ คอื วธิ ีป้องกนั ภัยรา้ ยเงียบไดเ้ ป็นอยา่ งดี กกกกกกกกรณีศึกษาท่ี 1 จะเหน็ ได้ว่าการสกัดน้ามันกญั ชาด้วยตนเอง เป็นวิธีการทผ่ี ดิ กฎหมาย และ การโฆษณาขายผลติ ภัณฑ์น้ามันกัญชา ผ่านส่ือออนไลน์ สามารถเข้าถึงได้ง่าย แต่การจะเช่ือถือข้อมลู ท่ผี า่ นมาจากสือ่ ออนไลน์ควรมีการวเิ คราะหข์ ้อมลู และแยกแยะความถูกต้องของขอ้ มูลเสียก่อน

317 กกกกกกกกรณีศึกษาท่ี 2 จะเห็นได้ว่า การได้รับความรู้ท่ีถูกต้องในการใช้น้ามันกัญชา จะส่งผลให้ใช้ น้ามันกัญชาได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ข้อมูลที่ผ่านทางสื่อออนไลน์นี้ ถือเป็นข้อมูลท่ีมี ความนา่ เชอื่ ถือสามารถเขา้ ไปดแู หล่งอ้างอิงของข้อมลู ได้ และเป็นประโยชน์ต่อผู้อา่ น

359 ใบงานท่ี 1 หัวเรอื่ ง เหตใุ ดตอ้ งเรียนรกู้ ญั ชาและกัญชง คาชแ้ี จง กกกกกกก1. ใบงานน้ีจัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ และประสบการณ์เก่ียวกับเหตุใดต้องเรียนรู้ กญั ชาและกญั ชง กกกกกกก2. ใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติตามข้ันตอนต่อไปนต้ี ามลาดบั 2.1 ผ้เู รียนร่วมกับครผู ้สู อนกาหนดประเด็นศึกษารว่ มกันไดป้ ระเด็นศกึ ษาต่อไปนี้ 2.1.1 มุมมองกฎหมาย มุมมองประชาชน มุมมองบุคลากรทางการแพทย์ และ มมุ มองของผ้ปู ่วยต่อการใชก้ ญั ชาและกัญชงเปน็ อยา่ งไร 2.1.2 สภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงในต่างประเทศ และประเทศไทย เป็นอย่างไร การให้บรกิ ารคลินิกกญั ชาในประเทศไทยมีก่ปี ระเภท ประเภทละกแี่ ห่ง ท่ไี หนบ้าง 2.1.3 ข้อมูลกัญชาและกัญชงที่พบในสื่อออนไลน์ อินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊ก ไลน์ และ ยทู บู มีข้อมลู แตกต่างกันอย่างไร 2.2 ผู้เรียนศึกษาประเด็นศึกษาในข้อ 2.1.1, 2.1.2 และ 2.1.3 จากสื่อเอกสาร ประกอบด้วย ใบความรู้ท่ี 1 เร่ืองสื่ออินเทอร์เนต็ ภัยเงียบการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยา หนังสือเรียน สาระทักษะการดาเนินชีวติ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด และหนังสือท่ีเก่ียวข้อง 2 เล่ม ช่ือหนังสือกัญชารักษามะเร็ง และชื่อหนังสือข้อมูลเบ้ืองต้นเก่ียวกับ กญั ชาทางการแพทย์ สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์อยา่ งนอ้ ย 3 เว็บไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์ https://www.ditp.go.th/ contents_attach/ 376953/376953.pdf เว็บไซต์ http://krua.co/food-story/food-feeds/ และ เว็บไซต์ http://www.bbc.com/thai/thailand-42748753 และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ห้องสมุด ใกลบ้ า้ นผเู้ รียน 2.3 บนั ทกึ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ท่ีไดใ้ นข้อ 2.2 ลงในเอกสารการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 2.4 พบกลุ่ม นาข้อมูลข้อ 2.3 มาอภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู้ข้อมลู ที่ได้กับเพ่ือนผ้เู รียน และครูผู้สอน คิดวิเคราะห์และคิดสังเคราะห์ สรุปผลการเรียนรู้ที่ได้ใหม่ร่วมกัน บันทึกลงในเอกสาร การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผสู้ อนตามทไ่ี ด้นดั หมาย 2.5 นาผลสรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่ร่วมกันไปฝึกปฏิบัติด้วยการตอบแบบฝึกหัด บันทึก ลงในเอกสารการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) และกจิ กรรมตามท่มี อบหมาย สง่ ครูผู้สอนตามทน่ี ดั หมาย 2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ท่ีได้จากการฝึกปฏิบัติในข้อ 2.5 ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วย ตนเอง (กรต.) สง่ ครูผูส้ อนตามท่นี ัดหมาย

360 แบบฝึกหดั กกกกกกกคาช้แี จง : ให้ผ้เู รียนตอบคาถามในข้อต่อไปนลี้ งในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) ส่งครผู ูส้ อนตามท่ีนดั หมาย กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายตอ่ การใช้กัญชาและกญั ชงเป็นอยา่ งไร คาตอบ……………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก2. สภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยเปน็ อย่างไร คาตอบ……………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก3. ข้อมูลกัญชาและกัญชงที่พบในส่ืออินเทอร์เน็ต กับ ส่ือเฟซบุ๊ก มีข้อมูลแตกต่างกัน อย่างไร คาตอบ……………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….………………………….

361 กจิ กรรม กกกกกกกคาช้ีแจง : ใหผ้ ู้เรยี นวเิ คราะห์กรณีศึกษาต่อไปนี้ ในประเดน็ (1) ความสาคัญของกรณีศึกษา น้ีมีอะไร (2) อธิบายความสัมพันธ์ท่ีพบในกรณีศึกษานี้คืออะไร และ (3) หลักการท่ีใช้อธิบาย กรณีศึกษานี้คืออะไร และ (4) กรณีศึกษาน้ีให้ประโยชน์ในการนาไปใช้อย่างไร แล้วเขียนคาตอบผล การวเิ คราะห์ลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) ส่งครูผสู้ อน กรณีศกึ ษา ลม้ ปว่ ยอกี 4 รายใชก้ ัญชาหยดใต้ลิน้ ส่ังซอื้ ทางออนไลน์ ตวั เกร็ง ชกั กระตกุ แพทย์เตอื นใช้สารสกัดกัญชาไม่ถูกวธิ ีอาจถึงตายเผยคนไขแ้ อบใช้เกิดอาการชักเกร็ง-อาเจียน ถูกสง่ รพ.นา่ น 4 ราย กกกกกกกนพ.พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์ รองผู้อานวยการโรงพยาบาลน่าน กล่าวถึงกรณี ผู้ป่วย จานวนมาก แอบใช้น้ามันกัญชาสกัดรักษาโรคโดยไม่ปรึกษาแพทย์ และเกิดผลกระทบต่าง ๆ ว่า ปัจจุบันพบสถานการณ์ เร่ิมมีความรุนแรงข้ึน จากเดิมท่ีเคยพบประมาณเดือนละ 1 ราย แต่ล่าสุดพบวันเดียวมากถึง 4 ราย ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยท่ีเป็นโรค ท่ีไม่มีข้อบ่งชี้ว่าจาเป็นต้องใช้ น้ามันกัญชารักษา บางรายมีอาการหูแว่ว ประสาทหลอน รวมถึงขากระตุกไม่หยุด หรือ ชาตาม เนอื้ ตัว กกกกกกกทั้งนี้จากการสบื ประวตั ผิ ปู้ ่วยพบวา่ ส่งั ซื้อนา้ มันกัญชาทางออนไลน์ แล้วนามาทดลองใช้ เอง ด้วยการหยอดบริเวณใต้ลิ้น จากนั้นประมาณ 2-3 ช่ัวโมงก็เร่ิมมีอาการต้องรีบส่งตัวมารักษา ทโี่ รงพยาบาลอยา่ งเรง่ ด่วนทกุ ราย รองผู้อานวยการ รพ.นา่ น ระบุ ส่วนตัวมองว่ากญั ชามที ัง้ ขอ้ ดี ขอ้ เสียในทางการแพทย์เราไม่ไดต้ ่อตา้ น แตต่ อ้ งใช้ตามข้อบง่ ชี้ ดังนน้ั จงึ เป็นเรือ่ งทีต่ ้องออกมาเตือนประชาชนใหร้ ะมัดระวงั เพราะตอ้ งไม่ลมื วา่ กัญชาเองก็มสี ารออกฤทธต์ิ ่อจิตประสาท ถ้าคมุ ไม่ดีเราอาจจะมผี ปู้ ่วย ผูเ้ สพตดิ เพิ่มขนึ้ ได้

362 คาตอบ ผลการวิเคราะหก์ รณีศกึ ษา 1. ความสาคญั ของกรณศี กึ ษาคอื ...................................................................................... ................................................................................................................................................................ 2. ความสมั พนั ธท์ ่ีพบในกรณีศึกษาคือ.............................................................................. .............................................................................................................. .................................................. 3. หลักการทใี่ ชอ้ ธบิ ายกรณศี ึกษานคี้ ือ............................................................................. ................................................................................................................................................................ 4. กรณีศึกษานี้ให้ประโยชนใ์ นการนาไปใช้คือ .................................................................. ................................................................................................................................................................

แผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ กลุ่มสาระความรู้พนื้ ฐาน รายวิชา กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด ทช 33098 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย แผนการจดั การเรยี นรู้เรือ่ งท่ี 3 กัญชาและกัญชงกอ่ ใหเ้ กิดโรคจติ เวชได้ เวลา 6 ชวั่ โมง สอนวนั ที่ …….……เดือน ……… …………..พ.ศ.……… ...ภาคเรยี นที่ ………ปีการศึกษา .......... มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมี พฤติกรรมสุขภาพที่ดี ปฏบิ ตั จิ นเปน็ กจิ นิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ด ารงสุขภาพของตนเอง และ ครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ชมุ ชนมี ส่วนรว่ มในการสง่ เสริมด้านสุขภาพพลานามัย และพัฒนา สภาพแวดลอ้ มที่ดี ตวั ชวี้ ัด . 1.เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ กัญชาและกญั ชงกอ่ ให้เกดิ โรคจิตเวชได้ 2. เพือ่ ใหม้ ีทักษะการแสวงหาความรู้เรอื่ ง กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ 3. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีความตระหนักถงึ ความสำคัญของ โทษกัญชาและกญั ชงก่อให้เกิดโรค จิตเวชได้ สาระการเรยี นรู้ กัญชาและกัญชงกอ่ ให้เกิดโรคจิตเวช การใช้กัญชาและกญั ชงสง่ ผลต่อจติ ประสาทในเดก็ และเยาวชน เม่อื เสพกัญชาเข้าไปในระยะแรก กัญชาจะออกฤทธ์กิ ระต้นุ ประสาท เมือ่ ร่างกายรับสาร เตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล (Tetrahydrocannabinol : THC) หลงั จาก 1 - 2 ช่ัวโมง จะเริ่มออกฤทธิ์ กดประสาท และประสาทหลอน ควบคุมตวั เองไม่ได้ ผทู้ เ่ี สพกญั ชาเปน็ เวลานานท าใหเ้ ส่ียงตอ่ การเสพตดิ กัญชา มีโอกาสท าใหส้ มองเสื่อม และเกดิ ปญั หาสขุ ภาพจิต ซ่งึ น าไปสู่โรคจิตเวชได้ และผู้ป่วยจิตเวช มีความเสยี่ งสูงต่อการกอ่ ความรุนแรง ทำรา้ ยตวั เอง ท าร้ายผอู้ ื่นใหถ้ งึ แก่ชีวติ รวมถงึ ก่อเหตกุ ารณ์ รุนแรงในชุมชน กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ขัน้ กำหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้ 1.1 ครูและผู้เรียนร่วมกนั พูดคุยแลกเปล่ียนประสบการณท์ ่มี ีเกีย่ วกบั เร่ืองการใช้กัญชาและกญั ชงส่งผล ต่อจติ ประสาทในเด็ก และเยาวชน 1.2 รวบรวมปญั หาต่าง ๆ อาการเตอื นของผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท ท่ีเกดิ จากการเสพกญั ชา 1.3 วางแผนการเรยี นรู้ 2. ข้ันแสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรียนรู้ 2.1 ครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกันศกึ ษาหาขอ้ มลู เกย่ี วกับเรอ่ื งของกญั ชา 2.2 ครูและผ้เู รียนร่วมกันวิเคราะหถ์ งึ โทษและประโยชนข์ องกัญชา

10 2.3 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนศกึ ษาโดยหาขอ้ มูลทางอนิ เตอรเ์ น็ต ถึงประโยชนข์ องกฐั ชาทใี่ ช้รกั ษาโรคแลว้ ให้สรุปประเด็นทไ่ี ดค้ น้ เสนอต่อกลมุ่ ตามความคดิ เห็นของตนเอง และ รวบรวมไวใ้ นแฟ้มสะสมงาน 3. ขนั้ ปฏบิ ตั ิและนำไปประยุกตใ์ ช้ 3.1 ผ้เู รียนนำสถานการณน์ ี้ไปใช้กับชวี ติ ประจำวัน และสามารถวเิ คราะห์ถงึ ขอดขี ้อเสียของการใช้ 3.2 สรุป และการดูรวบรวมไวใ้ นแฟ้มสะสมงาน 4. ข้นั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 4.1 ครแู ละผู้เรียนนำแฟม้ สะสมงาน และผลงานทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั ิใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการประเมนิ ผลการ เรียนรู้ 4.2 ครู ผู้เรยี นและผู้เกีย่ วข้องรว่ มกนั สรา้ งเกณฑก์ ารวัดผลการเรยี นรู้ 4.3 ครูตัดสนิ ผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด 4.4 เกณฑ์การประเมนิ การวดั ผลประเมินผล วิธีการวัด 1.ประเมินความก้าวหน้า ดว้ ยวิธีการสงั เกต การซกั ถาม ตอบค าถาม 2.การตรวจเอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 3.การตรวจรายงานการศึกษากญั ชาและกัญชงก่อใหเ้ กิดโรคจิตเวชทางเลอื ก และการแพทย์แผนปัจจุบัน และนำเสนอ และประเมินผลรวม ด้วย วิธีการ ให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ ตอบแบบสอบถามวัดทักษะ และตอบ แบบสอบถามวัดเจตคติ เคร่ืองมือ ไดแ้ ก่ ใบงาน เกณฑก์ ารวัด ผ่าน ต้องได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของคะแนนเตม็ ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ กกก1. ส่ือเอกสารไดแ้ ก่ ใบความรู้ที่ 1 ใบงานที่ 1 และหนังสือเรียนสาระทกั ษะชวี ิต ทช33098 กัญชาและ กญั ชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยำอย่างชาญฉลาด ทช33098 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. สือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ได้แก่ Youtube คลิปวดิ ิโอ ออนไลน์ 3. ห้องสมุด

11 บันทกึ หลงั สอน ก1. ปัญหาหรอื อปุ สรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กก.............................……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก2. แนวทางการแกป้ ญั หาหรืออุปสรรค กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก3. การปรบั ปรงุ แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ เรอื่ ง ฟังใหร้ ู้ ดูใหเ้ หน็ พูดใหเ้ ปน็ กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคดิ เห็นของผู้นเิ ทศทไี่ ด้รบั มอบหมายจากผู้บรหิ าร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………...................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคิดเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………........................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง………………………………………………….

327 ใบความรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง กัญชาและกัญชงก่อใหเ้ กดิ โรคจิตเวชได้ วตั ถปุ ระสงค์ กกกกกกก1. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ กกกกกกก2. เพื่อให้มีทักษะการแสวงหาความรู้เร่ือง กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ กกกกกกก3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของ โทษกัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรค จิตเวชได้ เนือ้ หา กกกกกกกกัญชามีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาคล้ายกับยากระตุ้นประสาท ยากดประสาท ยาหลอนประสาท ยาแก้ปวด และยาท่ีออกฤทธิ์ทางจิตประสาท ทาให้ผู้เสพกัญชามีอาการเคล้ิมจิต โดยในข้ันต้นมักจะเป็น อาการกระตุ้นประสาท ผู้เสพจะมีอาการล่องลอย สับสน ปากแห้ง อยากอาหาร ชีพจรเต้นเพิ่มขึ้น ตาแดงขึ้นในขณะท่ีเสพ หากเสพเป็นประจา สุขภาพโดยภาพรวมจะเส่ือมลง ผู้ที่เสพติดกัญชาส่วนใหญ่ จะมีโอกาสป่วยเป็นโรคจิตในภายหลังมากกว่าคนที่ไม่สูบถึงร้อยละ 60 ยิ่งเสพมากและเสพเป็นเวลานาน ก็ย่ิงเพิ่มความเสี่ยงมาก โดยผู้เสพหนักสุดจะมีโอกาสเป็นโรคจิตมากกว่าคนปกติ 4 - 6 เท่า กรมการแพทย์ เปิดเผยการศึกษาผู้ป่วยเสพติดกัญชาท่ีเข้ารับการรักษา จากสถาบันบาบัดรักษายาเสพติดของรัฐ 6 แห่ง ทั่วประเทศ สถาบันบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี โรงพยาบาลธัญญา รักษ์เชียงใหม่ ขอนแก่น อุดรธานี สงขลา ปัตตานี พบเป็นโรคจิตเวชสูงถึง ร้อยละ 72.3 การเสพ กัญชาเป็นการเริ่มเสพยาเสพตดิ ร้ายแรงท้ังปวง กกกกกกกโรคจิต (Psychosis) คือ ภาวะอาการทางจิตที่ผ้ปู ่วยมักมอี าการหลงผิดไปจากความเป็นจริง ประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพหรือรับรู้ในส่ิงที่ไม่มีอยู่จริง อาการโรคจิตหรือวิกลจริตน้ีเป็นปัญหา สุขภาพจิตท่ีอาจเกิดข้ึนได้จากหลายสาเหตุทั้งปัจจัยภายในอย่างความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ อาการ เจ็บปว่ ยทางรา่ งกาย และปัจจยั ภายนอกอย่างการใช้ยาหรือสารเสพตดิ กกกกกกกอาการโรคจิต แม้อาการบางอย่างของผู้ป่วยโรคจิตจะทาให้ครอบครัวและบุคคลรอบข้าง เปน็ กังวล ผู้ปว่ ยโรคจิตแตล่ ะคนอาจมีลักษณะท่าทางและอาการทป่ี รากฏแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไป แล้ว กลุ่มอาการหลัก ๆ ของโรคจิต ได้แก่ ประสาทหลอน ประสาทรับรูท้ ้ัง 5 ประกอบด้วย ความคิด มีความคิดหลงผิด การรับรู้ มีประสาทหลอน อารมณ์ย้ิมคนเดียว สีหน้าท่ีเรียบเฉย การพูด คาพูด สบั สน พูดเพ้อเจอ้ พฤตกิ รรมและการแสดงออก แยกตวั พูดคนเดียวคล้มุ คลั่ง

328 กกกกกกกอาการเตือนของผู้ป่วยโรคจิตเภท หากพบว่าผู้ท่ีเสพกัญชามากและใช้ระยะเวลานาน มีอาการเตือน ควรพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ เพ่ือตรวจสอบว่า กาลังจะมีอาการโรคจิตใช่หรือไม่และ จะแก้ไขอย่างไร ตัวอย่างอาการเตอื นที่พบบ่อย เช่น สมาธิหรือความจาไม่ดี อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ความคิดช้าเกินไป นอนไม่หลับ ความคิดเร็วเกินไป รับประทานอาหารมากขึ้นหรือน้อยลง วิตกกังวล หรือตึงเครียด ไม่มีเรี่ยวแรงหรือไม่อยากทาอะไร ซึมเศร้าหรือเบ่ือหน่าย มีความรู้สึกว่าสิ่งต่าง ๆ รอบตวั เปล่ียนไป โกรธหรือหงดุ หงดิ ง่าย ไมไ่ วว้ างใจหรอื ระแวงผูอ้ ่นื กกกกกกกผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเส่ียงสูงต่อการก่อความรุนแรง ทาร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวัง ให้เสียชีวิต ทาร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรงก่อเหตุการณ์รุนแรงในชุมชน มีความคิดทาร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต ก่อคดีอาญารนุ แรง (ฆา่ พยายามฆา่ ข่มขนื วางเพลงิ ) กกกกกกกนายแพทย์สมศักด์ิ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าววา่ ความเส่ียงของการเสพกัญชา กับโรคจิตเภท ซึ่งมีผลทาให้อาการทางจิตและการพยากรณ์โรคแย่ลง โดยเฉพาะคนที่มีกรรมพันธ์ุ ทจี่ ะเปน็ โรคจติ หรือเคยมอี าการทางจติ มาก่อนเม่ือใช้กัญชาจะทาใหเ้ กดิ อาการทางจิตได้มากขนึ้ กกกกกกกผศ.ดร.พญ.รัศมี สังข์ทอง หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีการออกเอกสารเผยเพร่ ผลของการใช้กัญชาต่อจิตประสาทในเด็กและเยาวชน โดยระบุวา่ เมื่อเสพกัญชา เข้าไปในระยะแรก กัญชาจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทาให้ผู้เสพมีอาการต่ืนตัว ตื่นเต้นจาก สารเตตรา ไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol : THC) แต่เมื่อผ่านไป 1 - 2 ช่ัวโมง กัญชาจะเริม่ ออก ฤทธ์ิ กดประสาท มีโอกาสเกิดสมองเส่ือมถาวร หรือเป็นจิตเภท โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน อารมณ์ อ่อนไหว เลื่อนลอย สมองส่ังงานช้า ไม่สนใจส่ิงแวดล้อม ร่าเริงผิดปกติ รู้สึกกังวล กลัว ไม่กล้าไว้ใจใคร ซึมเศรา้ คิดฆ่าตัวตาย ดุรา้ ยผิดปกติ มองเห็นภาพหลอน ควบคุมตัวเองไมไ่ ด้ นาไปสู่ อุบัตเิ หตุ ปัญหา การเรียน ผลการเรียนตกต่า ขาดสมาธิในการเรียน ความสามารถในการเรียนรู้แย่ลงและมีปัญหา สขุ ภาพจติ หรือวกิ ลจริตนาไปสู่โรคจติ เวชได้ สรปุ กกกกกกกกัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวช การใช้กัญชาและกัญชงส่งผลต่อจิตประสาทในเด็ก และเยาวชน เม่ือเสพกัญชาเข้าไปในระยะแรก กัญชาจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เมื่อร่างกายรับสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol : THC) หลังจาก 1 - 2 ช่ัวโมง จะเร่ิมออกฤทธ์ิ กดประสาท และประสาทหลอน ควบคุมตัวเองไม่ได้ ผู้ที่เสพกัญชาเป็นเวลานานทาใหเ้ สี่ยงต่อการเสพติด กัญชา มีโอกาสทาให้สมองเส่ือม และเกิดปัญหาสุขภาพจิต ซ่ึงนาไปสู่โรคจิตเวชได้ และผู้ป่วยจิตเวช มีความเส่ียงสูงต่อการก่อความรุนแรง ทาร้ายตัวเอง ทาร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต รวมถึงก่อเหตุการณ์ รุนแรงในชุมชน

366 ใบงานที่ 3 หัวเร่อื ง รู้จกั โทษและประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชง คาชแ้ี จง กกกกกกก1. ใบงานน้ีจัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และประสบการณ์เก่ียวกับ รู้จักโทษและ ประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง กกกกกกก 2. ใหผ้ ู้เรยี นปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ตี ามลาดบั 2.1 ผู้เรียนร่วมกบั ครูผ้สู อนกาหนดประเดน็ ศกึ ษารว่ มกนั ไดป้ ระเดน็ ศกึ ษาตอ่ ไปนี้ 2.1.1 โทษของกัญชาและกญั ชงต่อร่างกาย จติ ใจ สงั คม และประเทศชาติ มอี ะไรบา้ ง 2.1.2 ผลข้างเคียงการใช้กัญชาและกัญชงในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว มอี ะไรบา้ ง 2.1.3 ประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชงทางการแพทยม์ ีอะไรบ้าง 2.2 ให้ผู้เรียนศึกษาประเด็นศึกษาในข้อ 2.1.1 2.1.2 และ 2.1.3 จากสื่อ เอกสารประกอบดว้ ย ใบความรูท้ ี่ 3 เรื่อง กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ หนังสือเรียนสาระ ทกั ษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด และ หนังสือท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ ช่ือหนังสือกัญชาสุดยอดยาวิเศษ ศาสตร์แห่งการรักษาโรคยุคใหม่ ช่ือ หนังสือข้อมูลเบื้องต้นเก่ียวกับกัญชาทางการแพทย์ และชื่อหนังสือกัญชายาวิเศษ เล่ม 2 กัญชารักษา มะเร็ง สื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 3 เว็บไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์ http://www.pharmacy.mahidol.ac.th เว็บไซต์ http://heslth.kapook.com และเว็บไซต์ http://www.prdmh.com และแหล่งเรียนรู้ใน ชุมชน ห้องสมุดใกล้บา้ นผเู้ รยี น 2.3 บนั ทกึ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ท่ีไดใ้ นข้อ 2.2 ลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 2.4 พบกลุ่ม นาข้อมูลข้อ 2.3 มาอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่ได้กับเพื่อน ผู้เรียน และครูผู้สอน คดิ วเิ คราะห์ และคิดสังเคราะห์สรุปผลการเรยี นรู้ท่ีได้ใหมร่ ่วมกัน บันทกึ ลงใน เอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) ส่งครผู สู้ อนตามท่นี ัดหมาย 2.5 นาสรุปผลการเรียนรู้ท่ีไดใ้ หม่รว่ มกันไปฝึกปฏบิ ัติด้วยการตอบแบบฝึกหัด บันทึก ลงในเอกสารการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) และกิจกรรมตามทม่ี อบหมาย สง่ ครผู สู้ อนตามทนี่ ดั หมาย 2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติในข้อ 2.5 ลงในเอกสารการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง (กรต.) สง่ ครผู ู้สอนตามที่นดั หมาย

367 2.7 ผเู้ รียนรับฟังการบรรยายสรปุ สรา้ งความตระหนักถงึ โทษและประโยชน์ของกัญชา และกัญชง โดยเฉพาะการฝ่าฝืนกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง และควรใช้กัญชาและกัญชงเพ่ือประโยชน์ ทางการแพทยเ์ ท่านน้ั แบบฝึกหัด กกกกกกกคาชี้แจง : ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผสู้ อนตามทน่ี ดั หมาย กกกกกกก 1. โทษของกญั ชาและกัญชงต่อรา่ งกายและจิตใจมีอะไรบ้าง คาตอบ ........................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ กกกกกกก 2. ผลข้างเคยี งการใชก้ ัญชาและกัญชง ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวมีอะไรบ้าง คาตอบ ....................................................................................................................... .... ................................................................................................................................................................ กกกกกกก 3. ประโยชน์ของกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์คืออะไร คาตอบ ........................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ กิจกรรม กกกกกกกคาชี้แจง : ให้ผู้เรียนวิเคราะห์กรณีศึกษาต่อไปนี้แล้วแยกแยะโทษและประโยชน์ของกัญชา และกัญชง เขียนคาตอบผลการแยกแยะทไ่ี ด้ลงในเอกสารการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) กรณศี ึกษาโทษและประโยชนข์ องกญั ชาและกญั ชง สุรียา อายุ 73 ปี อาศัยอยู่ในชนบท มีลกู สาว 1 คน และ ลูกชาย 1 คน ชื่อสมศรี และสมศักดิ์ สามี ของ สุรียาเสียชีวิตเมื่อสุรียาคลอดสมศักดิ์ได้เพียง 2 เดือน จากน้ันสุรียาไม่ได้มีสามีใหม่จึงต้อง เล้ียงสมศรีและสมศักดิ์เพียงลาพัง สุรียาทางานหนักเพื่อหาเล้ียงลูกทั้งสองเร่ือยมา จนกระทั่งลูก ทั้งสองโตข้ึน สมศรีทางานใกล้บ้านเพราะอยากอยู่ดูแลแม่ ส่วนสมศักดิ์ทางานในกรุงเทพ ฯ จนกระทงั่ .

368 สรุ ียาป่วย มีอาการไอเรื้อรัง เจ็บหน้าอก เนื่องจากต้องทางานหนกั แตไ่ มไ่ ด้ไปหาหมอ เพราะ ไม่คิดว่าจะเป็นโรคร้ายแรง สุรยี าทนอยู่กับอาการเจบ็ ป่วยของตนเองมานานนับปี จนอาการ เริ่มทรุดลง ร่างกายซูบผอม ไม่มีแรง สมศรีจึงพาสุรียาไปหาหมอ เมื่อแพทย์วินิจฉัยอย่าง ละเอยี ดแล้วพบว่า สรุ ียาเปน็ โรคมะเรง็ ปอดระยะท่ี 4 ไมม่ ที างรักษา และให้กลับมาพกั ทบี่ ้าน สมศรีจึงหาทางรักษามารดาด้วยตนเองโดยการหาข้อมูลต่าง ๆ ว่ามียาหรือผลิตภัณฑ์ใดที่ สามารถรักษาโรคมะเร็งของสุรียาได้บ้าง จนกระทั่งมาพบ น้ามันกัญชา สมศรีจึงซื้อน้ามัน กัญชามาให้สุรียาใช้ ในเวลาต่อมาสุรียามีอาการดีข้ึนทานอาหารได้มากข้ึน อาการเจ็บ หน้าอกลดลง ใช้ชีวิตได้อย่างปกติ สุรียา และสมศรีได้รับการติดต่อจากเพื่อนร่วมงานของ สมศักดิ์ ว่าสมศักด์ิไม่สามารถทางานได้ เพราะติดกัญชาขนาดหนักทาให้ร่างกายทรุดโทรม ประสาทหลอน คิดว่าจะมีคนมาทาร้ายตนเอง ซึง่ เป็นผลข้างเคยี งจากการสูบกัญชาเกินขนาด เป็นเวลานาน สุรียาและสมศรีจึงไปรับสมศักด์ิกลับมารักษาอาการดังกล่าว เมื่อสมศักด์ิ กลับมาอยู่ท่ีบ้านก็ได้รับการรักษา แต่สมศักด์ิยังไม่สามารถเลิกสูบกัญชาได้ จึงทาให้อาการ ของสมศกั ดิ์ยงิ่ รนุ แรงข้นึ ถึงขน้ั ทาร้ายสรุ ียาผู้เป็นแม่จนได้รับบาดเจ็บ แต่ท่ีมากไปกว่านั้นคือ สมศักดิ์ได้ก่อเหตุฆ่าชิงทรัพย์สาวชาวต่างชาติจานวน 3 ราย ติดต่อกัน และได้ซ่อนเร้น อาพรางศพไว้ สื่อต่างชาติได้มีการรายงานข่าวนี้ไปทั่วโลก ทาให้ความมั่นใจด้านความปลอดภัย ของประเทศไทยในสายตาของชาวตา่ งชาตลิ ดลงอย่างมาก ผลการวิเคราะหก์ รณีศึกษา คือ....................................................................................... 1. ความสาคญั ของกรณศี กึ ษานี้ คือ............................................................................... ................................................................................................................................ ................................ 2. ความสมั พันธ์ท่ีพบในกรณีศึกษา คือ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... 3. หลกั การท่ีสาคัญในกรณีศึกษา คือ .......................................................................... ............................................................................................................................. ...................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook