3บทที่ วางแผน สรา้ งสรรค์ และนาเสนอ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.ทดสอบ ประเมินผล และ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขชนิ้ งาน 1.วางแผนการทางานก่อนลงมือ สรา้ งชนิ้ งาน 2.เลอื กใชอ้ ุปกรณแ์ ละเครือ่ งมอื 4.นาเสนอผลการทางาน เหมาะสมกบั งานและใช้ถกู วธิ ี ด้วยรปู แบบที่เหมาะสม
3.1 การวางแผนการแก้ปัญหา 3.2 ส่งิ ทค่ี วรร้กู อ่ นลงมอื สรา้ งชิ้นงาน 3.3 การทดสอบประเมนิ ผล และการปรับปรงุ แกไ้ ข 3.4 การนาเสนอ
3.1 การวางแผนการแกป้ ญั หา ก่อนดาเนินการแกป้ ัญหาหรือลงมอื สรา้ งชน้ิ งาน ต้องวางแผน ดาเนนิ การเป็นขัน้ ตอน เพื่อลดระยะเวลา ลดการทาผดิ พลาด การวางแผนเรมิ่ จากการวเิ คราะห์องค์ประกอบ จากนัน้ เขียนเปน็ กจิ กรรมท่ีต้องทาในแต่ละงาน พรอ้ มระบุระยะเวลาและผทู้ ่เี กยี่ วขอ้ งหรอื ผทู้ ่รี บั ผิดชอบกจิ กรรมนั้นๆ
การวางแผนการดาเนินงาน อุปกรณ์บีบอดั ขยะ สามารถทาไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ ผัง งานแสดงลาดบั ขนั้ ตอน ตารางการ ปฏบิ ัตงิ าน ผงั งานแสดงลาดับดับข้นั ตอนการทางาน
ตารางการดาเนินการสรา้ งอปุ กรณบ์ บี อดั ขยะ กจิ กรรม / วนั ท่ี 1 2 34 5 67 จัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ สร้างแผ่นหน้าสัมผสั สร้างก้านโยก ประกอบชิ้นส่วนท้งั หมดเข้าด้วยกนั ทดสอบการทางาน ปรับปรุงแก้ไข ทาสีและเกบ็ ลายละเอยี ดงาน
3.2 ส่ิงที่ควรรกู้ อ่ นลงมือสร้างช้ินงาน เมอ่ื วางแผนการดาเนินการแลว้ จากน้นั ลงมือปฏิบัติงานตามแผน ทวี่ างไว้ หากเป็นงานที่ลงมอื สรา้ งช้นิ งานเกยี่ วกบั เหล็ก ไม้ พลาสติก หรืองานเกยี่ วกับสารเคมตี า่ งๆ ต้องคานกึ ถึงความปลอดภยั ของการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์เปน็ สาคญั และการเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ทถ่ี กู ต้องกับลกั ษณะงานและ ชุดปฏบิ ตั งิ านทเี่ หมาะสม
ตัวอย่างเช่น การทางานที่เก่ยี วกบั สารเคมี ผปู้ ฏิบัตงิ านตอ้ งสวมแว่นตา ผา้ ปดิ จมกู และ ถงุ มอื เพื่อป้องกันสารเคมีสมั ผสั กบั ร่างกาย และสดู ดม และป้องกนั สารเคมีกระเดน็ เขา้ ตา ชุดปฏบิ ัติการสาหรับงานทเี่ กย่ี วกบั สารเคมี
ในการเชอ่ื มเหลก็ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานจะตอ้ ง แตง่ กายอยา่ งมดิ ชิด ดว้ ยเสอ้ื ผ้าท่ีหนา ใส่ถงุ มอื และหนา้ กากปอ้ งกนั แสงทีเ่ กดิ จากการ เชอ่ื มเหล็ก ชุดปฏบิ ตั ิการสาหรับการเชื่อมเหลก็
เลอ่ื ยชนดิ ต่างๆ ท่ีใช้สาหรบั งานไม้ แตล่ กั ษณะรูปร่าง ฟนั เล่อื ย และ วัสดทุ ่ีใชท้ าเล่ือยมคี วามแตกตา่ งกนั เนอ่ื งจากจดุ ประสงค์ในการใชง้ านต่างกัน ผปู้ ฏบิ ตั คิ วรเลอื กใช้ให้เหมาะสมกับงานเพอ่ื ให้ไดช้ นิ้ งานทม่ี ีคุณภาพตรงตาม ตอ้ งการ และศึกษาวธิ กี ารใชง้ านให้ถูกตอ้ งดว้ ย
เลอ่ื ยลันดา เลือ่ ยรอ ใช้สาหรบั ตัดไมท้ ั่วไป ใชส้ าหรับบากปากไม้ เพื่อทาเดอื ย ไม้ และตกแตง่ งานไมท้ ี่ต้องการ ความประณีต
เลือ่ ยโค้ง เล่ือยฉลุ ใช้สาหรับตดั แต่งก่งิ ไม้ ใช้ฉลุลวดลายท่ี ทว่ั ไปที่มีขนาดไม่ใหญ่มาก ต้องการความประณตี
เล่ือยธนู ใช้ตัดก่ิงไมท้ ง้ั สดทง้ั แห้ง หรอื ตดั ต้นไมเ้ ป็นทอ่ นๆ เพอ่ื การเคลื่อนย้ายสาหรบั งานกอ่ สร้าง
ข้อควรระวงั 1. เลอื กใชเ้ ลื่อยใหเ้ หมาะสมกบั งาน 2. ใหใ้ ชม้ ือขา้ งถนดั จบั ที่ดา้ ม ส่วนมอื อกี ขา้ งให้จบั ท่โี ครงเลอ่ื ยหรือประคอง เพ่อื ใหใ้ บ เลอื่ ยนิง่ ไม่สา่ ยหรือพลกิ ไปมา 3. ไม่ควรออกแรงกดเลอื่ ย กระแทรกหรอื บิด ขณะเลือ่ ยมากเกินไป เพราะจะทาให้ ใบเลอ่ื ยหักเป็นอันตรายได้ ควรออกแรงให้พอดี ที่สามารถทาใหเ้ ลอ่ื ยดนั ไป ขา้ งหนา้ ได้
ข้อควรระวงั 4. ขนั สกรูใบเลื่อยกบั ดา้ มใหแ้ นน่ เพ่อื ปอ้ งกันไม่ให้ใบเล่อื ยหลุด ระหวา่ ง ทางการปฏบิ ัตงิ าน และเปน็ อนั ตรายตอ่ ผใู้ ชไ้ ด้ 5. แต่งกายใหเ้ หมาะสมเพ่ือปอ้ งกนั อนั ตรายที่เกดิ ขน้ึ เชน่ ใส่แว่นนริ ภยั เพ่ือ ป้องกันโลหะกระเด็นเมื่อใบเล่อื ยหัก ใสร่ องเท้านิรภัย เพอ่ื ปอ้ งกนั ของหนกั หล่น ใส่เท้า
วางแผนการทางานแล้ว ตอ่ ไปเปน็ การลงมอื สร้างชิ้นงานตาม แบบ โดยเริม่ จากสรา้ งสว่ นทีเ่ ป็นแผน่ หน้าสมั ผัสของอุปกรณบ์ ีบอัด ขยะ โดยวสั ดนุ ามาจากเหลก็ เพอื่ ใหม้ คี วามแข็งแรง และมีน้าหนัก สาหรบั บบี อดั ขยะใหม้ ขี นาดเลก็ ลง การประกอบเหลก็ เขา้ ดว้ ยกันแตร่ ะ สว่ นใชว้ ธิ กี ารเชือ่ มเหล็กแตล่ ะทอ่ นเขา้ ด้วยกนั
เช่อื มปลายอีกด้านหน่งึ ของกา้ นโยก ดว้ ยท่อนเหลก็ กลวงสาหรับทาเปน็ ทจ่ี บั
การสร้างส่วนท่เี ป็นท่ีจับยดื ถงั ขยะ โดยใชเ้ หล็กกลวงดดั ให้มคี วาม กวา้ งและความโคง้ เทา่ กบั ขอบของถัง ขยะ จากนนั้ ยดึ เข้ากบั กา้ นโยกด้วย นอต และทาให้จดุ เชื่อมต่อระหวา่ งที่ จบั ยดึ ถังขยะและกา้ นโยก สามรถ เคลอ่ื นทไ่ี ดโ้ ดยอิสระ เพื่อง่ายต่อการ ยกกา้ นโยกข้นึ และลง
เชอ่ื มแผน่ หน้าสมั ผสั ทอ่ นเหล็ก กลวงจานวน 2 ท่อน ปลายอกี ด้านหนงึ่ ของท่อนเหลก็ ประกอบเข้ากับก้านโยก โดยใหส้ ามารถหมุนได้เพอื่ ใหก้ ดกา้ นโยก ขึ้นลงไดข้ ณะบบี อัดขยะ
3.3 การทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไ้ ข การทดสอบเพือ่ ประเมนิ วา่ ช้ินงานหรอื วธิ ีการแกไ้ ขปญั หาไดต้ ามที่ กาหนดไว้หรอื ไม่ ควรเรมิ่ ต้นจากการกาหนดประเด็นในการทดสอบกอ่ น ซง่ึ ประเดน็ ทกี่ าหนดตอ้ งชัดเจน สอดคลอ้ งกบั ปัญหา และการทดสอบตอ้ งเห็น เปน็ รูปธรรม สามรถวดั เปน็ ปรมิ าณได้ เมือ่ ได้ผลการทดสอบแลว้ กน็ ามา ประเมินหรือเปรยี บเทียบว่าสมารถแกป้ ญั หาไดห้ รือไม่ หากไมเ่ ปน็ ไปตาม ทต่ี ัง้ ไว้ก็ใช้ผลการทดสอบเปน็ ขอ้ มูลในการดาเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ขตอ่ ไป
ในการทางานบางอยา่ ง ไม่สามารถทดสอบชิน้ งานไดจ้ รงิ เนอ่ื งจากมี ขอ้ จากดั เรื่องงบประมาณ เพราะมกี ารลงทุนท่ีสูง เชน่ การสร้างบา้ น การ สร้างตกึ ไมส่ ามารถทดสอบความแขง็ แรงโดยการทุบบา้ นหรอื ตกึ ได้ แต่ วิศวกรจะมีการทดสอบความแข็งแรงโดยการจาลองในคอมพิวเตอร์ หรอื ทดสอบโครงสรา้ งบางอยา่ ง เช่น ทดสอบความแขง็ แรงของเหลก็ ทจ่ี ะนามา สร้างบ้านวา่ สามารถรับนา้ หนกั ได้เพยี งพอหรอื ไม่ เพ่อื ม่นั ใจว่าสรา้ งบา้ นเสร็จ แลว้ บา้ นจะไมพ่ ัง ไม่แตกรา้ ว และไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ผอู้ ยูอ่ าศยั
ตวั อย่าง การทดสอบความแข็งแรงของเหล็กดว้ ยวิธีการเรยี กว่า Rockwell Hardness test เป็นการวัดความลกึ ของรอยกดโดยใชแ้ รงกดจากหัวทท่ี าจากเพชร เนื่องจากเปน็ วัสดทุ ีม่ คี วามแข็งแรงมาก หลังการทดสอบ ความแข็งของชน้ิ งานข้ึนอย่กู ับ ความลกึ ของรอยกด - เลือกชนิดหัวกด(หวั เพชร,บอล) - กาหนดแรงกด(F) - กดชน้ิ งาน(30 วนิ าที) - อ่านคา่ ความแข็ง
ขัน้ ตอนการทดสอบอปุ กรณบ์ ีบอดั ขยะทีส่ รา้ งขน้ึ โดยกาหนดประเด็นใน การทดสอบ ให้มีความสอดคล้องกบั กรอบของปญั หาทร่ี ะบุไว้ คอื ต้องการหา วิธีบีบอดั ขยะประเภท ขวดพลาสตกิ แก้วพลาสตกิ ท่ลี ม้ ออกมาจากถงั ขยะ เพอ่ื ใหม้ พี ้ืนทว่ี ่างในถงั มากขึ้น
ประเดน็ ทีต่ ้องทดสอบประกอบด้วย 1 ระยะบีบอดั ท่ีทาได้จรงิ สอดคลอ้ งกบั ท่ี 3 เงอ่ื นไขของการทดสอบ ออกแบบไว้หรือไม่(12 เซนติเมตร) 3.1 ขยะที่ทดสอบแต่ระคร้งั มปี ริมาณเท่ากนั 2 ประสิทธิภาพของอปุ กรณ์ และเปน็ ขยะประเภทเดยี วกนั คือ แกว้ บบี อดั ขยะที่สรา้ งข้ึน พลาสตกิ และขวดพลาสตกิ 3.2 ในการทดสอบแตล่ ะครง้ั จะใช้ขยะชุด 2.1 จานวนขยะที่บบี อดั ได้ ใหมท่ ย่ี งั ไมผ่ ่านการบีบอดั 2.2 ความสะดวกสบายของการใช้งาน
การทดสอบที่ 1 ระยะบีบอดั ทที่ าไดจ้ รงิ ประเด็นการทดลอง ผลการทดสอบ ประเมนิ ผล ระยะบีบอัดขยะ ระยะความสงู ของขยะท่ีอยู่ในถัง ระยะบบี อัด -ให้ผู้ใชจ้ านวน 3 คน ลองบบี อดั ขยะท่ีมี คนท่ี 1 ลดลง 7 เซนตเิ มตร เฉล่ยี ท่ีอปุ กรณ์ คนท่ี 2 ลดลง 9 เซนติเมตร บบี อัดขยะไม่ ความสงู 3/4 ของถงั คนละ 1 คร้ัง เพื่อ คนท่ี 3 ลดลง 8 เซนติเมตร สอดคล้อง กับ ที่ออกแบบไว้ วดั ความสูงของขยะทล่ี ดลง
สังเกตภายในถงั ขยะ กาลังถูกบบี อดั พบว่า มขี ยะประเภทแกว้ พลาสตกิ หลดุ ออกมาตาม ช่องว่างของแผ่นหนา้ สัมผัส
* ปญั หาท่พี บระหว่างการทดสอบ คือ แกว้ พลาสตกิ บางส่วนหลุดออกมา จากชอ่ งวา่ งของแผน่ หนา้ สมั ผัส ปรบั ปรุงโดยลดชอ่ งวา่ งของหนา้ สัมผัสทใ่ี ช้ กดขยะ ดว้ ยการเพิม่ เหลก็ ตามแนวขนานหรือแนวขวางกบั เหลก็ อนั เดิม แผน่ หนา้ สมั ผัสกอ่ นปรับปรงุ แกไ้ ข แผน่ หนา้ สัมผัสหลงั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
* ปญั หาทพี่ บระหว่างการทดสอบ คอื ขณะใช้งานพบว่าทจี่ ับยดึ หลดุ จากขอบถงั ขยะ การปรบั ปรุงแกไ้ ข จากการประเมินผลการทดสอบอปุ กรณ์บีบอดั ขยะ ยังพบประเด็นท่ีต้อง ปรับปรงุ แกไ้ ข คือ ขณะท่ใี ช้งานพบวา่ ทจี่ ับยึดหลุดออกจากขอบถงั เนือ่ งจากไมม่ ีที่ ยึดเม่อื ขยับอปุ กรณ์ไปด้านหน้า จึงได้ทาการปรบั ปรงุ แกไขโดยเพม่ิ ทจี่ บั ยดึ ขอบ ด้านบนของถงั ขยะสองจดุ ทจ่ี บั ยดึ ถังขยะแบบเดิม ทจี่ ับยึดถงั ขยะหลงั จากปรับปรงุ แกไ้ ขแลว้
นาอุปกรณ์บบี อัดขยะท่ีไดป้ รับปรุงแก้ไขไปทดสอบอีกครงั้ พบวา่ สามารถบบี อดั ขยะได้ดี ทจ่ี บั ยึดไมห่ ลดุ ออกจากขอบถัง แก้วพลาสตกิ ท่อี ย่ใู นถังเปรยี บเทียบก่อน และหลังใช้แล้วพบว่า มีความสูงลดลงโดยเฉลี่ย 10-12 เซนตเิ มตรต่อคร้งั ปริมาณ ขยะท่บี ีบอดั ไดโ้ ดยเฉลีย่ คอื 1.5 ถัง และสอบถามผู้ใชง้ านแลว้ สามารถใช้งานได้ สะดวก จากนั้นจงึ ทาสแี ละเกบ็ รายละเอยี ดชิน้ งานให้เรียบร้อย
3.4 การนาเสนอ การนาเสนอการดาเนนิ งานเพือ่ แกป้ ัญหา มจี ุดประสงคเ์ พอื่ นาเสนอขอ้ มลู ให้ ผ้อู ืน่ เขา้ ใจ เก่ยี วกบั ขัน้ ตอนการแกป้ ญั หาท้งั หมดตงั้ แตก่ ารกาหนดปญั หา รวบรวม ขอ้ มูลออกแบวธิ กี ารแก้ปญั หา ลงมอื สร้างชน้ิ งาน ผลการทดสอบ แนวทางการ ปรบั ปรุงแก้ไข รวมทัง้ ปญั หาอุปกรณ์ต่างๆ ทเี่ กิดขึน้ ระหวา่ งการทางาน นอกจากนี้ การนาเสนอยังถอื เปน็ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ เสนอแนะเพื่อนาไปใชใ้ นการ พฒั นางานตอ่ ไป
ในการนาเสนอผลการดาเนนิ งาน ควรพจิ ารณาถงึ ประเดน็ ต่างๆ 1. กาหนดหวั ขอ้ และขอบเขตในการนาเสนองานใหช้ ัดเจน โดย เริ่มจากการเขยี นหัวข้อเรียงลาดบั ส่ิงทีจ่ ะพูดก่อนหรือหลัง จากน้นั เพม่ิ รายละเอยี ดในแต่ละหัวขอ้ ให้สมบูรณ์
2. กาหนดสอื่ และรูปแบบทใ่ี ชใ้ นการนาเสนอ สิ่งท่ีตอ้ ง คานึงถงึ ในการออกแบบสอื่ ประกอบการนาเสนอ เช่น 2.1 เวลาที่ใชใ้ นการนาเสนอ หากเวลามีน้อยควรใช้วธิ กี ารนาเสนอส้นั กระชบั เข้าใจง่าย 2.2 ผ้ฟู งั หากเปน็ เดก็ เล็กอาจเนน้ การใช้ภาพ หากเปน็ ผใู้ หญ่อาจ นาเสนอโดยกราฟ หรือตาราง สาหรบั รปู แบบในการนาเสนอสามารถทาได้หลานรปู แบบ เชน่ โปสเตอร์ การบรรยาย ประกอบสื่อ การทาอินโฟกราฟกิ ในรปู แบบภาพน่งิ หรือภาพเคลอ่ื นไหว
3. นาเสนอด้วยภาษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย ลาดับเรอ่ื งราวอย่างเป็น ขน้ั ตอน เนน้ ประเด็นที่สาคญั ของเนือ้ หา มกี ารถามตอบเพือ่ กระตุ้นความสนใจและเปิดโอกาสให้ผู้ฟงั ใหข้ อ้ เสนอแนะตา่ งๆ เพ่อื นาข้อมูลเหลา่ น้นั ไปใช้ในการปรบั ปรงุ พัฒนางานให้ดขี น้ึ
สรปุ ทา้ ยบท การวางแผนกอ่ นลงมอื ปฏิบตั งิ าน โดยระบขุ น้ั ตอนการทางานระยะเวลาในแตล่ ะ ขน้ั ตอนจะชว่ ยลดขอ้ ผดิ พลาด ชว่ ยประหยดั เวลาและทรพั ยากรในการทางานมากข้ึน ในการลงมอื ปฏิบตั คิ วรเลอื กใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ ในการทางานอยา่ งเหมาะสมกบั ประเภทของงานและใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง กอ่ นท่ีจะทดสอบการทางานควรกาหนดประเด็น เพ่อื ใหก้ ารทดสอบมเี ป้ าหมาย ชดั เจน ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ปัญหา จากนน้ั นาเสนอการดาเนนิ งานใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ รวมทงั้ ปัญหาอปุ สรรคตา่ งๆ ที่เกดิ ขน้ึ ระหวา่ งทางาน พรอ้ มรบั ฟังขอ้ เสนอแนะ เพื่อนาไปใชใ้ น การพฒั นางานตอ่ ไป
จดั ทาโดย นางสาวกญั ญารตั น์ เคนพรม สาขาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา รหสั 624144008
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: