กองพลทหารราบท่ี ๗ (พล.ร.๗) พร้อมรบ ทนั สมัย เปน็ ทหารอาชีพท่ีประชาชนเช่ือมนั่ กรมทหารราบท่ี ๗ (ร.๗) กรมทหารราบท่ี ๗ รบจนสุดใจขาดดิ้น กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมทหารราบที่ ๗ (ร.๗ พนั .๒) รับคำสง่ั ทำทนั ที ทำดีท่ีสุด
7002 มทภ.๓ ตรวจเย่ยี ม การฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ ร่นุ ปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ สารบญั หนา้ ๑ ๑. ประวัตหิ นว่ ย ๙ ๒. สถานภาพความพร้อมรบของหนว่ ย ๑๗ ๓. นโยบาย ๔. การฝกึ ทหารใหม่ ๔๒ ๔๘ ๔.๑ ข้อมูลทหารใหม่ ๖๐ ๔.๒ การเตรียมการ ๖๙ ๔.๓ มาตรการป้องกนั COVID - 19 ๙๑ ๔.๓ การดำเนินการฝึก ๙๗ ๔.๔ การประเมินผล และการตรวจสอบ ๕. การฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 มทภ.๓ ตรวจเยี่ยมการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหน้าท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ประวตั ิหนว่ ย กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบท่ี ๗ เดิมถือกำเนิดจาก “กองพันทหารราบท่ี ๓ กรมทหารราบที่ ๑๗” ซ่ึงจัดต้ังข้ึนตามคำสั่งกองทัพบก (เฉพาะ) ลับ ที่ ๓๐ / ๒๓ เรื่อง การจัดต้ัง กรมทหารราบท่ี ๑๗ และกองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบท่ี ๑๗ ลง ๗ มี.ค.๒๓ ตาม อจย. หมายเลข ๗ – ๑๕ (๒๕ มิ.ย.๒๒) ซึ่งประกาศใช้ตามคำส่ัง กองทัพบก (เฉพาะ) ลับ ท่ี ๑๔๓ / ๒๒ ลง ๑ พ.ย.๒๒ เรียกนามหน่วยโดยย่อว่า “ร.๑๗ พัน.๓” เคร่ืองหมายสังกัดใช้ “ร.๑๗ / ๓” ประกอบดว้ ย ๑. กองบังคบั การ และ กองรอ้ ยสนบั สนุนการรบ ตาม อจย. หมายเลข ๗ - ๑๖ (๒๕ มิ.ย.๒๒) ๒. กองรอ้ ยสนบั สนนุ การชว่ ยรบ ตาม อจย. หมายเลข ๗ - ๑๘ (๒๕ ม.ิ ย.๒๒) ๓. ๓ กองร้อยอาวุธเบา ตาม อจย. หมายเลข ๗ - ๑๗ (๒๕ มิ.ย.๒๒) วิวัฒนาการของหนว่ ย กองพันทหารราบท่ี ๒ กรมทหารราบท่ี ๗ ถอื กำเนดิ จาก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบ ท่ี ๑๗ เริ่มต้ังข้ึนเมื่อ ๒๑ เม.ย.๒๓ บริเวณ กองร้อยรถถังที่ ๗ (เดิม) ค่ายสุรศักด์ิมนตรี อ.เมือง จว.ลำปาง ขึ้นการบังคับบัญชากับ กรมทหารราบท่ี ๑๗ ซึ่งมที ี่ต้ังปกติอยู่ที่ อ.เมือง จ.พะเยา และมีท่ีต้ัง ช่ัวคราว บริเวณ กองรอ้ ยรถถังท่ี ๗ (เดมิ ) คา่ ยสุรศักดม์ิ นตรี อ.เมือง จ.ลำปาง เชน่ กัน ต่อมาได้เปลีย่ นนามหนว่ ยเปน็ กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๗ ข้ึนการบงั คบั บญั ชากับ กรมทหารราบที่ ๗ ตามคำสั่งกองทัพบก (เฉพาะ) ลับ ท่ี ๑๑๑ / ๒๕ เรื่อง การปรับการบังคับบัญชา หน่วยระดับ พัน.ร. ให้กับ ร.๗, ร.๑๗ และ ร.๘ ลง ๒๖ พ.ค.๒๕ ข้อ ๔.๑ เรียกนามหน่วยย่อว่า กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๒ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ “ร.๗ พนั .๒” เครอ่ื งหมายสงั กัดใช้ “ร.๗ / ๒” ตง้ั แต่ ๒๖ พ.ค.๒๕ เปน็ ตน้ มา เคลื่อนย้ายเขา้ ประจำทต่ี ัง้ ถาวร ตามคำส่ังกองทัพบก (เฉพาะ) ลับ ท่ี ๑๘๗ / ๒๕ เรื่อง ให้กองพันทหารราบท่ี ๒ กรมทหารราบท่ี ๗ เข้าประจำที่ต้ังถาวร ลง ๒ ส.ค.๒๕ หน่วยได้เคลื่อนยา้ ยจากที่ต้ังช่ัวคราวค่ายสุรศักดิ์มนตรี อ.เมือง จ.ลำปาง เมื่อ ๒๕ พ.ย. ๒๕ ด้วยการเดินเท้าถึงท่ีต้ังถาวร เลขท่ี ๒๒๒ หมูท่ ่ี ๑๓ ต.ปิงโคง้ อ.เชียงดาว จ.เชยี งใหม่ เมื่อ ๕ ธ.ค.๒๕ ใช้เวลาในการเคล่อื นยา้ ย จำนวน ๑๑ วนั ๑๐ คนื สำหรบั ชื่อ“คา่ ยพิชิตปรีชากร” ได้รับพระมหากรุณาธคิ ุณโปรดเกล้า ฯ จากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ฯ รัชกาลปัจจบุ ันไดพ้ ระราชทานช่ือ คา่ ย เพอ่ื เป็นอนุสรณแ์ ด่พระเจ้านอ้ งยาเธอ ฯ กรมหลวงพชิ ิตปรชี ากร ใน รัชกาลที่ ๕ ซึ่งได้รับพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ จากพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ ให้ดำรงตำแหน่งข้าหลวงพิเศษ จดั การปฏริ ปู การปกครองหวั เมืองลา้ นนา เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๗ ซึง่ พระองคไ์ ด้ ประกอบคุณประโยชน์ในด้านการปกครอง และสร้างความม่ันคงในพื้นท่ี ภาคเหนือ ตามประกาศกองทัพบก เร่ือง พระราชทานช่ือค่ายทหาร ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๒๘ ซึง่ หนว่ ยได้ถอื วนั ประกาศน้เี ป็นวันสถาปนาหน่วย เกยี รติประวตั ขิ องหน่วย ๑. ได้รับพระราชทานธงชยั เฉลิมพลฯจากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ฯ เมื่อ ๑๑ ก.ค.๒๖ ๒. ปฏิบัติภารกิจถวายความปลอดภัย แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ ทเี่ สดจ็ ฯ ปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กิจในพน้ื ทเ่ี ป็นประจำทกุ ปี ๓. ได้รับรางวัลดีเด่นในการพัฒนาหน่วยตามโครงการพัฒนาหน่วยของ พล ร.๔ ประจำปี ๒๕๓๐ ๔. ได้รับโล่เกียรติคุณจากนายกรัฐมนตรี ประเภทองค์กรที่มีผลงานดีเด่นในการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หายาเสพติด ประจำปี ๒๕๔๖ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๓ มทภ.๓ ตรวจเย่ยี มการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ การปฏิบตั งิ านทีส่ ำคัญของหนว่ ย กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๔ มทภ.๓ ตรวจเย่ยี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๑. ปี ๒๕๒๔ จัดกำลงั ๑ รอ้ ย.ร. ปฏิบตั ภิ ารกจิ ปราบปราม ผกค. จ.เพชรบูรณ์ ๒. ปี ๒๕๓๑ จดั กำลงั ๑ พัน.ร. ปฏิบตั ิภารกิจปอ้ งกันการรุกล้ำอธิปไตย จ.พษิ ณโุ ลก ๓. ปี ๒๕๓๕ จัดกำลัง ๑ รอ้ ย.ร. ปฏิบตั ิภารกิจปอ้ งกันการรุกลำ้ อธิปไตย จ.แม่ฮอ่ งสอน ๔. ปี ๒๕๓๘ จดั กำลัง ๑ รอ้ ย.ร. รักษาอธิปไตยตามแนว ชายแดน ไทย - พม่า จ.แมฮ่ ่องสอน ๕. ปี ๒๕๓๘ – ๒๕๔๑ จดั กำลงั ๑ พนั .ร. รกั ษาอธปิ ไตยชายแดน ไทย - พมา่ จ.เชยี งใหม่ ๖. ปี ๒๕๔๒ จัดกำลงั ๑ รอ้ ย.ร. ปฏบิ ัติภารกจิ ป้องกนั อธปิ ไตย พืน้ ท่ี บ.มอเกอร์ จ.ตาก ๗. ปี ๒๕๔๓ จัดกำลัง ทก.พัน.ร.และ ๒ รอ้ ย.ร. รกั ษาอธิปไตยตามแนวชายแดนไทย - พมา่ จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๘. ปี ๒๕๔๔ จดั กำลัง ๑ ร้อย.ร. รักษาอธิปไตยตามแนวชายแดนไทย – พม่า จ.แม่ฮ่องสอน ๙. ปี ๒๕๔๔ จัดกำลงั ทก.พัน.ร. และ ๑ ร้อย.ร. รักษาแนวชายแดน ไทย - พมา่ จ.แม่ฮอ่ งสอน ๑๐.ปี ๒๕๕๔ จัดกำลัง ทก.พัน.ร. และ ๑ รอ้ ย.ร. รกั ษาแนวชายแดน ไทย – พม่า จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๑๑.ปี ๒๕๔๖ จัดกำลงั ทก.รอ้ ย และ ๑ มว.ปล. รกั ษาสันตภิ าพ กกล. ๙๗๒ ไทย - ติมอร์ ณ ประเทศตมิ อร์ ๑๒.ปี ๒๕๔๗ จดั กำลัง ๑ รอ้ ย.ร. ปฏบิ ตั ิภารกิจปอ้ งกนั อธปิ ไตย พน้ื ที่ จ.ตาก ๑๓.ปี ๒๕๔๘ จดั กำลัง ๑ รอ้ ย.ร. รกั ษาอธิปไตยตามแนวชายแดน ไทย – พมา่ จ.แม่ฮอ่ งสอน ๑๔.ปี ๒๕๔๘ จัดกำลงั ทก.พนั .ร., มว.อวน. และ มว.ลว. รักษาอธิปไตย ชายแดนไทย - พมา่ จ.แม่ฮ่องสอน ๑๕.ปี ๒๕๔๙ จัดกำลัง ๑ รอ้ ย.ร. ปฏบิ ัติภารกิจปอ้ งกนั อธปิ ไตย ตามแนวชายแดน จ.เชียงใหม่ ๑๖.ปี ๒๕๕๐ จัดกำลงั ๑ รอ้ ย.ร. ปฏบิ ัติภารกจิ ปอ้ งกนั อธปิ ไตย ตามแนวชายแดน จ.เชยี งใหม่ ๑๗.ปี ๒๕๕๒ จัดกำลงั ๑ รอ้ ย.ร. ปฏบิ ัตภิ ารกิจป้องกนั อธิปไตย พ้นื ท่ี ๓ จชต. ๑๘.ปี ๒๕๕๒ จดั กำลัง ๑ มว.ปล. สนบั สนุน ฉก.ยะลา ปฏบิ ตั ิภารกิจ มว.ปชด. พื้นที่ จ.ยะลา ๑๙.ปี ๒๕๕๓ จดั กำลงั ๑ มว.ปล. สนบั สนุน รอ้ ย.ร. ๔๓๑ ปฏิบตั ิภารกจิ ปอ้ งกันอธิปไตย พนื้ ที่ ๓ จชต. ๒๐.ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ จดั กำลัง ๒ มว.ปล. ปฏบิ ัตภิ ารกิจป้องกันอธปิ ไตย อ.ปางมะผา้ จ.แม่ฮอ่ งสอน ๒๑.ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ จัดกำลัง ๑ รอ้ ย.ร. ปฏิบตั ิภารกจิ ป้องกนั อธปิ ไตย พนื้ ที่ อ.ปาย จ.แม่ฮอ่ งสอน ๒๒. กพ.๕๔ - ธ.ค.๕๔ จดั กำลัง ๑ บก.ร้อย. และ ๑ มว.ปล. ปฏิบตั ิภารกจิ รักษาสนั ตภิ าพ กกล.ไทย-ดาร์ฟู ๙๘๐ ณ ประเทศซดู านฯ ๒๓.ปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ จดั กำลงั ๑ บก.พนั .ร., ๒ ร้อย.ร. ปฏบิ ตั ิภารกจิ แกไ้ ขปญั หา ๓ จชต. จ.ยะลา ๒๔.ปี ๒๕๕๖ จดั กำลงั ๑ รอ้ ย.ร. สนับสนนุ การปฏิบัติงานปอ้ งกันชายแดน จ.ตาก ๒๕.ปี ๒๕๕๖ จัดกำลงั ๑ บก.พนั .ร., ๑ รอ้ ย.ร. ปฏิบัติภารกจิ แก้ไขปญั หา ๓ จชต. พน้ื ท่ี จ.ยะลา ๒๖.ปี ๒๕๕๗ จดั กัง ๑ ชุดรบ ปฏิบตั ภิ ารกิจแกไ้ ขปัญหา ๓ จชต. พ้นื ที่ จ.ยะลา ๒๗.ปี ๒๕๕๘ จัดกำลงั ๑ ร้อย.ร.สนับสนนุ การปฏิบตั ิงานป้องกันชายแดน พน้ื ท่ี อ.เมือง จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๒๘.ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ จดั กำลงั ๒ ชป. , ๑ รอ้ ย.ร. ปฏบิ ตั ิภารกิจแกไ้ ขปัญหา ๓ จชต. พื้นที่ จ.ยะลา ๒๙.ปี ๒๕๖๑ จดั กำลัง ๑ ชค. , ๖ ชป. ปฏิบตั ิภารกิจรักษาความสงบ พ้ืนท่ี จ.เชียงใหม่ และจ.ลำพูน กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๕ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลัดที่ ๑ ๓๐. ปี ๒๕๖๒ จดั กำลัง ๑ รอ้ ย.ร. ป้องกนั ชายแดน พ้นื ที่ อ.ปางมะผา้ จ.แม่ฮ่องสอน ๓๑. ปี ๒๕๖๒ จัด ๑ รอ้ ย.รส. , ๑ ชค. , ศป.ปส.ชน. ปฏิบตั ภิ ารกิจรกั ษาความสงบ จ.เชียงใหม่ , จ.ลำพนู ๓๒. ปี ๒๕๖๓ จดั กำลัง ๑ มว.ปล. สนบั สนนุ ร้อย.ร.๗๕๑ ปฏิบตั ิงานปอ้ งกันชายแดน พ้ืนที่ อ.ปางมะผา้ จ.แม่ฮอ่ งสอน ๓๓. ปี ๒๕๖๔ จดั กำลัง ๑ ร้อย.ร. สนบั สนุน ฉก.ร.๑๗ ปฏิบตั ิงานปอ้ งกันชายแดน พน้ื ที่ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ๓๔. ปี ๒๕๖๔ จดั กำลัง ๑ บก.ศป.บส.ชน. และ ๓ ชป.ศป.บส.ชน. ปฏบิ ัติการบริหารการแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ ชายแดนภาคเหนอื พน้ื ท่ี จ.เชียงราย และ จ.พะเยา กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๖ มทภ.๓ ตรวจเยีย่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ ร่นุ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ รายนามผบู้ ังคบั บญั ชาต้งั แต่อดีตถึงปจั จุบนั ลำดับท่ี ยศ - ชื่อ ตั้งแต่ วันท่ี ๑ พ.ท.องอาจ ชตู นิ นั ท์ ตัง้ แต่ ๒๕ ก.ค.๒๓ - ๑๙ เม.ย.๒๖ ๒ พ.ท.ยืนยง ศรดี ามา ตั้งแต่ ๒๐ เม.ย.๒๖ - ๒๕ ธ.ค.๒๙ ๓ พ.ท.ปัญญา เทพวัลย์ ตง้ั แต่ ๒๖ ธ.ค.๒๙ - ๕ พ.ย.๓๒ ๔ พ.ท.สมุ งคล ดษิ บรรจง ตัง้ แต่ ๖ พ.ย.๓๒ - ๖ ธ.ค.๓๓ ๕ พ.ท.ธีรวฒุ ิ อินทรไข่ ตง้ั แต่ ๗ ธ.ค.๓๓ - ๒๓ มี.ค.๓๖ ๖ พ.ท.การุณ ขุนสงู เนนิ ต้งั แต่ ๒๓ มี.ค.๓๖ - ๒๘ ก.ค.๔๐ ๗ พ.ท.อุทยั ชยั ชนะ ตั้งแต่ ๓๐ ก.ค.๔๐ - ๒๔ ก.ค.๔๔ ๘ พ.ท.บญุ ยืน อนิ กว่าง ตั้งแต่ ๒๔ ก.ค.๔๔ - ๗ ธ ค ๔๗ ๙ พ.ท.ภวู ดล ศรพี ูล ตง้ั แต่ ๗ ธ ค ๔๗ - ๑๗ ก.ค.๔๙ ๑๐ พ.ท.ชายแดน กฤษณสวุ รรณ ต้งั แต่ ๑๗ ก.ค.๔๙ - ๒๔ พ.ค.๕๔ ๑๑ พ.ท.ชายชาญ ธรี พิเชฐพงศ์ ตัง้ แต่ ๒๔ พ.ค.๕๔ - ๗ พ.ค.๕๗ ๑๒ พ.ท.ยอดชาย พวงวรินทร์ ตงั้ แต่ ๗ พ.ค.๕๗ - ๑๐ พ.ค.๕๙ ๑๓ พ.ท.สืบสกลุ ชมภนู ชุ ตง้ั แต่ ๑๐ พ.ค.๕๙ - ๒ พ.ค.๖๑ ๑๔ พ.ท.สมนึก ธปู เทยี น ตั้งแต่ ๒ พ.ค.๖๑ - ๒๙ เม.ย.๖๔ ๑๕ พ.ท.ต่อพงษ์ ชำนาญอาสา ตั้งแต่ ๒๙ เม.ย.๖๔ - ปัจจบุ นั กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๗ มทภ.๓ ตรวจเย่ียมการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๘ มทภ.๓ ตรวจเย่ียมการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 มทภ.๓ ตรวจเย่ยี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๙ มทภ.๓ ตรวจเยี่ยมการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลัดที่ ๑ สถานภาพความพร้อมรบ ๑. สถานภาพ กำลงั พล กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๑๐ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รุน่ ปี ๒๕๖๔ ผลัดที่ ๑ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑๑ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รุน่ ปี ๒๕๖๔ ผลัดที่ ๑ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑๒ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รุน่ ปี ๒๕๖๔ ผลัดที่ ๑ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑๓ มทภ.๓ ตรวจเยี่ยมการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ ร่นุ ปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ ๒. สถานภาพ อาวธุ ตามอตั รา บญั ชีคุม จำหนา่ ย คงเหลอื รอ้ ยละ ลำดับ รายการ ๖๖ ๔๒ - ๔๒ ๑๐๐ อาวธุ ประจำกาย ๖๗๖ ๖๗๖ - ๖๗๖ ๑๐๐ ๑ ปพ.๘๖ ขนาด .๔๕ นวิ้ ๕๗ ๕๒ ๓ ๔๙ ๙๔.๒๓ ๒ ปลย.ขนาด ๕.๕๖ TARVOR TAR21 ๕๗ ๑๒ - ๑๒ ๑๐๐ ๓ เครื่องยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๔๐ มม. ๕๗ ๔๐ ๒ ๓๘ ๙๕ ๔ ปลก. ขนาด ๕.๕๖ มม. NEGEV ๕ ปลก. ขนาด ๕.๕๖ มม. MINIMI ๒๑ ๒๑ - ๒๑ ๑๐๐ ๓๓ - ๓ ๑๐๐ อาวุธประจำหน่วย ๓๓ ๑ ๒ ๖๖.๖๖ ๖ ปก.๓๘ ขนาด ๗.๖๒ MAG.๕๘ ๓๒ - ๒ ๑๐๐ ๗ ปก.๓๘ ขนาด ๗.๖๒ MAG.M ๒๔๐ G ๑๒ ๙ ๑ ๘ ๘๘.๘ ๘ ปรส.๑๐๖ ๙๙ - ๙ ๑๐๐ ๙ ปก.๙๓ ๓๓ - ๓ ๑๐๐ ๑๐ จรวด ๗๓ มม.RPG ๗ ๙๖๗ ๘๗๒ ๗ ๘๖๕ ๑๑ ค.๖๐ มม.พร้อมฐาน ๑๒ ค.๘๑ มม.พร้อมฐาน รวม ๓. สถานภาพ กระสนุ มลู ฐาน ตามอตั รา บัญชีคุม จำหน่าย คงเหลือ รอ้ ยละ ลำดับ รายการ ๒๒๑,๓๑๒ ๒๒๑,๓๑๒ - ๒๒๑,๓๑๒ ๑๐๐ อาวธุ ประจำกาย ๕๕,๓๒๘ ๕๕,๓๒๘ - ๕๕,๓๒๘ ๑๐๐ ๑ กปล.๕.๕๖ มม.ธด.A.๒ ๕๖,๐๐๐ ๕๖,๐๐๐ - ๕๖,๐๐๐ ๑๐๐ ๒ กปล.๕.๕๖ มม.สว. ๓ กปล.๕.๕๖ มม.ธด.สว.สายมินมิ ิ ๘๘๒ ๘๘๒ - ๘๘๒ ๑๐๐ ๔ กปพ.๘๖ ขนาด .๔๕ นว้ิ ธด. ๗๒,๖๐๐ ๗๒,๖๐๐ - ๗๒,๖๐๐ ๑๐๐ ๕ กปล.๗.๖๒ มม.ธด.สว. ๖ กปก.๕๐ ชเ้ี ป้า ๖๖๐ ๖๖๐ - ๖๖๐ ๑๐๐ ๗ กปรส.๑๐๖ มม.รบ.พส. ๓ ๓ - ๓ ๑๐๐ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๑๔ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลัดที่ ๑ ๘ กปรส.๑๐๖ มม.รบ.ตถ. ๔๕ ๔๕ - ๔๕ ๑๐๐ ๙ ลย.๔๐ มม.รบ.ทวปิ ระสงคส์ ายอัตโนมตั ิ ๙๖๐ ๙๖๐ - ๙๖๐ ๑๐๐ ๑๐ ลย./ค.๔๐ มม.รบ.จก. ๑,๕๖๐ ๑,๕๖๐ - ๑,๕๖๐ ๑๐๐ ๑๑ ลย./ค.๖๐ มม.รบ. ๑,๘๑๕ ๑,๘๑๕ - ๑,๘๑๕ ๑๐๐ ๑๒ ลย./ค.๖๐ มม.สส. ๖๕ ๖๕ - ๖๕ ๑๐๐ ๑๓ ลย./ค.๖๐ มม.ควัน ฟร. ๑๐๘ ๑๐๘ - ๑๐๘ ๑๐๐ ๑๔ ลย./ค.๘๑ มม.รบ. ๓๑๕ ๓๑๕ - ๓๑๕ ๑๐๐ ๑๕ ลย./ค.๘๑ มม.ควัน ฟร. ๙ ๙ - ๙ ๑๐๐ ๑๖ จรวด RPG ๗ ๑๐๘ ๑๐๘ - ๑๐๘ ๑๐๐ ๑๗ จรวด ๖๖ มม. รบตถ.M ๗๒ A ๖ ๖ - ๖ ๑๐๐ ๑๘ ลกู ระเบิดขวา้ งและดินระเบดิ ๑๙ ทุ่นระเบดิ ดกั รถถังหนกั M ๑๕ ๔๖ ๔๖ - ๔๖ ๑๐๐ ๒๐ ลข.๘๘ สห.M.๖๑ ๙๒๔ ๙๒๔ - ๙๒๔ ๑๐๐ ๒๑ ไดนาไมท์ทหาร M.๑ ๒๕ ๒๕ - ๒๕ ๑๐๐ ๔. สถานภาพ ยานพาหนะ ตามอตั รา บญั ชคี ุม จำหนา่ ย คงเหลือ ร้อยละ ลำดับ รายการ ๒๐ ๑ - ๑ ๑๐๐ สาย สพ. ๒๐ ๗ ๔ ๓ ๔๒.๘๕ ๑ รยบ.๑/๔ ตนั M ๑๕๑ A๑ ๒๐ ๔ - ๔ ๑๐๐ ๒ รยบ.๑/๔ ตนั M ๑๕๑ A๒ (M๘๒๕) ๒๐ ๓ - ๓ ๑๐๐ ๓ รยบ.๑ ๑/๔ ตนั ฮมั ว่ี ๒๐ ๓ - ๓ ๑๐๐ ๔ รยบ.ขนาดเบา ๔x๔ แบบ ๕๑ B ๒๐ ๒ - ๒ ๑๐๐ ๕ รยบ.ขนาดเบา ๔x๔ แบบ ๕๐ ๗๕ ๓ ๒ ๔๐ ๖ รยบ.ขนาดเบา ๔x๔ แบบ ๕๐ ปรบั ปรงุ ใหม่ ๗๑ ๑ - ๗ รยบ.๑ ๑/๔ ตนั ยูนมิ ๊อก ๒๐ ๑๒ ๕ ๗ - ๘ รยบ.๓/๔ M ๓๗ B ๑ ๒๐ ๕ - ๕ ๕๘.๓๓ ๙ รยบ.๒ ๑/๒ ตนั M๓๕ A๒ ๑๐๐ ๑๐ รยบ.๒ ๑/๒ ตัน FTS กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๑๕ มทภ.๓ ตรวจเยีย่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าท่ี รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๑๑ รถกู้ ๕ ตัน M๘๑๖ ๑๑๑ - ๐ รวม สาย ขส. ๑ รดส. ขนาดเลก็ Toyota RZH112 ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๒ รดส. ขนาดเลก็ Toyota MMKSS22P ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๓ รดส. ขนาดใหญ่ Hino ๒ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๔ รถบรรทกุ ขนาดเลก็ Nissan Big M ๒ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๕ รถบรรทกุ ขนาดเลก็ Isuzu ๒ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๖ รถบรรทกุ ขนาดเลก็ Chevrolet ๒ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๗ รถยนต์บรรทุกขนาดกลาง Isuzu ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๘ รถยนตบ์ รรทกุ ขนาดกลาง พยาบาล Toyota ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๙ รถบรรทกุ น้ำ ขนาด ๕,๐๐๐ ลติ ร ๒ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๑๐ รถจักรยาน Yamaha ๒ ๑ - ๑ ๑๐๐ รวม ๑๑๒ ๕๔ ๑๔ ๔๐ ๕. สถานภาพ เคร่ืองมือสอ่ื สาร อนุมตั ิ ได้รับ จำหนา่ ย คงเหลอื รอ้ ยละ ลำดบั รายการ ๖ ๖ - ๖ ๑๐๐ ๑๐๕ ๘๒ ๒ ๘๐ ๙๗.๕๖ ๑ ชุดควบคมุ วทิ ยุ AN/GRA - ๓๙ ๑๐๕ ๒๓ - ๒๓ ๑๐๐ ๒ โทรศัพท์ TA -๑/PT. ๒๔ ๑๘ - ๑๘ ๑๐๐ ๓ โทรศัพท์ TA - ๓๑๒/PT ๘๑ ๘๑ - ๘๑ ๑๐๐ ๔ สายโทรศัพท์ WD -๑/PTในล้อ RL-๑๕๙ ๙ ๘ - ๘ ๑๐๐ ๕ สายโทรศัพท์ WD -๑/PTในล้อ DR - ๘ ๖๒๒ - ๐ ๖ ชดุ สายอากาศ RC - ๒๙๒ ๑๑ ๑๑ - ๑๑ ๑๐๐ ๗ เครือ่ งขยาย AN.-๔๓๐๖ ๒ ๒ - ๒ ๑๐๐ ๘ โครงลอ้ มว้ นสาย RL-๒๗ ๑๙ ๒๐ - ๒๐ ๑๐๐ ๙ โครงลอ้ มว้ นสาย RL-๓๑ ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๑๐ โครงลอ้ มว้ นสาย RL-๓๙ ๑๑ เครื่องเปลยี่ นกระแส PT - ๖๘/U กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๑๖ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ๑๒ เครื่องวดั รวม AN/URM - ๑๐๕ ๓ ๓ ๒ ๑ ๓๓.๓ ๑๓ เครอ่ื งวดั รวม TS.-๓๕๒/U ๒ ๒ - ๒ ๑๐๐ ๑๔ เครื่องมว้ นสาย CE-๑๑ ๒๘ ๒๗ - ๒๗ ๑๐๐ ๑๕ ชดุ เครอื่ งมือซอ่ มวิทยุ TK-๑๑๕ ๒ ๒ - ๒ ๑๐๐ ๑๖ เครือ่ งเรียกกระแส RA.-๙๑ ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๑๗ ตสู้ ลับสาย SB - ๙๙๓/GT ๘ ๘ - ๘ ๑๐๐ ๑๘ ตสู้ ลบั สาย SB - ๒๒/PT ๒ ๒ - ๒ ๑๐๐ ๑๙ แผงหมุดปลายสาย TA - ๑๒๕/GT ๓ ๓ - ๓ ๑๐๐ ๒๐ ชุดตรวจสอบแบตเตอรี่ AN/PSM - ๑๓ ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๒๑ ชุดตรวจสอบหลอด TV - ๗ D/U ๑ ๑ - ๑ ๑๐๐ ๒๒ สายเคเบลิ ถา่ ยทอดวทิ ยุ MK - ๔๕๖ ๓ ๓ - ๓ ๑๐๐ ๒๓ ลอ้ มว้ นสาย DR - ๘ ๕๑ ๔๙ - ๔๙ ๑๐๐ ๒๔ โครงลอ้ มว้ นสาย RL - ๑๕๙ ๔ ๔ - ๔ ๑๐๐ ๒๕ ชดุ เคร่อื งมอื TE - ๓๓ ๓๙ ๔๖ ๑๔ ๓๒ ๖๙.๕ ๒๖ ชดุ วทิ ยุ AN/PRC - ๖๒๔ - ๖๐ ๗ ๕๓ ๘๘.๓ ๒๗ ชดุ วทิ ยุ VHF/FM/GRC - ๑๖๐๐ - ๑๓ - ๑๓ ๑๐๐ ๒๘ ชดุ วิทยุ VHF/FM PRC - ๗๓๐ - ๓๐ ๒ ๒๘ ๙๓.๓ ๒๙ ชดุ วิทยุ VHF/FM VRC - ๗๔๕ - ๓ - ๓ ๑๐๐ ๓๐ ชุดวิทยุ PRC/VRC - ๖๑๐ - ๕ ๓ ๒ ๖๖.๖ ๓๑ โครงลอ้ มว้ นสาย RL - ๑๕๙ ๔ ๔ - ๔ ๑๐๐ ๓๒ ชุดวทิ ยุ HF/AM/SSB ๑.๖-๒๙.๙๙ MHz - ๑ - ๑ ๑๐๐ ๓๓ ชุดวิทยุ VHF/FM PRC - ๗๓๐ - ๑๒ - ๑๒ ๑๐๐ รวม ๕๓๓ ๔๘ ๔๘๕ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 มทภ.๓ ตรวจเยี่ยมการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหน้าที่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑๗ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ พลเอก ณรงคพ์ นั ธ์ จิตตแ์ กว้ แท้ ผ้บู ญั ชาการทหารบก ด้วยในห้วงเวลามีงานการฝึกท่ีสำคัญ คือ การฝึกทหารใหม่ ผลัดท่ี ๑/๖๔ โดยจะทำการฝึก ในห้วงวนั ที่ ๑ ก.ค.๖๔ – ๒๕ ส.ค.๖๔ ซงึ่ มีหนว่ ยฝึกทหารใหม่ นขต.ทบ. ท้ังน้ีเพื่อให้การฝึกทหารใหม่ เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย ผบ.ทบ. ไดม้ อบนโยบายและข้อม่งุ เนน้ การฝกึ ทหาร ดงั นี้ นโยบาย รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลดั ๑ (ใหม)่ ๑. ทหารใหม่จะต้องไม่มีการสูญเสียระหว่างการฝึกทั้งจากโรคลมร้อน โรคติดเช้ือไวรัส COVID - ๑๙ และการลงทัณฑท์ ผี่ ิดจากแบบธรรมเนยี มทหาร ๒. ให้ปฏิบตั ิตามมาตรการการปอ้ งกนั โรคติดตอ่ เชอ้ื ไวรสั COVID -๑๙ อยา่ งเคร่งครดั ๓. ให้เน้นความรู้เนื้อหาวิชาจิตอาสา การช่วยเหลือประชาชน และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อย่างสรา้ งสรรค์ ๔. การฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID -๑๙ ต้องให้ครูฝึก และเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องได้รับ การฉีดก่อนทหารใหมเ่ ข้าหนว่ ย ๕. การปรับ รปจ. ทหารประจำวันท้ังทหารใหม่ และทหารภายในหน่วย และให้มีการสง่ เสริม เรื่อง การฝึกวิชาชีพให้ทหาร และนำมาใช้ระหว่างประจำวัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาความชำนาญ และ การส่งเสริมการเรียน กศน. ต้องเตรียมการขั้นต้นหกการเรียนอยู่ ให้ประสานการเรียนกับ กศน. ตอ้ งมเี วลาใหเ้ รยี นจรงิ ครูประจำกลุ่มตอ้ งใส่ใจ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑๘ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ นโยบาย ร่นุ ปี ๒๕๖๓ ผลดั ๒ (เดิม) ๑. ให้ยึดถือนโยบาย ทบ.(เล่มแดง) ในส่วนของการพัฒนา/เสริมสร้างกำลังพล ด้านการฝึก และการศึกษาใหเ้ นน้ เปน็ หลัก ๒. หา้ มเกดิ การสูญเสยี ในระหวา่ งการฝกึ ๓. เน้นย้ำมาตรการป้องกัน COVID-๑๙ และปฏิบัติตามคู่มือของ พบ.ทบ. ในการป้องกัน การแพร่ระบาดเช้อื ไวรสั ๔. การลงโทษให้ปฏิบัติได้เฉพาะทัณฑ์ ๕ สถาน ห้ามมีการลงโทษรา่ งกาย หา้ มแอบลงโทษ ๕. จัดให้มีการเยยี่ มญาตไิ ดต้ งั้ แตว่ ันแรกทเ่ี ข้าหน่วย ๖. การรับประทานอาหารควรใช้ถาดหลุม มีการตักเอง กับข้าว ๒ อย่าง ไข่วันละ ๑ ฟอง และผลไม้วันละ ๑ อยา่ ง ห้ามมวี ญิ ญาณไก่ ๗. การรับญาติทหารใหม่ใช้แนวทางเดิม โดยเฉพาะการช้ีแจงสิทธิ เช่น เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง และเงิน พคช. ๘. จดั ให้มีน้ำแข็งในถังเก็บน้ำเพยี งพอ บังคบั ใหด้ ืม่ นำ้ และเลย่ี งปัจจยั ท่เี กิดโรคลมร้อน ๙. แนวทางฝกึ ตามพระบรมราโชบาย ใหน้ ำมาปรบั ใช้ในการฝกึ ๑๐. สามารถปรับการแต่งกายให้สอดคลอ้ งกับสภาพอากาศ โดยไม่ต้องแต่งชุดฝึกเต็มทุกคร้ัง แตย่ ังคงมาตรฐานในการฝกึ ๑๑. การฝึกทหารใหม่ของ ทบ. คือจุดตายของ ทบ. ที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ การดำเนินการใด ท่ีเกยี่ วขอ้ งต้องเป็นไปด้วยความเหมาะสม สมเหตสุ มผล และสามารถตอบสงั คมได้ ๑๒. ให้ พบ. จัดหาเอกสาร และคู่มือในการป้องกันการบาดเจ็บ และเสียชีวิตของทหารใหม่ จาก โรคลมรอ้ น (Heat Stroke) ไมใ่ ช่ต่างหนว่ ยตา่ งคดิ โดยตอ้ งกำหนดรายละเอยี ด (จำนวนและชนดิ ) ของ สิ่งอุปกรณ์มาตรฐาน และข้ันตอนการปฏิบัติอย่างเป็นแบบแผน (Pattern) ท่ีมีประสิทธิภาพ และสามารถปฏิบัติได้จริงให้แก่หน่วยฝึกทหารใหม่ทุกหน่วยต้ังแต่การป้องกันแก้ไขเหตุฉุกเฉิน การเตรียมการแกไ้ ขอาการ โรคลมรอ้ น และแผนการเคล่อื นย้ายผ้ปู ว่ ยฉุกเฉิน ๑๓. ให้หน่วยฝกึ ทหารใหม่จัดให้มีน้ำแข็งอย่ใู นกระติกอย่างเพียงพอตลอดทั้งวนั โดยมีปริมาณ น้ำแขง็ ตามสดั สว่ นของทหารใหมใ่ นแตล่ ะหน่วยฝึกอย่างเหมาะสม (ปริมาณ/ทหารใหม/่ หน่วยฝกึ ) ๑๔. ให้ผู้ฝึก/ครูฝึกทหารใหม่ ควบคุมและบังคับให้ทหารใหม่ดื่มน้ำตลอดห้วงการฝึก เพ่ือลดผลกระทบจากโรคลมร้อน โดยพิจารณาใช้ขวดน้ำแบบใสท่ีง่ายต่อการสังเกตว่าทหารใหม่ ไดด้ มื่ นำ้ ในปรมิ าณมากนอ้ ยเพยี งใด กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๑๙ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ๑๕. ให้หน่วยฝึกทหารใหม่ควบคุมและหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียงที่อาจเกิดโรคลมร้อน คอื สภาพแวดล้อม (การถา่ ยเทอากาศของโรงนอน) ความเส่ียงตอ่ บุคคล (สภาพรา่ งกายของทหารใหม)่ และกิจกรรมจากการฝึก (การหลกี เล่ยี งการฝึกท่ามกลางอากาศร้อน) ๑๖. ให้การฝกึ ทหารใหม่ ๑๐ สัปดาห์ ของทุกหนว่ ยฝกึ ทหารใหม่ ต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมุ่งเน้นการฝึกพ้ืนฐานที่จำเป็นให้แก่ทหารใหม่เพียงอย่างเดียว มิใช่ห้วงเวลาของการรับน้องใหม่ ผบ.พัน. และ ผู้ฝึกทหารใหม่ ต้องกำกับดูแลไม่ให้มีการแอบลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืนจะลงโทษเด็ดขาด โดยเม่ือจบการฝึกต้องสามารถทำการรบไดต้ ามตำแหน่ง ๑๗. การคัดเลือกทหารใหม่ให้ดำเนินการด้วยความรอบคอบอย่างแท้จริง มุ่งเน้นที่คุณภาพ ตอ้ งเปน็ ผู้ทีม่ ีรา่ งกายและจติ ใจท่พี ร้อมตอ่ การฝึก โดยจดั จำนวนคณะกรรมการตรวจเลือกให้สอดคล้อง กบั ปรมิ าณผูเ้ ข้ารบั การตรวจเลอื ก รวมทั้งต้อง เพิ่มบุคลากร ทางการแพทย์/แพทย์ ในการซักถามและ บนั ทึกหลกั ฐานในการตรวจท่ีชัดเจน ๑๘. ให้ปรับปรุงหน่วยฝึกทหารใหม่ ให้มีสภาพที่พร้อมต่อการรองรับจำนวนทหารใหม่ ที่เข้ารับการฝึกในแต่ละผลัดได้อย่างเพียงพอ ไม่แออัด และมีการระบายอากาศท่ีดี รวมท้ังให้ดูแล การประกอบเลี้ยง เพ่ือทหารใหม่ได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ท้ังน้ี ผู้ฝึกต้องนอนหน่วยฝกึ ตลอด ห้วงการฝึก ๑๙. ให้นำแนวทางการฝึกทหารใหม่ ๑๐ สัปดาห์ ผลัดท่ี ๑/๖๒ ตามพระราโชบาย ซ่ึงได้ ดำเนินการฝึกเสรจ็ สิน้ ไปแล้ว ณ รร.ทม.รอ. พจิ ารณาปรบั ใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ การฝึกทหารใหม่ ของ ทบ. ในผลัดต่อไป เช่น การปรับห้วงเวลาการฝึกตามสภาพอากาศ การจัดครูท่ีปรึกษา และ การกำหนดโทษสูงสุดทีส่ ามารถลงโทษทหารใหม่ได้ในแต่ละวนั (จำนวนครัง้ /คน/วัน) เปน็ ต้น ๒๐. ห้ามนำทหารใหม่ไปทำงาน อ่ืน ๆ ที่ไม่เก่ียวข้องกับการฝึก หรือไม่ได้กำหนดไว้ ในตารางการฝกึ ๒๑. ให้จัดต้ังศูนย์แพทย์ฉุกเฉินในแต่ละพ้ืนที่ และให้มีสายด่วน (Hot line) เพื่อรองรับการ บาดเจ็บ/เจ็บป่วยระหว่างห้วงการฝึกของทหารใหม่ ให้สามารถดำเนิ นการช่วยเหลือ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและทันเวลา ๒๒. ให้แต่ละหน่วยฝึกทหารใหมพ่ จิ ารณาปรับแนวทางการฝกึ ทหารใหมใ่ หส้ อดคลอ้ งกับสภาพ ภูมิประเทศและสภาพอากาศ ในพื้นท่ีของตน โดยเป็นไปในลักษณะการคิดนอกกรอบ เพื่อให้การจัด การฝึกเกดิ ประโยชน์สงู สดุ หลกี เล่ียงผลกระทบจากโรคลมร้อน เช่น การกำหนดรูปแบบการฝึก ลำดับ การฝึก ต้องมีความอ่อนตัวสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม โดยยังคงดำรงมาตรฐาน และวตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึก กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๒๐ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๒๓. ให้ ผบ.หน่วยฝึก และผู้ฝึก ของแต่ละหน่วยฝึกทหารใหม่พิจารณา และกำหนดการแต่ง กายของทหารใหม่ในห้วงการฝึกให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพอากาศในแต่ละช่วงเวลา โดยไมจ่ ำเป็นต้องแตง่ เคร่ืองแบบฝึกเตม็ ชุดทกุ ครั้ง ๒๔. ให้ รพ.ค่ายฯ ท่ีรับผิดชอบในแต่ละหน่วยฝึกทหารใหม่จัดการอบรมผู้ฝึก และผู้ช่วยผู้ฝึก ทกุ ครงั้ ก่อนทำการฝกึ ๒๕. ให้กำหนดมาตรการในการปฏิบัติต่อทหารใหม่ที่มีค่า BMI เกินค่ามาตรฐาน เชน่ การแยกฝึก การหลกี เลยี่ งการฝึกทอ่ี าจทำใหเ้ กดิ อันตราย และการแยกออกกำลังกาย ๒๖. การออกกำลังกาย ให้พิจารณาวิธีดำเนินการท่ีเหมาะสมตามสภาพแวดล้อม เช่น การวงิ่ เป็นแถว (วง่ิ แยกหมู่, แยกหมวด) และการเล่นกีฬาตามความสมคั รใจ ๒๗. การฝึกทหารใหมเ่ นน้ ยำ้ มาตรการปอ้ งกันโรคโควดิ -๑๙ ๒๘. เน้นย้ำในการปฏิบัตติ ามแนวทางท่ี ศบค. กำหนด ๒๙. การหักเงินทหารใหม่ทุกรายการ ต้องช้ีแจงรายละเอียดให้ทหารใหม่ทราบ ถ้าชี้แจง ใหญ้ าตทิ หารใหมท่ ราบดว้ ยจะดมี าก ๓๐. การสำรวจสอบถามทหารใหมท่ ี่จะเขา้ มาในผลัด ๑/๖๓ ว่ามีครอบครวั ไหนประสบปัญหา เกี่ยวกบั ภยั ธรรมชาติ หรือไม่ สง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถมารายงานตวั ได้ ถา้ มีให้รีบดำเนนิ การชว่ ยเหลือทนั ที ๓๑. ให้ ผบ.หน่วย ชี้แจงสถานการณ์ทางการเมือง การชุมนุม ให้กับทหารใหม่ กำลังพล ครบครวั ทราบเปน็ ประจำทกุ เดอื น ๓๒. ห้ามเรียกทหารเกณ ฑ์ ให้เรียกว่า พลทหาร และกล่าวคำยินดี ต้อนรับทหาร กองประจำการ ๓๓. ผบ.หน่วย จะต้องเป็นผู้อบรม ผู้ฝึก ผช.ผู้ฝึก ครู อย่าลงมือทำนอกกติกา หากเกิด จะตอ้ งรบั โทษที่ ทบ.กำหนด ๓๔. ให้ตรวจสอบอาการเจ็บปว่ ยใหด้ ี บางคนอาจไมม่ ีเอกสาร การเจ็บปว่ ย หรอื ไมร่ ู้ตวั มากอ่ น ๓๕. ผ้ฝู ึก ต้องนอนหน่วยฝึกทหารใหม่ หากต้องการลา ผบ.พัน. เทียบเท่าเปน็ ผู้อนุมตั ิ ๓๖. ครูฝึก ต้องแต่งกายดีเรียบร้อย ไมโ่ ทรม ๓๗. จัดให้มีการช้ีแจงสิทธิประโยชน์ให้ดี เข้าใจง่าย ทั้งเบ้ียเล้ียง เงินเดือน ค่าประกอบเลี้ยง ตลอดจนการมโี อกาสเป็น นนส. ๓๘. ห้ามหากินกับทหารใหม่ เช่น ทำเส้ือ เอาเสื้อเกา่ มาสกรีนแลว้ ขาย กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๒๑ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ พลโท วิสนั ติ สระศรดี า เจ้ากรมยุทธศกึ ษาทหารบก นโยบาย รุน่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ๑ (ใหม)่ ๑. การฝึกทบทวนครทู หารใหม่ หว้ งวันท่ี ๑๖ - ๓๐ มิ.ย.๖๔ ๒. การกักตัวทหารใหม่ และครูฝึก ๑๔ วัน ห้วงที่ ๑ เร่ิมตั้งแต่ ๑ - ๑๔ ก.ค.๖๔, ห้วงที่ ๒ เรมิ่ ตงั้ แต่ ๑ - ๑๗ ก.ค.๖๔ ๓. การฝึกทหารใหม่ เร่มิ ตัง้ แต่ ๑๙ ก.ค.๖๔ - ๒๕ ส.ค.๖๔ ๔. การฝึกเฉพาะหน้าที่ ๓ สปั ดาห์ เร่มิ วนั ที่ ๓๐ ส.ค.๖๔ ๕. จดั อบรมออนไลนผ์ ่านมือถอื ทหารใหม่ หรอื เป็นหอ้ งเรยี นกลมุ่ ย่อย ๖. จัดการฝกึ แบบปดิ Bubble Training Area ๗. ปรับรปู แบบ/สลับเวลา/แยกกลุ่มยอ่ ย ๘. ไม่ต้องมีการตรวจสอบการฝึก ๙. กิจกรรมทุกอยา่ งตอ้ งหา่ ง ๒ เมตร ๑๐. ฝึกเฉพาะหน้าที่จะฝกึ ต่อเนือ่ งโดยไมป่ ลอ่ ยพัก ๑๑. ชุดครฝู กึ สามารถปรบั ใหเ้ หมาะสม นโยบาย รุ่นปี ๒๕๖๓ ผลดั ๒ (เดิม) ๑. การฝึกทหารใหม่ เป็นการฝึกพื้นฐานเบ้ืองต้น เพื่อปรับสภาพจากบุคคลพลเรือนให้เป็น ทหารดังนนั้ การฝึกในหว้ ง ๔ สัปดาห์แรก จะต้องให้เวลาทหารใหม่ไดป้ รบั ตัว โดยใหเ้ ริม่ ทำการฝกึ จาก เร่ืองง่ายๆ และเบาๆ เช่น ทำการฝึกอบรมวิชาที่สามารถเรียนทางทฤษฎีในห้องเรียนเสริมด้วยการนำ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๒๒ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬามาประยุกต์ใช้ในการเสรมิ สร้างกล้ามเนอื้ และความแข็งแรงของแตล่ ะบุคคลให้มี ความพร้อม แล้วจึงค่อยๆ เพิ่มระดับความเข้มข้นของการฝึกท่ีต้องใช้กำลังร่างกายตามระเบียบ และ หลกั สูตรการฝึกในสัปดาหต์ อ่ ๆ ไป ๒. การฝึกอบรม จะต้องเน้นให้ทหารใหม่รู้จักคิด และมีความเข้าใจในเรื่องที่ทำการฝึกอบรม อย่างแท้จริงมากกว่าการท่องจำ โดยครูผู้ฝึกอบรมจะต้องช้ีแจงให้ทหารใหม่เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ ของการฝึกในแต่ละข้ันตอน ตลอดจนการนำไปใช้ประโยชน์และจะต้องฝึกให้ทหารใหม่มีทักษะ ความชำนาญในการปฏิบัตใิ หส้ ามารถนำไปใชง้ านไดจ้ ริง ๓. การฝึกทางยุทธวิธี ครูผู้ฝึกอบรม จะต้องอธิบายให้ทหารใหม่เข้าใจภาพรวมองค์ประกอบ ของสนามรบ อธบิ ายการปฏิบัตขิ องแต่ละส่วน และชี้แจงการปฏบิ ัติของตัวทหารใหม่ในแต่ละข้ันตอน จะอยูท่ ี่ไหนและจะต้องปฏบิ ัติอย่างไร ด้วยเหตุผลอะไร โดยจะต้องอธิบายประกอบภูมิประเทศจำลอง แผนภาพ เพอื่ ให้ทหารใหม่เข้าใจและเห็นภาพการปฏบิ ัตทิ างยุทธวธิ ี ๔. การป้องกันการบาดเจ็บจากความร้อน (Heat Stroke) ทุกหน่วยฝึกต้องระมัดระวัง เร่ืองการบาดเจ็บจากความร้อน โดยเฉพาะในห้วงการฝึกสัปดาห์ท่ี ๑ – ๓ ของการฝึก หน่วยฝึกและ ตัวทหารใหม่จะต้องปฏิบัติตามคู่มือและคำแนะนำการป้องกันการบาดเจ็บจากความร้อนของ พบ. อย่างเคร่งครัด จะต้องกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินจะต้องสามารถส่งตัว ผ้เู จบ็ ปว่ ยไปยงั โรงพยาบาลอยา่ งทนั เวลา เพอ่ื มิให้ทหารใหมเ่ สียชีวติ ๕ ผู้บังคับหน่วย และผู้บังคับหน่วยฝึกทหารใหม่ ตลอดจนผู้ฝึกและครูทหารใหม่ ต้องบังคับ บัญชาปกครองดูแลการฝึกทหารใหม่ ตลอดจนสวัสดิการความเป็นอยู่ รวมทั้งขวัญและกาลังใจของ ทหารใหม่อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ สำหรับการลงทัณฑ์ทหารใหม่ท่ีกระทำความผิดวินัยทหาร จะต้อง ดำเนนิ การตามวธิ กี ารและอำนาจหน้าทที่ ่กี ำหนดไวใ้ นประมวลวนิ ยั ทหารอยา่ งเคร่งครัด ซึ่งกำหนดการ ลงทัณฑ์ไว้ ๕ สถาน คือ ภาคทัณฑ์ทัณฑ์กรรม กัก ขัง และจาขัง ห้ามใช้วิธีการลงทัณฑ์ท่ี นอกเหนือจากน้ี โดยเฉพาะการทำร้ายร่างกายทหารใหม่จะต้องไม่เกิดข้ึนอย่างเด็ดขาด โดยหน่วยฝึก ต้องกำหนดมาตรการให้สอดคล้องกับนโยบายและสภาพแวดลอ้ ม ดังน้ี ๕.๑ การคัดเลือกผู้ท่ีปฏิบัติหน้าท่ี ผู้ฝึกทหารใหม่, ผช.ผู้ฝึกทหารใหม่, ครูนายสิบ และ ครูทหารใหม่ต้องตรวจสอบในด้านทัศนคติ, ภูมิหลัง, และทางด้านจิตเวช โดยเฉพาะกำลังพลที่ได้รับ การบรรจุใหม่ เพ่ือให้ได้ครูฝึกท่ีมีคุณภาพ และช่วยป้องกันการฝ่าฝืนมาตรการการลงทัณฑ์ตลอดจน จะต้องสรา้ งความตระหนกั หน้าท่ีความรับผิดชอบในการฝกึ ทหารใหม่ ๕.๒ การกำกับดูแลการฝึกทหารใหม่นายทหารฝ่ายยุทธการฯ, ผู้ฝึกทหารใหม่, ผช.ผู้ฝึก ทหารใหม่, ครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ต้องไม่ปล่อยปะละเลย โดยเฉพาะผู้ฝึกต้องอยู่ประจำ หนว่ ยฝกึ และตอ้ งนอนท่หี น่วยฝกึ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๒๓ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ๕.๓ ครูฝึกต้องเป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้รับการฝึกได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ มีการปฏิบตั จิ ากง่ายไปยาก ๕.๔ การเพิม่ มาตรการลงทณั ฑ์กบั ผทู้ ฝ่ี า่ ฝืน, การติดต้งั กล้องวงจรปิด และการติดตง้ั กลอ่ ง รับความคดิ เหน็ จากทหารใหม่ เปน็ ต้น ************************************************* กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๒๔ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ พลโท อภเิ ชษฐ์ ซ่ือสัตย์ แม่ทพั ภาคที่ ๓ นโยบาย รุน่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ๑ (ใหม)่ ๑. ผูฝ้ ึก และครฝู กึ ตอ้ งอยูใ่ นหนว่ ยฝกึ จนกว่าจะจบการฝกึ หา้ มกลบั บ้านพกั ๒. กล่มุ ที่ ๒ สีสม้ (ไมม่ อี าการ แต่มีความเส่ียงสงู ) ถ้าทหารใหมบ่ อกว่าสัมผัสผ้ทู ตี่ ดิ เช้ือ จะต้อง กกั ตวั ท่ี รพ.คา่ ย ๑๔ วนั ๓. สัสดีจังหวัดต้องแจ้งทหารใหม่ในเร่ือง การตัดผมก่อนเข้ารายงานตัวด้านบนยาว ๒ ซม. และใหโ้ หลด Application หมอชนะ / ไชยชนะ ๔. มาตรการคัดกรองที่ มทบ. ต้องแบ่งกล่มุ แดง, สม้ , เหลือง กอ่ นข้ึนรถมาทีห่ นว่ ยฝกึ ๕. เมือ่ ถงึ หนว่ ยฝกึ ตอ้ งแบ่งกลุม่ ตามสีแดง, ส้ม, เหลอื ง และตามพ้ืนที่ทที่ หารเดินทางมา ๖. การตัดผมท่ีหน่วยฝึก คนตัดต้องใส่ชดุ PPE, แมสทางการแพทย์, ถงุ มือ และใช้แอลกอฮอล์ ทำความสะอาดบตั ตาเลี่ยนหลังตดั เสรจ็ ๗. หนว่ ยฝกึ ควรจัดสเปรย์แอลกอฮอลใ์ ห้ทหารคนละ ๑ ขวด ๘. ต้องมที ่ีลา้ งมือให้เพยี งพอ จุดท่ตี อ้ งมีคือทางข้ึนโรงนอน, ทรี่ บั ประทานอาหาร, หน้องน้ำ ๙. ครฝู กึ ตอ้ งใส่ Face Shied และหน้ากากทางการแพทย์ ๑๐. ในระหว่างกักตัว ๑๔ วัน หน่วยฝึกต้อง Bubble & Sealed ห้ามบุคคลภายนอก เข้าเด็ดขาด ๑๑. ช่วงกักตวั ๑๔ วันสามารถฝึกได้ แตใ่ ห้เว้นระยะห่าง และฝึกรายวิชาท่ีเบา กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๒๕ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๑๒. การผ่อนคลายสามารถดูหนังได้ อาทิเช่น พระมหากษัตริย์กับภาคเหนือ หรือ สมเด็จ พระนเรศวร ๖ ภาค ๑๓. ถา้ วคั ซนี มาถงึ รพ.ค่าย ต้องนำมาฉีดให้หน่วยฝึกทันที ๑๔. การรายงานต้องรายงานทุกวันมียอดเท่าไหร,่ ป่วยดว้ ยโรคอะไร, กีค่ น ๑๕. ผ้ฝู ึกต้องติดตอ่ กับ รพ.ค่าย ได้ทันทีเมื่อมเี หตฉุ กุ เฉนิ ๑๖. ถ้ามีการระบาดในหน่วยฝึก จะต้องควบคุมให้ได้จะต้องเป็นกลุ่มเล็กๆ แต่ถ้าเป็นการ ระบาดจำนวนมาก ถือวา่ มาตรการปอ้ งกนั ล้มเหลว นโยบาย รุน่ ปี ๒๕๖๓ ผลดั ๒ (เดมิ ) ด้วยในห้วงเวลามีงานการฝึกที่สำคัญ คือ การฝึกทหารใหม่ ผลัดที่ ๒/๖๓ โดยจะทำการฝึก ในห้วงวันที่ ๑ พ.ย.๖๓ – ๑๔ ต.ค.๖๔ ซึ่งมีหน่วยฝึกทหารใหม่ นขต.ทภ.๓ ทั้งน้ีเพื่อให้การฝึกทหาร ใหม่ เป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย มทภ.๓ ไดม้ อบนโยบายและขอ้ มุ่งเนน้ การฝึกทหารใหม่ ดังนี้ ๑. ผู้ท่ีทำการฝึกต้องพึงระลึกเสมอว่าการฝึกทหารใหม่เป็นการฝึกวิชาทหารเบ้ืองต้นเท่าน้ัน มิใช่เป็นการฝึกหลักสูตรพิเศษ ดังนั้นจะต้องมีวิธีการหรือศิลปะในการปฏิบัติต่อทหารใหม่อย่าง ค่อยเป็นค่อยไป หรือจากเบาไปหาหนัก เพื่อสร้างความคุ้นเคยและความเช่ือมั่นต่อหน่วย และ ผบู้ งั คบั บัญชาเพมิ่ เติม ๒. ผบ.หน่วยฝึกฯ, ผู้ฝึก, ผู้ช่วยผู้ฝึก และครูนายสิบ ต้องมีความรู้พร้อมท่ีจะฝึกทหารใหม่ ซึ่งจะต้องจัดทำแผนบทเรียนให้ครอบคลุมตามเน้ือหา และชั่วโมงที่กำหนดไว้ในหลักสูตร รวมถึงจดั เตรียมพ้ืนท่ีการฝึก ใหม้ สี ภาพท่มี คี วามพร้อม มีความปลอดภยั และมีเครื่องช่วยฝึกทีเ่ พียงพอ ต่อการฝกึ ทหารใหม่ ๓. การจัดครูนายสิบ ให้ทุกหน่วยฝึกฯ จัดครูนายสิบที่มีประสบการณ์ในการฝึกห้ามมิให้จัด นายสบิ ใหม่ที่เพง่ิ บรรจุเขา้ รับราชการตำ่ กวา่ ๒ ปี เป็นครนู ายสบิ ๔. ผู้อำนวยการฝึกหรือผู้บังคับหน่วยฝึกฯ จะต้องกำกับดูแลการฝึกทหารใหม่ด้วยตนเอง เพ่ือป้องกันมิใหเ้ กิดการลงโทษทหารใหมท่ ีไ่ ม่ถูกต้องและเกินกวา่ เหตอุ ันควร ๕. โรงนอนและโรงเล้ยี ง มคี วามเพียงพอตอ่ จำนวนทหารใหม่ สะอาดและถกู สขุ อนามยั ๖. หนว่ ยฝึกฯ ต้องมแี ผนการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดในระหว่างการฝกึ และภายหลัง จากการปล่อยพกั หลงั จบการฝึก ๗. ห้ามมิให้ หน่วยฝึกทหารใหม่ ทำกิจกรรมอ่ืน ๆ ที่ไม่เก่ียวข้องกับการฝึกทหารใหม่ เช่น การจัดให้ทหารใหม่สร้างเหตุการณ์เพ่ือขอความรักหรือขอแต่งงานในระหว่างการเย่ียมญาติ เป็นตน้ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๒๖ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๘. ผู้ฝึกทหารใหม่ต้องอยู่กับทหารใหม่ท่ีหน่วยฝึกฯ ตลอด ๒๔ ชม. ในห้วงการฝึกทหารใหม่ ผู้ฝึกจะต้องนำทหารใหม่ออกกาลังกาย และจะต้องเป็นผู้อบรมทหารใหม่ในห้วงการสอนอบรม ตามระเบยี บหลักสูตรการฝึกทหารใหมด่ ว้ ยตนเอง ๙. การดำเนินการฝึก หน่วยฝึกฯ ต้องยึดถือตามระเบียบหลักสูตรการฝึกฯ โดยเริ่มจากง่าย ไปหายาก ใหเ้ นน้ การฝึกทเี่ น้นผลการปฏบิ ัตมิ ากกว่าการทอ่ งจำ ๑๐. การลงทัณฑ์ทหารใหม่ท่ีกระทำผิดวินัยทหาร ให้ ผบ.หน่วย, ผบ.หน่วยฝึกฯ, ผู้ฝึก, ผชู้ ่วยผู้ฝึก และครูนายสิบ ดำเนินการตามวิธีการ และตามอำนาจการลงทัณฑ์ที่กำหนดไว้ในประมวล วินัยทหาร ซงึ่ มี ๕ สถาน คือ ภาคทัณฑ์ ทัณฑ์กรรม กัก ขัง และจำขังเท่าน้ัน ห้ามใช้วิธกี ารลงทัณฑ์ท่ี นอกเหนอื จากนี้โดยเฉพาะการทำรา้ ยร่างกาย จะต้องไมเ่ กิดข้ึนเด็ดขาด ๑๑. การดูแลทหารใหม่โดยใกล้ชิด ให้จัดครูนายสิบเป็นพี่เลี้ยง และต้องจัดระบบคู่บัดด้ี ของทหารใหม่ เพอ่ื ให้ทหารใหม่มที ่ีปรึกษาปัญหาต่าง ๆ และลดความเครียดในระหว่างฝกึ ฯ ๑๒. การฝึกทหารใหม่ ผลัดที่ ๒/๖๓ (เดือน พ.ย. ๖๓ – ธ.ค. ๖๓) อยู่ในห้วงฤดูหนาวซึ่งมี สภาพอากาศหนาวเยน็ ในเวลากลางคืน แต่ร้อนในเวลากลางวัน ดงั นั้น ใหร้ ะมัดระวงั เร่ืองโรคที่จะเกิด จากความหนาวเย็น เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ อาการหอบหืด โรคภูมิแพ้ และการบาดเจ็บจากความ ร้อน (HEAT STROKE) เป็นต้น ทั้งนี้โรคต่าง ๆ จะเป็นอุปสรรคต่อการฝึกฯ ซ่ึงเคยเกิดข้ึนแล้ว ในพน้ื ท่ี ทภ.๓ ๑๓. ในระหวา่ งการฝกึ ทหารใหม่ จะต้องไมม่ ีการทำรา้ ยร่างกายทหารใหม่ หรอื ทำใหท้ หารใหม่ ไดร้ บั บาดเจบ็ หากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ผบ.หน่วย จะตอ้ งถกู พจิ ารณาโทษตามลำดับชั้น ทัง้ นี้ต้องไม่ มี การสญู เสียของทหารใหม่ในระหว่างการฝกึ ทกุ กรณี ๑๔. หน่วยฝึกทหารใหม่จะต้องพิจารณาความปลอดภัยในการฝึกทหารใหม่ในการใช้ สป.๕ กระสุนและวตั ถุระเบิด จะต้องมีนายทหารนิรภยั การฝึกฯ กำกับดแู ลเสมอ ๑๕. การกำหนดวันเยี่ยมญาติทหารใหม่ ให้ญาติเยี่ยมได้เฉพาะวันอาทิตย์ ท้ังน้ีต้องคำนึงถึง การรักษาความปลอดภัย และภาพลักษณ์ของทหารใหม่และหน่วยทหาร ที่จะปรากฏต่อญาติ ทหารใหม่ ๑๖. ให้การฝึกทหารใหม่ ๑๐ สัปดาห์ ของทุกหน่วยฝึกทหารใหม่ต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมุง่ เนน้ การฝกึ พน้ื ฐานทีจ่ ำเป็นใหแ้ ก่ทหารใหมเ่ พยี งอยา่ งเดียว มิใช่ห้วงเวลาของการรบั นอ้ งใหม่ ผบ.พัน. และ ผู้ฝึกทหารใหม่ ต้องกำกับดูแลไม่ให้มีการแอบลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืนจะลงโทษอย่างเด็ดขาด โดยเม่อื จบการฝกึ ต้องสามารถทกการรบไดต้ ามตำแหนง่ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๒๗ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๑๗. ให้ปรับปรงุ หนว่ ยฝึกทหารใหม่ ใหม้ สี ภาพท่พี รอ้ มตอ่ การรองรบั จำนวนทหารใหม่ท่เี ขา้ รับ การฝกึ ในแตล่ ะผลัดได้อย่างเพยี งพอ ไมแ่ ออดั และมีการระบายอากาศทดี่ ี รวมท้ังให้ดแู ลการประกอบ เลย้ี ง เพื่อทหารใหม่ไดร้ ับประทานอาหารที่มคี ณุ ภาพ ทง้ั นผ้ี ูฝ้ กึ ตอ้ งนอนหนว่ ยฝึกตลอดห้วงการฝกึ ๑๘. ให้นำแนวทางการฝึกทหารใหม่ ๑๐ สัปดาห์ ผลัดที่ ๑/๖๒ ตามพระราโชบายซ่ึงได้ ดำเนนิ การฝกึ เสร็จสนิ้ ไปแลว้ ณ รร.ทม.รอ. พิจารณาปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดตอ่ การฝึกทหารใหม่ เช่น การปรับ ห้วงเวลาการฝึกตามสภาพอากาศ การจัดครูที่ปรึกษา และการกำหนดโทษสูงสุดที่ สามารถลงโทษทหารใหมไ่ ดใ้ นแตล่ ะวนั (จำนวนคร้ัง/คน/วัน) เปน็ ตน้ ๑๙. ให้กำหนดมาตรการในการปฏิบัติต่อทหารใหม่ที่มีค่า BMI เกิดค่ามาตรฐาน เช่น การแยกฝึก การหลีกเลยี่ งการฝึกทีอ่ าจจะทาให้เกิดอนั ตราย และการแยกออกกาลงั กาย ๒๐. ครูทหารใหม่ (ผู้ช่วยครู) มีหน้าท่ีเป็นพี่เลี้ยงหรือที่ปรึกษาสำหรับทหารใหม่และมีหน้าที่ เปน็ ตวั อยา่ งในชวั่ โมงการฝกึ เทา่ น้นั มคิ วรจัดในลักษณะเปน็ ผูบ้ ังคับบัญชา ๒๑. ควรจัดผู้บังคับบัญชาหรือฝ่ายอำนวยการของหน่วย พบปะทหารใหม่ในห้วงการอบรม อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ ๑ – ๒ คร้ัง ๒๒. การป้องกันโรคลมร้อน ควรมีการวัดอุณหภูมิร่างกายทหารใหม่เป็นรายบุคคลในห้วงเช้า สายๆ และห้วงบ่าย ในระหว่างการฝึกหรือออกกาลังกายเป็นประจำทุกวัน และรายงานให้ ผ้บู ังคบั บญั ชาหรอื ฝา่ ยอำนวยการที่รบั ผิดชอบทราบ ๒๓. กำลังพลทุกนายในหนว่ ยฝกึ ทหารใหมจ่ ะตอ้ งมคี วามรพู้ ื้นฐานที่ดใี นเร่ืองการปฐมพยาบาล เบื้องต้นโดยเฉพาะเร่ืองการ CPR และการปฐมพยาบาลโรคจากลมร้อน เพ่ือสามารถช่วยเหลือทหาร ใหม่ ก่อนถงึ แพทย์ ๒๔. การป้องกันโรคตดิ ตอ่ ให้มีการแยกทหารใหม่ท่ีเจ็บป่วยที่อาจติดตอ่ ได้ในทันที และจัดให้ มีการทำความสะอาดโรงนอนเป็นประจำโดยน้ำยาฆ่าเช้ือโรคถูพ้ืน ซึ่งสามารถหาได้ในท้องตลาด เช่น เดทตอล หรือ ไฮเตอร์ผสมนำ้ ยาปรบั ผ้านุ่ม อยา่ งนอ้ ยสัปดาหล์ ะ ๑ คร้งั ๒๕. ให้ รพ.ค่ายในพ้ืนที่ ทภ.๓ จัดอบรมเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความ รอ้ น ในการฝึกทหารใหม่ (HEAT STROKE) ใหก้ ับหน่วยฝึกทหารใหม่ ณ หน่วยฝึกฯ ในพ้ืนทภ่ี ายใน ๑ สปั ดาห์หลังจากท่ีหน่วยฝึกฯ รับทหารใหมเ่ ขา้ รายงานตวั และรายงานให้ ทภ.๓ ทราบ ๒๖. จัดให้มีการติดแถบผา้ บอกสญั ลกั ษณข์ องทหารใหมท่ ี่มีสุขภาพไม่แข็งแรง, มีโรคประจาตัว หรือ มีการบาดเจ็บ ท้งั กอ่ นเขา้ รายงานตวั เข้าหนว่ ยฝกึ ทหารใหมห่ รอื ระหว่างฝกึ แล้วมีอาการบาดเจ็บ โดยให้ใช้ แผ่นผา้ สีขาว ขนาด ๔ x ๑๒ ซม. ตัวอกั ษรสีแดง (ขนาดตวั อักษรตามความเหมาะสม) เขียน ระบุโรคหรืออาการบาดเจ็บประจำตัวทหารใหม่ให้ชัดเจน ติดท่ีบริเวณไหล่ข้างซ้ายของทหารใหม่ เพ่ือแยกพวกในการฝึก ใหเ้ หมาะสม กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๒๘ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ๒๗. ในระหว่างชั่วโมงการฝึกให้เก็บโทรศัพท์มือถือของครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ไว้เป็น ส่วนรวม (เว้น ผบ.หน่วยฝึก) เพ่ือป้องกันการถ่ายคลิป/ บันทึกภาพไม่เหมาะสมและไม่เสียสมาธิ ในระหวา่ งการฝึก และสามารถใช้โทรศัพท์มือถอื ไดเ้ มื่อพกั ประจำชว่ั โมงหรือนอกเวลาการฝึก ๒๘. การบนั ทึกภาพ/คลิปวีดโี อในห้วงการฝึกทหารใหมด่ งั นี้ ๒๘.๑ จัดช่างภาพของหน่วยบันทึกภาพ/วีดีโอ ได้เป็นส่วนรวมเพื่อใช้ในการรายงาน ภายในหน่วยเท่าน้ัน โดยระมัดระวังภาพท่ีไม่เหมาะสมหรือขัดนโยบายผู้บังคับบัญชา อีกทั้งจะต้องมี การกลนั่ กรองจากผ้ฝู ึกฯ และ ผบ.หน่วยฝกึ ฯ ก่อนในขน้ั ต้น ๒๘.๒ ในระหว่างการเย่ียมญาตขิ องทหารใหม่ท่ียงั อย่ใู นหว้ งการฝึก ตามระเบยี บหลกั สูตร ขอความร่วมมือมิให้ญาติทหารใหม่บันทึกภาพน่ิง และภาพเลื่อนไหวโดยให้หน่วยฝึกประชาสัมพันธ์ ให้ทหารใหม่และญาติของทหารใหม่ทราบ เพ่ือป้องกันการนำภาพดังกล่าวไปเผยแพร่ในทางท่ีไม่ เหมาะสม ๒๘.๓ ห้ามมิให้ผู้ฝึกทหารใหม่, ผช.ผู้ฝึกทหารใหม่, ครฝู ึกทหารใหม่, ผช.ครูฝึกทหารใหม่ และทหารใหม่ใช้โทรศัพท์มือถือส่วนตัว บันทึกภาพ ทั้งภาพน่ิง/ภาพเคล่ือนไหว ในระหว่างการฝึก ทหารใหม่ หรือระหว่างการเยี่ยมญาติทหารใหม่ รวมทั้งการเผยแพร่ภายใน Social network โดยให้ ผบ.หน่วยฝกึ ฯ กำกับดูแลใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย ๒๘.๔ ห้ามเผยแพร่กิจกรรมในห้วงการฝึกทหารใหม่ใน Social network หากต้องการ ประชาสัมพันธ์การฝึกทหารใหม่จะต้องมีการกลั่นกรองและอนุมัติโดย ผบ.หน่วย ต้ังแต่ระดับกองพัน ขึ้นไปเท่าน้ัน ทั้งน้ีต้องคำนึงถึงชื่อเสียง ภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วย เมื่อสื่อออกไปใน Social network แล้วผ้ชู มท่วั ไปทร่ี ับชมจะตอ้ งเกดิ ทศั นคติทีด่ ีต่อ ทภ.๓ และ ทบ. ๒๙. กำหนดเวลาให้ทหารใหม่ตื่นนอนเวลา ๐๕๐๐ เพื่อให้ครูฝึกมีเวลาตรวจปัสสาวะ ตรวจอุณหภูมิร่างกาย และสังเกตุอาการเจ็บป่วยของทหารใหม่ ก่อนท่ีทหารใหม่จะออกกำลังกาย/ พฒั นาสมรรถภาพรา่ งกายในห้วงเวลาเช้า ๓๐. ปรับห้วงเวลาการออกกำลังกาย/พัฒนาสมรรถภาพร่างกายจากห้วงเวลาบ่ายเป็นห้วง เวลาเช้า (๐๕๓๐ - ๐๖๓๐) เพอื่ ลดความเส่ียงจากโรคลมร้อน ทงั้ น้หี ากสภาพอากาศในหว้ งเวลาเชา้ ไม่ เอ้ืออำนวยต่อการออกกำลังกายกลางแจ้ง ให้พิจารณาออกกำลังกายในที่ร่ม หรือห้องออกกำลังกาย (Fitness) ตามความเหมาะสม ๓๑. จัดให้ทหารใหม่ได้กินอาหารอย่างเต็มท่ี (กินเต็มท่ี) โดยหน่วยต้องจัดให้มีการประกอบ เลย้ี งด้วยกบั ข้าว ม้อื เช้า ๒ ชนดิ , ม้ือกลางวนั ๓ ชนดิ และมื้อเยน็ ๓ ชนดิ โดยพิจารณาคุณภาพอาหาร ให้เหมาะสมกับอัตราค่าประกอบเลี้ยง และราคาวัตถุดิบในแต่ละพื้นท่ี พร้อมกับให้ทหารใหม่มีเวลา กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๒๙ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ในการรบั ประทานอาหารแต่ละมอ้ื อยา่ งเพยี งพอ โดยมิใหม้ ีการลงโทษหรอื ทำกิจกรรมอนื่ ๆ ท่ีจะทำให้ ทหารใหมไ่ มส่ ามารถรับประทานอาหารได้อยา่ งเตม็ ที่ ๓๒. ปรับตารางฝึก และรูปแบบการฝึกให้สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศ เช่น กำห นดให้ ห้วงเวลา ๑๓๐๐ - ๑๔๐๐ ซง่ึ เป็นห้วงที่อุณหภูมิข้ึนสูงสุดในรอบวนั เป็นช่ัวโมงการฝึกอบรม และปรับ วิชาที่ทำการฝึก ในเวลา ๑๓๐๐ - ๑๔๐๐ ไปฝึกในหว้ งเวลา ๑๙๐๐ - ๒๐๐๐ ๓๓. หากสภาพอากาศไม่เอ้ืออำนวยต่อการฝึกตามตารางการฝึกประจำวัน เช่น อากาศร้อน เกินไป หรือฝนตก ให้หนว่ ยปรบั ตารางการฝกึ โดยนำวิชาดังกล่าวไปฝกึ ในห้วงเวลากลางคืนตามความ เหมาะสม ท้ังนี้หากการปรับตารางการฝึกเป็นผลทำให้ทหารใหม่ฝึก เกินเวลานอ นประจำวัน ของทหารใหม่ (๒๑๓๐) ให้ชดเชยการนอนด้วยการให้ทหารใหม่นอนหลับในห้วงเวลาท่ีปรับตารางฝึก เพอื่ ใหท้ หารใหมไ่ ดน้ อนหลบั อย่างเพยี งพอ ๓๔. ในห้วงเวลาการนอน และเวลาการพักผอ่ นของทหารใหม่ ห้ามมิให้มกี ารรบกวนใดๆ เช่น การนาทหารใหม่ไปทางาน, การลงโทษทหารใหม่ ฯลฯ เพื่อให้ทหารใหม่พักผ่อน และนอนหลับได้ อย่างเพยี งพอ ๓๕. การลงโทษทหารใหม่ ให้เน้นจากเบาไปหาหนัก โดยใช้ท่าท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา บุคลิกร่างกาย และให้จัดทำสมุดบันทึกการลงโทษทหารใหม่เป็นรายบุคคล เพ่ือให้ผู้เก่ียวข้องใช้ ประโยชนใ์ น การปรบั การลงโทษทหารใหมใ่ หม้ ีความเหมาะสม โดยมีเกณฑก์ ารลงโทษดงั น้ี ๓๕.๑ สัปดาห์ท่ี ๑ : ท่าดนั พืน้ ไมเ่ กนิ ๕ ครัง้ , ท่าพ่งุ หลงั ไม่เกนิ ๑๐ ยก ๓๕.๒ สัปดาหท์ ่ี ๒ : ท่าดันพ้นื ไมเ่ กนิ ๑๐ ครัง้ , ท่าพุ่งหลงั ไม่เกนิ ๒๐ ยก ๓๕.๓ สปั ดาหท์ ่ี ๓ : ทา่ ดนั พ้ืน ไมเ่ กนิ ๑๕ คร้งั , ทา่ พงุ่ หลัง ไมเ่ กิน ๒๕ ยก ๓๕.๔ สปั ดาหท์ ี่ ๔ : เป็นตน้ ไป : ท่าดันพน้ื ไมเ่ กิน ๒๐ ครัง้ , ทา่ พ่งุ หลงั ไมเ่ กิน ๓๐ ยก ๓๖. การจัดกิจกรรมเยย่ี มบา้ นทหารใหมท่ ีม่ ฐี านะยากจน ก่อนวนั ส่งตัวเขา้ หน่วย ๓๗. การจัดกิจกรรมรับญาติทหารใหม่ ๑) จัดเจ้าทีแ่ นะนำขน้ั ตอนการฝึกทหารใหม่ ๒) ชแี้ จงสทิ ธิต่างๆ ใหท้ หารใหม่ และญาติทราบ ๓) จัดพ้นื ทพี่ ักคอย เหมาะสม อากาศถา่ ยเทสะดวก ๔) จดั ให้มีจดุ คดั กรอง ๕) ให้ญาติทหารใหม่ร่วมสังเกตการณ์ข้ันตอนการรับทหารใหม่เข้าสู่หน่วย เย่ียมชม อาคาร สถานทีใ่ นการฝึกทหารใหม่ ๖) แจ้งสื่อมวลชนให้มาทำข่าวตามความเหมาระสม ๗) รายงานผลการปฏบิ ัติ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๓๐ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ พลตรี จรสั ปัญญาดี ผู้บัญชาการกองพลทหารราบท่ี ๗ ด้วยในห้วงเวลามีงานการฝึกท่ีสำคัญ คือ การฝึกทหารใหม่ ผลัดที่ ๑/๖๔ โดยทหารใหม่ เข้ารายงานตัว ในวันที่ ๑ และ ๓ ก.ค. ๖๔ และทำการกักตัว จำนวน ๑๔ วัน โดยจะทำการฝึก ในห้วงวันท่ี ๑๙ ก.ค. - ๒๕ ส.ค. ๖๔ (ระยะเวลา ๖ สัปดาห์) ซึ่งมีหน่วยฝึกทหารใหม่ นขต.พล.ร.๗ จำนวน ๑๐ หน่วยฝึก ท้ังน้ีเพ่ือให้การฝึกทหารใหม่ ผลัดท่ี ๑/๖๔ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ผบ.พล.ร.๗ ไดม้ อบนโยบายและขอ้ ม่งุ เน้นการฝึกทหารใหม่ ผลัดที่ ๑/๖๔ ดงั น้ี ๑. ยดึ ถอื นโยบายการฝึกทหารใหมข่ อง ผบ.ทบ. และ มทภ.๓ โดยเครง่ ครดั ๒. ยดึ ถือคำแนะนำการฝกึ ทหารใหม่เบือ้ งต้นทว่ั ไป ผลดั ที่ ๑/๖๔ (ระยะเวลา ๖ สัปดาห์) ๓. “แผนบทเรียน” ครูฝึกควรจัดทำด้วยตนเอง และควรมีการซักซ้อมก่อนเสมอ (การฝึกที่มุ่งเน้นผล การปฏิบัติ : กิจเฉพาะ, เง่อื นไข, มาตรฐาน) ๔. การกักตัวเจ้าหน้าที่ ที่เก่ียวข้องกับการฝึกทหารใหม่และทำการฝึกทบทวนหน้าที่ครูฝึก ตงั้ แต่ ๑๖ - ๓๐ มิ.ย. ๖๔ (กกั ตัวเจ้าหน้าท่ที เ่ี กยี่ วขอ้ ง จนกว่าเสร็จสน้ิ การฝึกเฉพาะหน้าท่ี) ๕. ทหารใหมเ่ ขา้ รายงานตวั ในวนั ท่ี ๑ และ ๓ ก.ค. ๖๔ ใหด้ ำเนินการกกั ตัวทหารใหม่ จำนวน ๑๔ วัน ๕. ทหารใหม่เขา้ รายงานตวั ในวันท่ี ๑ ก.ค. ๖๔ กกั ตวั ตั้งแต่ ๑ - ๑๔ ก.ค. ๖๔ ๖. ทหารใหมเ่ ขา้ รายงานตัว ในวนั ที่ ๓ ก.ค. ๖๔ (ถึงหน่วย ๔ ก.ค. ๖๔) กกั ตวั ต้ังแต่ ๔ - ๑๗ ก.ค. ๖๔ ๗. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป ผลัดที่ ๑/๖๔ เริ่มดำเนินการฝึก ตั้งแต่ ๑๙ ก.ค. - ๒๕ ส.ค. ๖๔ (ระยะเวลา ๖ สัปดาห)์ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๓๑ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ๘. การฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ ผลัดที่ ๑/๖๔ ทำการฝึกต่อเน่ืองจากการฝึกทหารใหม่เบ้ืองต้นทั่วไป โดยการแปรสภาพจากหนว่ ยฝึกทหารใหม่ (ยังไม่ส่งทหารใหมก่ ลับหน่วยต้นสังกดั ยกเว้นหน่วยที่ได้รับ อนุมัติให้จัดตั้งหน่วยฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่เพ่ิมเติม) เร่ิมดำเนินการฝึกตั้งแต่วันที่ ๓๐ ส.ค. ๖๔ เป็นตน้ ไป (ระยะเวลา ตามระเบยี บและหลกั สตู รการฝกึ ทหารใหมเ่ ฉพาะหน้าทข่ี องแต่ละเหล่า) ๙. กิจกรรมทีจ่ ะดำเนินการในห้วงการกักตัว ใหแ้ ยกกลุม่ ยอ่ ย หรอื การใชร้ ะบบออนไลน์ ๑๐. การดำเนินการทางธุรการต่อทหารใหม่ (การชแี้ จง รปจ., จดั ทำประวัติ, บนั ทกึ ข้อมูลการเดินทาง, แจกจ่ายของใชส้ ่วนตวั ฯลฯ) ๑๑. จัดการอบรม โดยใช้สือ่ การสอนออนไลน์ ผา่ นมือถือ หรอื การจดั หอ้ งเรยี นลกั ษณะกลมุ่ ยอ่ ย ๑๒. ให้ยึดถอื ตามประกาศ พบ. อยา่ งเครง่ ครดั ๑๓. ยึดถือตามประกาศ พบ. อยา่ งเคร่งครดั ๑๔. การปอ้ งกนั และการควบคุมโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ๑๕. ให้ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อย่างเคร่งครัด ๑๖. เนน้ ย้ำใหย้ ดึ ถอื การปฏิบัตติ ามมาตรการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของ ศบค. ทีก่ ำหนดไวแ้ ละประกาศ พบ. เรือ่ ง แนวทางการป้องกันควบคุมโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -19) ในการรับทหารกอง ประจำการ และการฝกึ ทหารใหม่ ลง ๓ พ.ค. ๖๔ ๑๗. การป้องกนั โรคลมรอ้ น มาตรการทส่ี ำคญั เครื่องมอื ที่หน่วยรเิ รม่ิ เพ่ือช่วยลดปัจจยั เส่ียงทีก่ ่อใหเ้ กิด โรคลมรอ้ น ๑๘. การตรวจปัสสาวะของทหารใหม่ตามห้วงเวลาที่ รพ.คา่ ยฯ แนะนำอยา่ งสมำ่ เสมอ ๑๙. สร้างความรู้ความเข้าใจใหค้ รทู หารใหมท่ ุกคนให้มีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง ๒๐. การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยข้ันต้นทันเวลาและถูกต้องเหมาะสม ก่อนส่งตัวไปยัง โรงพยาบาลคา่ ยทหาร/สถานพยาบาลที่ใกลท้ ่ีสุด ๒๑. การฝึกซกั ซอ้ มอยู่เสมอเพอ่ื ทบทวนและเตรยี มความพรอ้ มรับสถานการณอ์ ยู่ตลอดเวลา ๒๒. การป้องกันปัญหาการลงทัณฑ์ไม่ถูกต้องและการปฏิบัติไม่เหมาะสมของครูฝึกทหารใหม่ ๒๓. การสร้างทัศนคตใิ หก้ ับครฝู กึ ทหารใหม่ทกุ คน ๒๔. การลงทณั ฑ์ดว้ ยวิธีท่รี นุ แรง ไม่ไดส้ ร้างความเปน็ ทหารทีม่ วี นิ ัยดีและเขม้ แข็ง ๒๕. ผลการปฏิบตั ไิ ม่ถูกตอ้ งสร้างความไมเ่ ชื่อม่นั ศรัทธาของประชาชนท่มี ีตอ่ กองทัพ/หน่วย ๒๖. การหมัน่ ตรวจตราและกำกบั ดูแลของผ้บู ังคับบัญชาอยา่ งใกล้ชดิ และสม่ำเสมอ ๒๗. การใช้วทิ ยาศาสตร์การกฬี าชว่ ยพฒั นาการฝกึ สมรรถภาพรา่ งกายให้ทหารใหม่ โดยปรกึ ษาแพทย์ รพ.ค่ายฯ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๓๒ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๒๘. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการฝึกทหารใหม่ เช่น โรงนอน, ห้องส้วม, โรงอาหาร ห้องสอนอบรม ฯลฯ ๒๙. การสร้างทศั นคติใหก้ บั ครูฝึกทหารใหมใ่ นเรื่องการวินิจฉยั อาการเจ็บปว่ ยของทหารใหม่ดว้ ยตวั ครู ฝึก โดยสงั เกตจากอาการหรือลักษณะการแสดงออกภายนอกเทา่ นนั้ ๓๐. มาตรฐานการฝึกทหารใหม่ มีการประเมินผลตลอดเวลา เปรียบเทียบมาตรฐานผลัดปัจจุบันกับ ผลดั กอ่ น แตกตา่ งกันอย่างไร ๓๑. การรวบรวมพัฒนาส่ือการสอนดิจิตอล ให้นำแถลงหลักสูตรทหารใหม่ เป็นตัวตั้งแล้วไปหาหรือ จัดทำสื่อการสอนท่ีมีอยู่เป็นพื้นฐาน ครูฝึกสามารถนำสื่อต่างๆ นำมาประกอบเพื่อเป็นแผนบทเรียน รูปแบบดิจิตอล ตลอดจนการคิดค้นนวัตกรรมสำหรับการฝึกทหารใหม่ ตามแนวทาง ๑ หน่วยฝึกฯ ต่อ ๑ นวัตกรรม ๓๒. หน่วยฝกึ ฯ ต้องมีแผนการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในระหว่างฝึก และภายหลงั จากการ ปล่อยพกั หลังจบการฝกึ ทหารใหม่เฉพาะหน้าท่ี ๓ ๓ . ก ารล งทั ณ ฑ์ ท ห าร ให ม่ ที่ ก ระ ท ำผิ ด วินั ย ท ห าร ให้ ผ บ .ห น่ ว ย , ผ บ .ห น่ ว ย ฝึ ก ฯ ผู้ฝึก, ผู้ช่วยผู้ฝึก และครูนายสิบ ดำเนินการตามวิธีการ และตามอำนาจการลงทัณฑ์ที่กำหนดไว้ใน ประมวลวินัยทหาร ซ่ึงมี ๕ สถาน คือ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กัก ขัง จำขัง เท่านั้น ห้ามใช้วิธีการลง ทัณฑท์ ีน่ อกเหนือจากน้ีโดยเฉพาะการทำร้ายร่างกาย จะตอ้ งไม่เกิดขนึ้ ๓ ๔ . ใน ร ะ ห ว่างก าร ฝึ ก ท ห าร ให ม่ จ ะ ต้ อ งไม่ มี ก ารท ำร้ าย ร่างก าย ท ห ารให ม่ ห รือ ทำใหท้ หารใหม่ได้รบั บาดเจบ็ หากเกดิ เหตุการณด์ งั กลา่ ว ผบ.หน่วย จะตอ้ งถกู พจิ ารณาโทษตามลำดบั ขั้นต่อไป ทั้งน้มี ิให้มีการสญู เสียของทหารใหมร่ ะหว่างการฝึกทุกกรณี ๓๕. ความปลอดภัยเกี่ยวกบั กระสุนวตั ถุระเบดิ ตอ้ งมคี วามปลอดภยั ๑๐๐% ๓๖. พึงระลึกเสมอ การฝึกทหารใหม่คือการฝึกให้พลเรือนมาเป็นทหาร ให้ยึดถือตามระเบียบและ หลักสตู รการฝึกอย่างเคร่งครดั ไมใ่ ชน่ กั เรยี นจู่โจมหรือการฝกึ หลกั สูตรพิเศษ ๓๗. ในระหว่างการฝึกให้ฝึกทบทวนและกวดขันวินัยครูทหารใหม่, ครูนายสิบอยู่เสมอเพ่ือที่จะเป็น แบบอย่างให้กบั ทหารใหม่ในการปฏบิ ตั ิตน ๓๘. ในการฝึกทหารใหม่ ใหใ้ ชน้ อกเวลาในหลักสูตรการฝึกฯ ฝึกการฝึกทักษะการต่อสู้ ๓๙. ส่งเสริมทหารใหม่ที่มีขีดความสามารถในด้านการยิงปืนพกและปืนเล็กยาว เพื่อคัดเลือกเป็น ตวั แทนนักยงิ ปนื ของ พล.ร.๗ เขา้ รับการแข่งขนั ในระดับ ทภ.๓ และ ทบ. ต่อไป ๔๐. ปลกู ฝงั ความรู้ ประวตั ศิ าสตร์ ท้องถิ่น และ ประเทศ ให้แก่ทหารใหม่ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๓๓ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ พ.อ. สจุ นิ ต์ ทรพั ยส์ ิน ผบ.ร.๗ กรมทหารราบที่ ๗ Commander Vision “ทนั สมยั พร้อมรบ ครบพัฒนา เปน็ ทหารอาชีพท่ีมเี กยี รติ” ด้วยในห้วงเวลาน้ีมีงานการฝึกที่สำคัญ คือ การฝึกทหารใหม่ ผลัดที่ ๑/๖๔ โดยจะทำการฝึก ในห้วงวันท่ี ๑ ก.ค.๖๔ - ๒๕ ส.ค.๖๔ ทั้งน้ีเพื่อให้การฝึกทหารใหม่ ผลัดท่ี ๑/๖๔ เป็นไปด้วยความ เรยี บรอ้ ย ผบ.ร.๗ ได้มอบนโยบายและข้อมุ่งเนน้ การฝึกทหารใหม่ ผลดั ท่ี ๑/๖๔ ดังนี้ ๑. การฝึกทหารใหม่ในผลัดนี้ ต้องการสร้างให้ทหารใหม่มีความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงาน มีความรู้ รอบดา้ น รวมทง้ั ที่สำคญั ในเรือ่ งเศรษฐกจิ พอเพียง ตามแนวความคดิ การดำเนินการทีม่ อบให้ คือ “นักรบ นกั พัฒนา สุภาพบรุ ษุ ” ซึ่งนโยบายเฉพาะไดม้ อบให้ผูฝ้ ึกทราบแลว้ ๒. หน่วยฝึกต้องเป็นผู้ท่ีอยู่ในระเบียบวินัย รวมถึงสภาพแวดล้อม การจัดระเบียบต่าง ๆ ตอ้ งสามารถรบั การตรวจเยยี่ มจาก ผบ.ร.๗ ท้งั อยา่ งเป็นทางการและไม่เป็นทางการไดต้ ลอดเวลา ๓. ผู้ฝึก /ผช.ครูฝึก และนายสิบใหม่ จะต้องอยู่กินและนอนกับทหารใหม่ตลอดเวลา และ กำกบั ดแู ล ผช.ครูทหารใหม่และทหารใหม่ใหป้ ฏิบตั ิตาม รปจ. อย่างเคร่งครดั ๔. หน่วยฝึกฯ ให้ศกึ ษาสำเนาเอกสารของหน่วยเหนือในเร่อื งบทเรียนที่ได้รับจาก การลงโทษ ทหารใหมท่ ่ีผิดไปจากระเบยี บ ทบ. ให้จดจำไว้เปน็ บทเรยี น อย่าใหม้ ใี น ร.๗ หากตรวจพบจะถูกลงโทษ สถานหนกั กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๓๔ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๕. ทหารใหม่ดีหรือไม่ดี ข้ึนอยู่กับการเตรียมการของการฝึกครูทหารใหม่ ซึ่งข้อเท็จจริง การฝกึ ครูทหารใหม่ จะต้องทบทวนทงั้ หมดต้งั แต่ผู้ฝึกลงมา ๖. หา้ มมีการแสวงหาผลประโยชน์ หรือหาความสขุ จากทหารใหม่ ๗. ในการเดินหรือว่ิงสำหรับทหารใหม่ ให้ร้องเพลงปลุกใจ โดยเฉพาะเพลงปลุกใจ เพื่อเกิด ความภาคภูมใิ จและสำนึกในความเป็นไทย ๘. การฝกึ ทหารใหมเ่ นน้ ในเรอื่ งการตอ่ สู้ปอ้ งกนั ตวั การปฐมพยาบาลและงานดา้ นขา่ วเบอื้ งต้น จะเป็นพืน้ ฐานสำหรับทหารใหมแ่ ละจะตอ้ งสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ทกุ คน ๙. การฝึก ให้ใช้อัตราส่วน ๑ : ๑ : ๘ ให้เกิดประโยชน์ ให้มีกิจกรรมเต็มทุกพ้ืนท่ีการฝึกของ หน่วย หากต้องการบุคลากรภายนอกหน่วยฝึก เพ่ือถ่ายถอดความรู้ที่ดีที่สุดให้กับทหารใหม่ สามารถ ประสานสว่ นที่เกี่ยวข้องดำเนินการได้ ๑๐. งานตามนโยบายท่ีได้มอบให้หน่วยฝึกทหารใหม่ในทุกสายฝ่ายอำนวยการ ขอให้หน่วยฝึก ทหารใหม่ ริเรม่ิ และพัฒนาอย่างไม่หยดุ ยั้ง ให้ใกลเ้ คยี งหรือดกี ว่าทไ่ี ดม้ อบนโยบายไวใ้ หแ้ ล้ว ๑๑. การสื่อสาร ๒ ทางและการมีส่วนร่วมของทหารใหม่ จะช่วยให้หน่วยฝึกทหารใหม่ประสบ ผลสำเร็จตามงานนโยบายที่มอบให้ ๑๒. การประเมินผลสำหรบั ทหารใหมเ่ ป็นเรอ่ื งทส่ี ำคญั จะตอ้ งมกี ารประเมนิ ทุกวนั หลังเสรจ็ สิน้ การฝกึ สำหรับการประเมินผลในแต่ละเรอื่ งคณะกรรมการของกรม/กองพัน จะเข้าไปดำเนินการหลัง เสร็จสน้ิ การฝกึ ในแตล่ ะเรือ่ ง ๑๓. การฝึกทหารใหม่หากนำแนวทางของการทดสอบผู้ชำนาญการทหารราบ มาสอดแทรก ในการวัดผล จะทำให้หน่วยสามารถสรา้ งให้ทหารใหม่ เป็นผู้ที่มีความชำนาญการสำหรับทหารใหม่ได้ เพ่อื สร้างใหท้ หารใหม่มีขีดความสามารถเพ่ิมข้นึ ๑๔. การฝึกทหารใหม่ไม่ใช่เร่ืองยาก แต่ส่ิงท่ียากกว่าคือ เม่ือจบการฝึกทหารใหม่แล้วทหาร ใหม่ จะมีประสิทธิภาพเพียงพอและมีทักษะท่ีต้องใช้ในการปฏิบัติภารกิจปัจจุบันให้ประสบ ผลสำเรจ็ และปลอดภยั เป็นสง่ิ สำคญั ๑๕. ขอให้หนว่ ยฝึกใหค้ วามสำคญั ต่อโรคลมรอ้ น กำลังพลทุกนายตอ้ งศกึ ษาเรยี นรู้ เข้าใจ และ สามารถปฏิบัตไิ ดท้ นั ทว่ งที โดยให้ความสำคัญกบั ระบบคบู่ ดั ดี้ ตอ้ งปฏิบตั ใิ ห้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๑๖. ขอให้มีการสรุปทบทวนการฝึกทหารใหม่ทุก ๆ ผลัด เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการฝึกให้ดี ข้ึนและนำสรปุ ผลการฝึกของผลดั ทผี่ า่ นมา มาปรบั ปรุงแกไ้ ขให้เกดิ ความสมบรู ณย์ ่งิ ๆ ข้ึนไป ๑๗. หน่วยฝึกทหารใหม่ ขอให้เป็นหน่วยทหารสีขาวอย่างแท้จริง ต้ังแต่ครูฝึกและ ผช.ครูฝึก พร้อมรบั การตรวจสอบ/ทดสอบตลอดเวลา กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๓๕ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๑๘. สายการบังคับบัญชา ควรสร้างไว้ต้ังแต่เป็นทหารใหม่ ครูฝึกต้องทราบว่าจะดูแลใคร/ช่ือ/ ข้อมลู ต่าง ๆ ๑๙. หนว่ ยฝึกฯ หากใครทำไม่ไดห้ รือมคี ณุ สมบัติไมค่ รบตามนโยบาย ขอให้ถอนตัว เพื่อไม่เปน็ ภาระและสรา้ งผลกระทบต่อหนว่ ยในอนาคต ๒๐. “เมื่อลมแรง เป็ดไก่ ก็สามารถบินได้ เมื่อลมสงบ พญาอินทรีย์เท่านั้นท่ีบินได้ในนภา” เปรียบได้ว่า การฝึกน้ัน ถ้าทุกสิ่งพร้อมสมบูรณ์ใคร ๆ ก็สามารถฝึกทหารใหม่ให้ได้ดีเหมือนกันหมด แต่ บนความไม่พร้อม การสนับสนุนท่ีขาดแคลน ผู้ทมี่ ีความม่งุ มนั่ และมีหัวใจของความเปน็ ครเู ท่านั้น ที่จะฝึก ทหารใหม่ได้ดี ซึ่งสิ่งเหลา่ นี้ จะเปน็ เครอื่ งวัดผลหนว่ ยต่างๆว่าหนว่ ยใดจะทำได้ดีกวา่ กนั กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๓๖ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ที่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ พ.ท.ต่อพงษ์ ชำนาญอาสา ผบ.ร.๗ พนั .๒ แนวความคิดที่จะฝึกให้ทหารใหม่ รุ่นปี ๒๕๖๔ ผลัดท่ี ๑ ในห้วงการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือ ไวรัส COVID -๑๙ และการฝึกในรูปแบบ เป็นนักรบ นักพัฒนา และสุภาพบุรุษ รายละเอียดการ ปฏบิ ัตทิ ีจ่ ะหล่อหลอมทหารใหมส่ รปุ ได้ดังน้ี มาตรการป้องกนั COVID – ๑๙ ๑. กำหนดพน้ื ที่ฝึกให้มรี ะยะห่างใหเ้ หมาะสมโดยกำหนดให้ ร้อย.อวบ.ที่ ๒, ๓ เป็นหน่วยฝกึ ทหารใหม่ รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๒. ครูนายสิบ และครูทหารใหม่จะต้องกักตัวก่อนทหารใหม่เข้ารับการฝึกจำนวน ๑๔ วัน ห้วงวันที่ ๑๖ มิ.ย.๖๔ - ๓๐ ม.ิ ย.๖๔ ๓. ครนู ายสบิ ครูทหารใหม่ และจนท. ทีเ่ กย่ี วข้อง ต้องทำการฉีดวัคซนี ๔. กพ. พลขบั รถทร่ี ับสง่ ทหารใหม่จาก มทบ.๓๓ มายังหน่วยจะต้องทำการ Swop Test ทกุ นาย ๕. ในวันรายงานตัวให้ มว.สร. ประสานกับทางสัสดี เพ่ือประชาสัมพันธ์เร่ืองการตัดผม การนำใบรบั รองฉดี วัคซีนมา รว่ มกับให้นำยาประจำตัว และประวตั ิการรกั ษาเดมิ มาดว้ ย ๖. การปฏิบัติระหว่างการเคล่ือนย้าย โดยยึดถือแนวทางการป้องกันควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ของ กรมแพทย์ ทบ. ๗. งดการแวะพกั ระหวา่ งการเคลื่อนย้าย ยกเว้นพาะกรณีเปล่ียนพลขับรถ ๘. มว.ยย. พจิ ารณาใช้รถโดยสารปกติ ไมใ่ ชร้ ถปรบั อากาศ ๙. เจา้ หนา้ ที่ควบคุมรถแตล่ ะคนั ตอ้ งมกี ารสง่ ตอ่ ข้อมลู ใหแ้ กเ่ จ้าหน้าท่หี น่วยรับทหารใหม่ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๓๗ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๑๐. ใหท้ ุกสว่ นทเี่ ก่ยี วขอ้ งปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนการรับทหารใหมท่ ี่หนว่ ยไดก้ ำหนดมาอยา่ งเคร่งครัด ๑๑. การจัด จนท. คัดกรองทหารใหม่โดยแบ่งเป็น ๓ กลุ่ม (เข้าเกณฑ์ PUI, ไม่มีอาการ แต่มีปัจจัย เสีย่ งและไม่มอี าการ และไมม่ ีปจั จยั เส่ียง) ๑๒. กิจกรรมต่างๆที่หน่วยฝักได้ดำเนินการ อาทิเช่น การฝึก, อบรม, รับประทานอาหาร, พักผ่อน, อาบนำ้ เปน็ ต้น จะต้องดำเนนิ ในรปู แบบ Bubble & Sealed ๑๓. กำหนดให้หน่วยฝึกกั้นโรงนอนให้เป็น Bubble กำหนดเขต และเส้นทางการเดินของแต่ละ Bubble ๑๔. ให้หนว่ ยฝกึ จดั หาแอลกอฮอล์ล้างมือที่บริเวณโรงนอน และ บรเิ วณหอ้ งอบรม ๑๕. จัดให้มีการนำนำ้ ยาฆ่าเชื้อท่ที างกรมแพทยแ์ นะนำ มาทำความสะอาดสถานทีท่ กุ ครั้ง ๑๖. กำหนดให้ ครูฝึก, ครทู หารใหม่ และทหารใหมม่ อี ุปกรณ์สว่ นตัว เชน่ ชอ้ น ส้อม กระติกนำ้ จาน ๑๗. งดกรรมวิธแี จกของ และตดั ผม เพอ่ื ลดความเส่ยี งในการตดิ เช้ือ ๑๘. การดำเนินกรรมวิธีด้านธุรการต่อทหารใหม่ (ช้ีแจง รปจ. จัดทำประวัติ บันทึกข้อมูล การเดนิ ทาง ฯลฯ) ๑๙. ใชส้ ือ่ การเรยี นการสอน ที่ทาง ยศ.ทบ.ไดจ้ ดั ทำ นำมาสอนแก่ทหารใหม่ ในห้วงกกั ตัว ๒๐. ทำการวัดอณุ หภมู ิวนั ละ ๓ คร้งั เช้า กลางวนั ก่อนนอน โดยใหผ้ ้ทู ำการประเมนิ คอื ผฝู้ กึ ประจำหมู่ จากนนั้ สง่ เอกสารเข้าระบบ google doc แยกตามหมู่ ทำการคัดกรองตามแบบฟอรม์ PUI ๒๑. ตดิ แถบสีบอกสญั ลกั ษณ์ของทหารใหม่ ๒๒. ทำการฝกึ อบรมเรอ่ื งโรคลมร้อน วิธีสงั เกตอาการในเบื้องต้นและการปฐมพยาบาล ๒๓. แยกกักทหารใหม่ท่ีให้ผลบวก พร้อมทั้งกักกันผู้สัมผัสในตำบลท่ีกำหนดไว้ในแต่ละหน่วยฝึก หรอื สถานท่ที ห่ี น่วยกำหนดใหก้ กั กนั ๒๔. ประสาน/แจ้ง รพ.ทบ. ในพ้ืนที่เพื่อขอคำแนะนำเฉพาะ และจัดเตรียมแผนเผชิญเหตุ กรณีท่ีเกิด การระบาดรุนแรง ดา้ นการฝกึ (เป็นนกั รบ นกั พัฒนา และสุภาพบรุ ษุ ) ๑.ด้านกำลังพล ๑.๑ หน่วยจัดดำเนินเก็บข้อมูลทหารใหม่ในรูปแบบ Excel ซึ่งปัจจุบันหน่วยได้เก็บข้อมูล ทั้ง ดา้ น การศึกษา วฒุ ิการศกึ ษา , อายุ ความสามารถ , ประวัติการใชส้ ารเสพตดิ อ่นื ๆ ๑.๒ การลงโทษทหารใหม่ เน้นจากเบาไปหนกั เพือ่ ให้ไดป้ ระโยชน์ในการพัฒนาบุคลกิ ลักษณะ ร่างกาย ทัง้ นสี้ ามารถกำหนดจำนวนคร้งั และต้องเป็นทา่ การออกกำลังกายตามท่ี ทบ. กำหนด ดงั นี้ ๑) สัปดาหท์ ี่ ๑ : ดนั พนื้ ไมเ่ กิน ๕ ครงั้ , พุ่งหลงั ไมเ่ กิน ๑๐ ยก ๒) สัปดาห์ท่ี ๒ : ดันพน้ื ไม่เกนิ ๑๐ ครัง้ , พุ่งหลังไม่เกนิ ๒๐ ยก กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
7002 ห น้ า | ๓๘ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๓) สปั ดาห์ที่ ๓ : ดันพน้ื ไม่เกิน ๑๕ ครง้ั , พ่งุ หลังไม่เกิน ๒๕ ยก ๔) สัปดาหท์ ี่ ๔ : ดันพนื้ ไม่เกนิ ๒๐ ครงั้ , พุ่งหลังไมเ่ กนิ ๓๐ ยก ๑.๓ ในระหว่างช่วั โมงการฝกึ ผ้ฝู ึกจะตอ้ งทำการเกบ็ มือถอื ของครนู ายสิบ และครูทหารใหม่ไว้ เป็นสว่ นรวม ๑.๔ การบันทึกภาพ และคลิปวีดีโอในห้วงการฝึกทหารใหม่ จัดช่างภาพของหน่วยบันทึก เปน็ ส่วนรวม ๑.๕ มาตรการป้องกนั อันตราย หนว่ ยดำเนนิ การป้องกนั โรคลมร้อน มีการวัดอุณหภมู ิร่างกาย ทหารใหม่ ตรวจปัสสาวะ แผนเผชิญเหตุการณ์ปฏิบัติอย่างถูกต้อง และจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ ทหาร ในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ จากวิทยากร โรงพยาบาลคา่ ยกาวลิ ะ ๑.๖ จดั ให้มกี ารติดแถบสีท่ขี อ้ มือ เพ่อื บอกสญั ลักษณ์ของทหารใหม่ - สีแดง : โรคประจำตัว - สเี หลอื ง : BMI เกนิ - สีขาว : เก่ียวข้องกับยาเสพติด ๑.๗ สนับสนุนให้ทหารใหม่ได้เรียนท่ีศูนย์การศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือพัฒนาการศึกษาให้จบ หลกั สูตรสูงขึ้น ๑ ขัน้ ๑.๘ ให้ทหารใหม่ได้เกิดความภาคภูมิใจ โดยจัดให้อดีตทหารกองประจำการ ที่ปลด ประจำการไปแล้ว และประสบความสำเร็จให้น้าที่การงาน มาบรรยายในวันอาทิตย์ เพ่ือให้ทหารใหม่ เกิดความภาคภมู ใิ จ ในการเป็นทหาร ๑.๙ จัดใหท้ หารใหม่รู้ทันตอ่ เหตกุ ารณ์ ๑.๑๐ การฉายภาพยนตรเ์ ชงิ ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย เน้อื หาสาระ ๓ กลมุ่ คอื การสร้างลกั ษณะ ผู้นำ , สภาพสงั คมจติ วิทยา และ ประวัติศาสตร์ ๑.๑๑ จัดให้ทหารใหม่ผู้นับถือศาสนา คริสต์มีกิจกรรมทางศาสนาในวันอาทิตย์โดยเชิญ วิทยากรจากภายนอกเข้ามาจัดกจิ กรรมภายในหนว่ ย ๑.๑๒ การจัดทำกล่องรับฟังความคดิ เหน็ ๑.๑๓ ทำการตรวจเครื่องแต่งกายบุคลากรหน่วยฝึกทหารใหม่ ให้เป็นไปตามข้อส่ังการของ ผู้บงั คับบญั ชา ๑.๑๔ ให้ทหารใหม่ร่วมกนั คิดกนั ทำ ในการจัดต้ังคณะกรรมการในรนุ่ ๑.๑๕ การใช้ห้องออกกำลังกาย เป็นการเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกายโดยใช้เวลาว่าง จากการฝกึ หรือชั่วโมงชมรม เวลา ๑๖๐๐ – ๑๘๐๐ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๓๙ มทภ.๓ ตรวจเยยี่ มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ที่ ๑ ๑.๑๖ นำระบบเกียรติศกั ดิ์ เปน็ แนวทางการปลูกฝังใหท้ หารใหม่เป็นผ้มู คี วามซ่ือสตั ย์ สุจรติ มี คุณธรรม ท้ังกาย วาจา และใจ อันเป็นรากฐานการเป็นกำลังพลที่ดีของ ทบ . ประกอบไปด้วย ไม่กล่าวเท็จ, ไม่คดิ โกง, ไม่ขโมย และจะไม่ยอมให้ผู้หนึ่งผใู้ ดกระทำเช่นนั้นเป็นอนั ขาด การดำเนินการ ของหน่วยเพอ่ื กำหนดกรอบใหท้ หารใหม่มงุ่ ไปสู่ระบบเกียรติศกั ด์ิ ดงั น้ี ๑) ศูนย์รวมจิตใจ กิจกรรมแสดงออกถึงความจงรักภักดี , คำปฏิญาณตน , การกีฬา และมคี ำขวัญของ ทบ./หน่วย ๒) เอกลักษณ์ทางทหาร ลักษณะผู้นำ , การเป็นตัวอย่างท่ีดี , ฝึกทบทวนวินัยประจำ อย่างต่อเน่ือง ๓) คุณธรรมจริยธรรม และวินัย การอบรมให้ความรู้ , ป้ายคำขวัญ , การปลูกฝัง คณุ ธรรม , การอบรมศีลธรรม และการแพร่กระจายเสียง ซึ่งองค์ประกอบทง้ั ๓ ส่วน จะย้ำคิด ย้ำพูด ย้ำทำ อยา่ งสม่ำเสมอ เพื่อนำไปสู่ระบบเกยี รติศักด์ิอย่างค่อยเป็น ค่อยไป และแสวงประโยชน์เพื่อการ ปฏบิ ัตงิ านด้านการข่าวอีกทาง ๑.๑๗ การมอบทนุ การศกึ ษาสำหรับบตุ รทหารใหม่ ๒.งานดา้ นการขา่ ว การดำเนินการด้านยาเสพติดนอกจากป้องกันโดยเฝ้าสงั เกต และตรวจประวัติบุคคลโดยเฉพาะ ในพื้นท่ีล่อแหลม การปราบปรามจะสุ่มตรวจปัสสาวะหลังเยี่ยมญาติ นอกจากนี้ยังได้เก็บข้อมูล เกยี่ วกับประวัติยาเสพติดมาวเิ คราะหศ์ กึ ษาถึงแนวโน้มของการระบาดยาเสพติด ตามชว่ งอายุในแต่ละ พ้ืนที่ เปน็ ต้น ๒.๑ การจดั ทำขอ้ มูลประวตั ิเชิงลกึ โดยใช้เทคนิคการบันทึกประวตั ทิ หารใหม่ เพื่อหาเครอื ข่าย ความเชอื่ มโยงดา้ นยาเสพตดิ ๒.๒ โครงการหน่วยทหารสีขาว เป็นช่องทางการสื่อสารระหว่าง ผบ.หน่วยกับทหารใหม่ เพ่ือ แจง้ เบาะแสทเี่ ป็นประโยชน์ โดยผา่ นทางเว็บไซต์ , โทรศพั ท์ , Line , ต้รู ับฟงั ความคดิ เหน็ รวมถึงการ ให้ทหารวิ่งถวายตัวเปน็ ทหารเสือพระองค์ดำ ปฏิญาณตน และดื่มน้ำสาบานว่าจะไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพ ตดิ ทุกชนิด ๒.๓ โครงการทหารใหม่เปิดใจ หนว่ ยได้ใหท้ หารใหม่ที่ มีประวตั กิ ารตดิ คุก หรือเกย่ี วขอ้ งกบั ยา เสพติด มาให้ถ่ายทอดประสบการณ์ในการใช้ชีวิตในห้วงการติดคุก เพ่ือเตือนสติกับทหารใหม่ที่ อาจจะหลงผดิ ๒.๔ การติดต้ังกล้องวงจรปิดในพ้ืนท่ีหน่วยฝึก เช่น โรงนอน , ห้องน้ำ , ห้องอบรม และพ้ืนที่ ล่อแหลม ภายในหน่วยฝึกเรียบร้อย และสามารถทำการเปิดดูกล้องวงจรปิดจาก โปรแกรม Application HIK – CONNECT โดยสามารถดผู า่ นระบบมือถือได้ กองพนั ทหารราบท่ี ๒ กรมมทหารราบท่ี ๗
7002 ห น้ า | ๔๐ มทภ.๓ ตรวจเยย่ี มการฝกึ ทหารใหม่ เฉพาะหนา้ ท่ี รนุ่ ปี ๒๕๖๔ ผลดั ท่ี ๑ ๒.๕ หน่วยปฏิบตั ิการภาษาชนเผา่ เปน็ การรวบรวมข้อมลู แต่ละชนเผ่า โดยการแยกแต่ละกลุ่ม จัดต้งั ชุดปฏิบตั ิการ เพื่อศึกษาประเพณีวฒั นธรรม และภูมปิ ัญญาท้ังในเรอ่ื งการดำรงชีพในปา่ ยารักษา โรค และการประกอบอาหาร ๓.งานด้านการฝึก ๓.๑ การฝึกทหารใหม่ หน่วยได้ยึดถือ ระเบียบและหลักสูตรการฝึกทหารใหม่ เบ้ืองต้นท่ัวไป สำหรบั ทหารทุกเหล่าของกองทัพบก ๑๐ สปั ดาห์ พ.ศ.๒๕๖๓ ที่เน้นการฝึกในบุคคลท่ามือเปล่า และ ท่าอาวธุ ตามคมู อื ฝกึ พระราชทาน พ.ศ.๒๕๖๐ ๓.๒ การฝึกทหารใหม่ท่ีสนองตอบต่อภารกิจที่ได้รับในรายการกิจเฉพาะสำคัญเป็นบุคคล ตามยุทธศาสตร์ การต่อสู้ อยู่รอด ชนะ รวมท้ังได้จัดให้นายทหาร และนายสิบ ที่พักจากการปฏิบัติ ภารกจิ ในพนื้ ท่ีสนามได้มาบรรยายใหท้ หารใหม่ ได้รับทราบทุกผลัดพกั ๓.๔ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการฝึก ในระหว่างการฝึก โดยมีหน้าที่กำกับดูแล โดยทำการ บันทกึ ลงสมดุ ตรวจการฝึก ๓.๓ การฝึกในระบบบัดด้ี และทำงานเป็นทีม หน่วยได้มุ่งเน้นการดูแล ในระหว่างฝึกโดย ระบบคูบ่ ดั ดี้จะตอ้ งช่วยเหลือในทุกเร่อื ง รวมทั้งการดูแลกันในเร่อื งความเป็นอยู่หลับนอน การใชส้ นาม ฝึกทดสอบกำลังใจ เพอ่ื สรา้ งระบบการทำงาน เปน็ ทีม ๓.๔ โครงการสร้างผู้นำทหารใหม่ การสรา้ งผู้นำทหารใหม่ หน่วยฝึกจัดให้มตี ัวแทนทหารใหม่ ออกมาปฏิบัติหนา้ หวั หนา้ หมวด หวั หนา้ กองร้อย ๓.๕ มอบรางวัลใหก้ ับ ทหารใหม่ท่ีมผี ลคะแนนฝกึ ดีเย่ียม ในเรื่อง ลักษณะทหารดเี ดน่ , การ ยิงปนื ดเี ดน่ , และสมรรถภาพรา่ งกายดเี ยย่ี ม ๓.๖ ในส่วนครูนายสิบ และครูทหารใหม่ จัดให้ทำการประเมินเพ่ือนร่วมงาน ซ่ึงจะทำการ ประเมินทกุ อาทิตย์ และมอบรางวลั วนั ปดิ การฝกึ ๓.๗ จัดตั้งชมรม ยิงปืนฉับพลัน , ศิลปะป้องกันตัว และ กีฬา โดยใช้เวลา ๑๖๐๐ - ๑๗๐๐ ในการทำกิจกรรม โดยให้ทหารใหม่ที่สนเข้ารว่ มกิจกรรม ๓.๘ โครงการ ๑ หมวด ๑ นวตั กรรม โดยให้ทหารใหมไ่ ด้มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาเครื่องช่วยฝึก รว่ มกบั ครนู ายสบิ และครูทหารใหม่ ในการจัดทำในระดบั หมวด เพ่ือคดั เลือกนวัตกรรมสง่ เข้าประกวด ตามนโยบายผูบ้ งั คับบัญชาต่อไป ๓.๙ จัดทำแฟม้ บันทึกการฝึกรายวันของครูฝึก รายละเอยี ดในแฟม้ ประกอบด้วย นโยบายของ ผบู้ งั คบั บญั ชา , ขอ้ มูลเน้ือหาในรายวชิ านนั้ ๓.๑๐ จัดทำคู่มือทหารใหม่ ประกอบไปด้วยสิทธิ และหน้าท่ีข้อพึงระลึกปฏิบัติ รวมถึง ข้อบังคับ ขอ้ หา้ มโดยทหารใหมท่ ุกนายจะตอ้ งศกึ ษาให้เขา้ ใจ กองพนั ทหารราบที่ ๒ กรมมทหารราบที่ ๗
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125