Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PLC ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

PLC ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Published by Tongli Ful, 2022-03-30 06:58:49

Description: PLC ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

แบบบันทกึ กจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) เรือ่ งการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น โดยวิธีการสอนแบบคู่คดิ Think-Pair-Share ปกี ารศึกษา 2564 นายธรี เจษ ศรมณี ตำแหน่งครู โรงเรยี นบางปลามา้ “สูงสมุ ารผดุงวิทย”์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

แผนปฏิบัติการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community Action Plan: PLC-AP) 1. ชอื่ -นามสกุลครเู จา้ ของแผน นายธีรเจษ ศรมณี 2. โรงเรียนบางปลาม้า “สงู สุมารผดงุ วิทย”์ สงั กัด สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบรุ ี 3. สรา้ งทมี PLC รายชอ่ื สมาชิก 1) นางสุคนธ์ ตรี วัฒนประภา บทบาท ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา (Administrator) 2) นางสาวเมธินี ทองสุกใส บทบาท ฝ่ายวชิ าการ (Mentor) 3) นางสาวมาลี นามอ่อน บทบาท ผเู้ ชย่ี วชาญ (Expert) 4) นายธีรเจษ ศรมณี บทบาท ครูผูส้ อน (Model Teacher) 5) นางสาวจิรภญิ ญา ช่างประดิษฐ์ บทบาท ครรู ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 6) นายชานนท์ นาคะนิวษิ ฐ์ บทบาท ครูร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 7) นายอนวุ ัตร อู่อรุณ บทบาท ครรู ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) ประเด็นปญั หาท่ีเลอื กนำมาเป็นเปา้ หมาย การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียน โดยวธิ ีการสอน แบบคู่คิด Think-Pair-Share แผนปฏิบัตกิ ารวงรอบท่ี 2 (31 ม.ค. 2564 ถึง 7 มี.ค. 2565) ลำดบั กจิ กรรม บทบาท วนั /เดอื น/ปี 1 ประชุมร่วมกันพจิ ารณาเลือกปญั หาเปา้ หมาย สมาชกิ ในทีม 31 ม.ค. 2565 (2 ชวั่ โมง) 2 ออกแบบกระบวนการแก้ปญั หา สมาชกิ ในทีม 3 ก.พ. 2565 (2 ชั่วโมง) 3 เขียนแผนจดั กจิ กรรมหรือแผนการสอน Model Teacher 7 ก.พ. 2565 (2 ชั่วโมง) 4 วิพากย-์ สะท้อนคิด แผนการจัดกิจกรรมหรือ Model Teacher 10 ก.พ. 2565 (2 ชั่วโมง) แผนการสอน 5 สรปุ สงั เคราะห์ผลการวิพากย์ สะท้อนคดิ และ Model Teacher 14 ก.พ. 2565 (2 ชวั่ โมง) ปรับปรุงแผนฉบบั ใหม่ ปฏิบตั กิ ารสอน / จดั กิจกรรม Model Teacher 15-19 ก.พ. 2565 (ไมน่ บั ชว่ั โมง PLC) สังเกตชน้ั เรียน Model Teacher 15-19 ก.พ. 2565 (ไมน่ ับชัว่ โมง PLC) 6 ประชุมสะท้อนคิดจากการสังเกตช้ันเรียน Model Teacher 21 ก.พ. 2565 (2 ช่ัวโมง) 24 ก.พ. 2565 (2 ชั่วโมง) 7 สรปุ สังเคราะห์การเรยี นรู้จากสมาชิกในทีม Model Teacher 28 ก.พ. 2565 (2 ชว่ั โมง) จุดออ่ น จดุ เด่นของการดำเนินการ 3 ม.ี ค. 2565 (2 ช่วั โมง) 8 สรปุ กระบวนการท่ีแก้ปัญหา รปู แบบท่ปี รบั ปรงุ สมาชกิ ในทีม 7 มี.ค. 2565 (2 ช่วั โมง) จากบทเรยี นที่ไดท้ ดลองใชแ้ ล้ว และนำสง่ ต่อไป ปฏบิ ตั ิการในรอบใหมต่ ่อไป 20 ช่ัวโมง รวม

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) กลมุ่ ครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย การรวมกลุ่ม PLC ข้ันตอนของ ผู้เกย่ี วข้อง กระบวนการPLC ในขั้นตอนของกระบวนการPLC ขั้นตอนที่ 1 1.เป้าหมายการรวมกลุม่ คอื การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี น โดย Community วธิ ีการสอนแบบคู่คดิ Think-Pair-Share การรวมกล่มุ PLC 2.สมาชิกของทีม คือ ครผู ูส้ อนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย สมาชกิ ช่อื กลุ่ม ครผู ู้สอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 1) นางสคุ นธ์ ตรี วัฒนประภา บทบาท ผู้อำนวยการสถานศึกษา (Administrator) 2) นางสาวเมธินี ทองสกุ ใส บทบาท ฝ่ายวชิ าการ (Mentor) 3) นางสาวมาลี นามอ่อน บทบาท ผเู้ ชย่ี วชาญ (Expert) 4) นายธีรเจษ ศรมณี บทบาท ครูผสู้ อน (Model Teacher) 5) นางสาวจริ ภญิ ญา ชา่ งประดิษฐ์ บทบาท ครรู ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 6) นายชานนท์ นาคะนวิ ษิ ฐ์ บทบาท ครรู ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 7) นายอนุวัตร อู่อรุณ บทบาท ครรู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) ลายมือสมาชกิ …………………………………………. 1) นางสคุ นธ์ ตรี วัฒนประภา …………………………………………. 2) นางสาวเมธินี ทองสุกใส …………………………………………. 3) นางสาวมาลี นามอ่อน …………………………………………. 4) นายธรี เจษ ศรมณี …………………………………………. 5) นางสาวจริ ภิญญา ช่างประดิษฐ์ …………………………………………. 6) นายชานนท์ นาคะนวิ ิษฐ์ …………………………………………. 7) นายอนุวัตร อู่อรณุ

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) กลมุ่ ครผู ู้สอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เร่อื ง การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี น โดยวิธกี ารสอนแบบคู่คดิ Think-Pair-Share ครง้ั ที่ 1 ระยะเวลา 31 ม.ค. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น) เวลาโดยรวม 2 ชวั่ โมง กระบวนการพัฒนา/การปฏบิ ัติ ผู้เก่ียวข้อง เครอ่ื งมอื พฒั นา ในขนั้ ตอนของกระบวนการPLC ข้นั ตอนของ กระบวนการPLC ข้ันตอนท่ี 2 Practice เปา้ หมายการพัฒนา กระบวนการพฒั นา ประชมุ รว่ มกันพจิ ารณาคัดเลือกปัญหาเป้าหมาย /การปฏิบตั ิ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมลงช่ือ …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามอ่อน …………………………………………. 2) นายธีรเจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจิรภญิ ญา ชา่ งประดษิ ฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนิวษิ ฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนุวตั ร อู่อรณุ ปญั หาที่พบ ครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้ประชุมกันและพบ ปัญหานักเรียน ส่วนใหญ่ไม่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ที่ดีส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ไม่เป็นที่น่าพอใจ ครูผู้สอนจึงแก้ปัญหาโดยการใช้การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยวิธีการ สอนแบบคู่คิด Think-Pair-Share เข้ามาบูรณาการในการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาสงั คมศึกษาให้ดขี ึ้น สาเหตขุ องปัญหา นกั เรียนมีพฤติกรรมไม่สนใจเรยี น เนื่องจากการเขา้ ถงึ เทคโนโลยีตดิ สื่อโซเชยี ลมากเกินไป ใช้เวลาว่างไม่ เกิดประโยชน์ ไม่ทบทวนเน้อื หาการเรยี น สง่ ผลให้ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวิชาสังคมศกึ ษาไมเ่ ป็นท่นี ่าพอใจ คัดเลอื กปัญหาเป้าหมาย แก้พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ผู้บันทึก …..…………............................................... (นายธรี เจษ ศรมณี)

แบบบนั ทึกกิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) ครผู ู้สอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เร่ือง การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี น โดยวธิ ีการสอนแบบคู่คดิ Think-Pair-Share คร้ังท่ี 2 ระยะเวลา 3 ก.พ. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ช่วั โมง กระบวนการพัฒนา/การปฏิบัติ ขน้ั ตอนของ ผเู้ ก่ยี วข้อง เครอ่ื งมือพฒั นา กระบวนการPLC ในข้ันตอนของกระบวนการPLC ข้นั ตอนท่ี 2 Practice เป้าหมายการพัฒนา กระบวนการพฒั นา ออกแบบกระบวนการแกป้ ัญหา /การปฏบิ ัติ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงช่ือ …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามอ่อน …………………………………………. 2) นายธรี เจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจริ ภิญญา ช่างประดิษฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนวิ ษิ ฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนุวัตร อ่อู รณุ ปัญหาทีศ่ กึ ษา นักเรียนมพี ฤตกิ รรมไม่สนใจเรยี น เนือ่ งจากการเข้าถึงเทคโนโลยีตดิ สือ่ โซเชยี ลมากเกนิ ไป ใชเ้ วลาว่างไม่เกิด ประโยชน์ ไม่ทบทวนเน้ือหาการเรยี น ส่งผลให้ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรายวชิ าสงั คมศกึ ษาไม่เปน็ ทน่ี ่าพอใจ วธิ กี ารพัฒนา (กจิ กรรม/วธิ ีการ/นวัตกรรมท่ใี ชใ้ นการแก้ปัญหา) 1. ครผู ้สู อนเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล สังเกตพฤติกรรมนักเรียนขณะอยู่ทโ่ี รงเรียน โดยสอบถามจากครผู สู้ อนในรายวชิ า ตา่ งๆ เปน็ ขอ้ มูลประกอบ 2. เสนอให้ครูจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบคู่คิด Think-Pair-Share เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการสอนแบบ ร่วมมือ (Cooperative) ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างมนุษยสัมพันธ์กันโดยผ่านกระบวนการคิด การทำงานร่วมกัน มากกวา่ ทีจ่ ะใหผ้ เู้ รยี นแขง่ กันเองเพอ่ื ท่จี ะเอาชนะกัน หรือไมก่ ล้าคิด ไม่กล้าแสดงออก ให้มาคิดร่วมกนั ทำงาน ร่วมกนั ยอมรบั ฟังเหตผุ ลซง่ึ กันและกัน จงึ ทำให้ผู้เรยี นกลา้ แสดงออก ค้นคว้าความรู้ดว้ ยตนเอง และการคน้ หา งานกลุ่มร่วมกัน รู้จักแบ่งงานกันเอง ซึ่งวิธีการสอนแบบร่วมมือจึงมีอยู่หลากหลายวธิ ีหรือเทคนิคการสอน ซ่ึง ผู้วิจัยไดเ้ ลอื กการสอนแบบคูค่ ิด Think-Pair-Share เข้ามาจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่ายต่อการ เรยี นรู้ และเป็นการฝึกใหผ้ เู้ รยี นได้คิดเองก่อน จากนั้นจึงคดิ รว่ มกัน และนำไปสกู่ ารคิดรว่ มกันในกลุ่มใหญ่ โดย สิง่ ทผ่ี ูเ้ รยี นได้คดิ นนั้ จะมคี ณุ ค่าอยา่ งมาก นำไปสู่การตระหนักในคุณค่าของตนเองมากขน้ึ ความรู้/หลกั การท่ีนำมาใช้ วิธกี ารสอนแบบคูค่ ดิ Think-Pair-Share ผู้บนั ทึก …..…………...................................... (นายธรี เจษ ศรมณี)

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) ครผู ู้สอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เร่อื งการพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี น โดยวธิ ีการสอนแบบคู่คดิ Think-Pair-Share คร้ังที่ 3 ระยะเวลา 7 กมุ ภาพันธ์ 2564 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ชัว่ โมง กระบวนการพัฒนา/การปฏบิ ัติ ขน้ั ตอนของ ผ้เู กี่ยวข้อง เคร่อื งมอื พัฒนา กระบวนการPLC ในข้นั ตอนของกระบวนการPLC แผนการจัดการเรยี นรู้ ขนั้ ตอนที่ 2 Practice เปา้ หมายการพัฒนา กระบวนการพฒั นา เขียนแผนการจดั กิจกรรมหรือแผนการสอนโดยใช้ /การปฏิบัติ วิธีการสอนแบบคู่คิด Think-Pair-Share ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมลงชอื่ …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามอ่อน …………………………………………. 2) นายธรี เจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจริ ภิญญา ช่างประดษิ ฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนิวษิ ฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนวุ ตั ร อูอ่ รณุ ครูผู้สอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายรว่ มกันเขียนแผนการจัด การเรยี นรู้ โดยใชว้ ิธีการสอนบูรณาการวิธกี ารสอนแบบคู่คิด Think-Pair-Share ผูบ้ ันทกึ …..…………...................................... (นายธีรเจษ ศรมณี)

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) ครผู ูส้ อนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เรื่องการพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี น โดยวธิ ีการสอนแบบค่คู ดิ Think-Pair-Share คร้งั ที่ 4 ระยะเวลา 10 ก.พ. 2565 (เวลา 16.00 น.ถงึ 18.00 น) เวลาโดยรวม 2 ชวั่ โมง กระบวนการพัฒนา/การปฏิบตั ิ ขั้นตอนของ ผู้เกยี่ วข้อง เคร่ืองมือพฒั นา กระบวนการPLC ในขน้ั ตอนของกระบวนการPLC ข้นั ตอนท่ี 2 Practice เป้าหมายการพัฒนา แผนการจดั การเรียนรู้ กระบวนการพัฒนา วพิ ากย์ สะท้อนคิดแผนการจัดกิจกรรมหรือแผนการสอน /การปฏิบตั ิ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมลงชอ่ื …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามอ่อน …………………………………………. 2) นายธีรเจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจิรภิญญา ช่างประดษิ ฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนิวิษฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนุวตั ร ออู่ รณุ จดุ เดน่ ของแผนการจัดการเรียนรู้ วิธีการสอนแบบคคู่ ิด Think-Pair-Share เน้นใหผ้ เู้ รียนสร้างมนษุ ยสมั พนั ธก์ ันโดยผา่ นกระบวนการคิด การทำงานรว่ มกัน จึงทำให้ผ้เู รียนกล้าแสดงออก คน้ ควา้ ความรดู้ ว้ ยตนเอง จดุ ดอ้ ยของแผนการจดั การเรยี นรู้ - ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ควรฝึกฝนนักเรยี นเปน็ ดว้ ยกระบวนการคคู่ ิด Think-Pair-Share เปน็ ประจำอยา่ งต่อเนื่อง ผูบ้ นั ทึก …..…………...................................... (นายธรี เจษ ศรมณี)

แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) ครผู ้สู อนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เร่ืองการพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียน โดยวิธีการสอนแบบค่คู ดิ Think-Pair-Share คร้งั ที่ 5 ระยะเวลา 14 ก.พ 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ชวั่ โมง กระบวนการพัฒนา/การปฏิบัติ ข้นั ตอนของ ผูเ้ ก่ียวข้อง เครอ่ื งมือพฒั นา กระบวนการPLC ในข้ันตอนของกระบวนการPLC ขน้ั ตอนที่ 2 Practice เป้าหมายการพัฒนา แผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการพฒั นา /การปฏบิ ัติ สรุป สังเคราะหผ์ ลการวิพากยส์ ะท้อนคดิ และปรบั ปรุง แผนการจดั การเรยี นรู้ฉบับใหม่ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมลงช่ือ …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามออ่ น …………………………………………. 2) นายธีรเจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจริ ภญิ ญา ช่างประดษิ ฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนิวษิ ฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนวุ ัตร ออู่ รณุ สรปุ สังเคราะห์ผลการวพิ ากยส์ ะท้อนคิดและปรับปรุงแผนฉบับใหม่ ปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้บรู ณาการกระบวนการคคู่ ดิ Think-Pair-Share ผูบ้ ันทึก …..…………...................................... (นายธรี เจษ ศรมณี)

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) ครูผสู้ อนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เร่ืองการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน โดยวิธีการสอนแบบคู่คดิ Think-Pair-Share ครั้งท่ี 6 ระยะเวลา 21 ก.พ. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ชวั่ โมง ระยะเวลา 24 ก.พ. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ชว่ั โมง รวมทั้งหมด 4 ช่ัวโมง การสะท้อนคดิ /ผลการปฏิบัติ ข้นั ตอนของกระบวนการ ผู้เกี่ยวข้อง เครอ่ื งมอื พัฒนา PLC ในขนั้ ตอนของกระบวนการPLC ขั้นตอนท่ี 3 Reflection เปา้ หมายการพัฒนา การะสะท้อนคิด/ผลการปฏบิ ัติ ประชมุ สะท้อนคิดจากการสังเกตชนั้ เรียน ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมลงชอ่ื …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามออ่ น …………………………………………. 2) นายธีรเจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจิรภิญญา ช่างประดษิ ฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนิวิษฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนวุ ัตร ออู่ รุณ สง่ิ ทค่ี รูผู้สอน (Model Teacher) ปฏบิ ตั ไิ ด้ดี (ผลการปฏบิ ตั )ิ กจิ กรรมการเรียนการสอนบรู ณาการกระบวนการคูค่ ิด Think-Pair-Share เป็นกระบวนการที่ใช้เพื่อนชว่ ย เพื่อนในชน้ั เรียน คลา้ ยกระบวนการทำงานกลุ่ม เปน็ การพัฒนาทกั ษะกระบวนความคิด ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี น สิง่ ที่ควรพัฒนา ครคู วรใช้คำถามกระต้นุ ความคดิ สำหรับนักเรียนบางคนเพ่ือให้มีการพัฒนาทักษะกระบวนความคิด ยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นให้สูงขึน้ การแลกเปล่ียนเรยี นร/ู้ ข้อเสนอแนะ - ผบู้ นั ทกึ …..…………...................................... (นายธีรเจษ ศรมณี)

แบบบันทกึ กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ครูผู้สอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย เร่ืองการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน โดยวิธีการสอนแบบคู่คิด Think-Pair-Share คร้งั ท่ี 7 ระยะเวลา 28 ก.พ. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ชัว่ โมง การสะทอ้ นคิด/ผลการปฏบิ ัติ ขนั้ ตอนของกระบวนการ ผูเ้ กี่ยวข้อง เครื่องมอื พัฒนา PLC ในขน้ั ตอนของกระบวนการPLC ข้ันตอนท่ี 3 Reflection เป้าหมายการพัฒนา การะสะทอ้ นคิด/ผลการปฏบิ ัติ สรปุ สงั เคราะห์การเรยี นร้จู ากสมาชกิ ในทีม จุดออ่ น จุดเดน่ ของการดำเนินการ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมลงชอื่ …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามออ่ น …………………………………………. 2) นายธรี เจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจริ ภญิ ญา ชา่ งประดษิ ฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนวิ ษิ ฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนุวตั ร อู่อรุณ ส่ิงทีไ่ ดเ้ รียนรจู้ ากการดำเนนิ การ(สังเคราะห์การเรียนรู้จากสมาชิกในทีม) 1. เกดิ กระบวนการทำงานกลมุ่ 2. นกั เรยี นเกิดทกั ษะการคดิ วิเคราะห์มากขึ้น 3. นกั เรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงขนึ้ จุดออ่ นของการดำเนินการ - จดุ เด่นของการดำเนินการ ทกั ษะการทำงานกล่มุ ผู้บนั ทกึ …..…………...................................... (นายธีรเจษ ศรมณ)ี

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ครูผสู้ อนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เรื่องการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียน โดยวิธีการสอนแบบคู่คิด Think-Pair-Share คร้ังที่ 8 ระยะเวลา 3 ม.ี ค. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ช่ัวโมง ระยะเวลา 7 ม.ี ค. 2565 (เวลา 16.00 น.- 18.00 น.) เวลาโดยรวม 2 ชว่ั โมง รวมทง้ั หมด 4 ช่วั โมง การสะท้อนคิด/ผลการปฏบิ ัติ ขั้นตอนของกระบวนการ ผู้เก่ยี วข้อง เครอื่ งมอื พฒั นา PLC ในข้นั ตอนของกระบวนการPLC ขัน้ ตอนท่ี 3 Reflection เป้าหมายการพัฒนา การะสะทอ้ นคิด/ผลการปฏบิ ัติ สรุปกระบวนการท่ีแก้ปญั หา รปู แบบทีป่ รับปรุงจาก บทเรียนท่ีได้ทดลองใช้แล้ว และนำสง่ ต่อไป ปฏบิ ัตกิ ารในรอบใหมต่ ่อไป ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมลงชอ่ื …………………………………………. 1) นางสาวมาลี นามออ่ น …………………………………………. 2) นายธีรเจษ ศรมณี …………………………………………. 3) นางสาวจริ ภิญญา ช่างประดิษฐ์ …………………………………………. 4) นายชานนท์ นาคะนวิ ิษฐ์ ……………………………………….... 5) นายอนวุ ัตร อ่อู รณุ สรปุ กระบวนการทแ่ี ก้ปญั หา ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หลังเรียนมากกวา่ ก่อนเรยี นโดยใช้ วิธีการสอนแบบค่คู ิด Think-Pair-Share ในระดับมาก Best Practice /นวตั กรรมทไี่ ด้ กิจกรรมการเรยี นการสอนบรู ณาการกระบวนการคู่คิด Think-Pair-Share ผบู้ ันทกึ …..…………...................................... (นายธีรเจษ ศรมณ)ี

ภาพประกอบการประชุมกิจกรรมชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) เรอ่ื งการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน โดยวิธีการสอนแบบคูค่ ิด Think-Pair-Share

ภาพประกอบการประชุมกิจกรรมชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) เรอ่ื งการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน โดยวิธีการสอนแบบคูค่ ิด Think-Pair-Share

ภาคผนวก

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 18 (โดยวิธีสอนแบบ วธิ กี ารสอนแบบคคู่ ดิ Think-Pair-Share) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ งอทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวันออกและตะวันตกท่มี ีต่อสังคมไทย จำนวน 2 ช่วั โมง เรอื่ ง อิทธพิ ลของวัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกท่ีมีต่อสงั คมไทย จำนวน 2 ช่วั โมง ครูผู้สอน นายธีรเจษ ศรมณี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาไทย มีความรักความภมู ใิ จ และธำรงความเป็นไทย ตัวชีว้ ดั ม.4-6/3 วิเคราะห์ปัจจยั ทีส่ ่งเสรมิ ความสรา้ งสรรค์ภมู ิปัญญาไทย และวฒั นธรรมไทย ซ่ึงมีผลตอ่ สงั คมไทยในยคุ ปจั จุบัน ม.4-6/5 วางแผนกำหนดแนวทางและการมสี ่วนร่วมการอนุรกั ษภ์ ูมิปัญญาไทยและวฒั นธรรมไทย 2. สาระสำคัญ การศกึ ษาปจั จัยที่สง่ เสรมิ การสร้างวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญา ยอ่ มส่งผลให้ตระหนักถึงคุณคา่ ของ วัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ซึง่ นำไปสกู่ ารอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาใหค้ งอยูเ่ ปน็ มรดกของชาติสบื ตอ่ ไป 3. สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1.1 ทักษะการอธิบาย 2. ความสามารถในการคิด 2.1 ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 3.1 ทกั ษะกระบวนการกล่มุ 4. ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 1. มที กั ษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และสามารถแกป้ ญั หาได้ 2. ความร่วมมอื ในการทำงานเปน็ ทมี และภาวะความเปน็ ผู้นำ 3. มคี วามเมตตากรณุ า มีคณุ ธรรม และมีระเบยี บวินยั

5. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ผูเ้ รยี นสามารถยกตวั อยา่ งผลงานของบุคคลที่สง่ เสรมิ การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยท่ีมี ผลต่อสงั คมไทยปจั จบุ ันไดอ้ ย่างถกู ต้อง (K) 2. ผู้เรยี นสามารถวิเคราะห์ปัจจยั ทีส่ ง่ เสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยท่ีมีผลตอ่ สังคมไทยปจั จุบันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม (P) 3. ผ้เู รียนสามารถนำเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนตามแบบอย่างของบคุ คลทีส่ ่งเสริมวฒั นธรรมและภมู ิ ปัญญาไทยได้อย่างเหมาะสม (A) 6. สาระการเรียนรู้ 1. ปจั จยั ที่ส่งเสริมการสรา้ งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผลต่อสงั คมไทยปจั จบุ นั 2. บุคคลท่สี ่งเสริมการสรา้ งวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยท่ีมีผลต่อสังคมไทยปัจจุบนั 7. กิจกรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมนำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ผ้สู อนนำเสนอภาพเกีย่ วกับสินคา้ OTOP จาก power point เร่ือง ปจั จยั และบุคคลที่ส่งเสรมิ การ สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทยท่ีมีผลต่อสังคมไทยปัจจุบนั จากนนั้ ใช้คำถามกระตนุ้ ผู้เรยี นดังน้ี 1.1 ภาพนเ้ี ป็นภาพเก่ยี วกบั อะไร (สนิ ค้า OTOP) 1.2 ผู้เรยี นคิดว่าภาพดังกลา่ วเปน็ ส่วนหนงึ่ ท่สี ่งเสรมิ การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทยดา้ น ใด (พิจารณาตามคำตอบของผเู้ รยี น) 2. ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน (การผลิตสินค้า OTOP จัดเป็นกิจกรรมในการ เผยแพร่วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยอย่างหนึ่งที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย เพราะ เป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลในท้องถิ่นได้นำภูมิปัญญามาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยการผลิตสินค้าราคาถูกและมี คุณภาพส่งผลให้ภูมิปัญญาของตนเผยแพร่ออกไปกว้างขวางและเป็นที่รู้จักมากขึ้น นอกจากนี้ แล้วยังมีปัจจัย อื่นๆ อีกมากมายที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยรวมทั้งบุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย ซ่ึงเปน็ ส่ิงทเี่ ราจะมาเรยี นรูก้ นั ในวนั น)ี้

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน (วิธีการสอนแบบคคู่ ดิ Think-Pair-Share) 1. ผเู้ รยี นแบ่งกลุม่ 5 กลมุ่ ๆละ 4 - 5 เพ่อื ทำกจิ กรรม “ยลถิ่น วิถีชีวิตรมิ นำ้ ” โดยผูเ้ รียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ศึกษา “กรณศี ึกษา: ตลาดนำ้ อัมพวา อดีตสูป่ ัจจบุ นั เรอื งร่งุ วฒั นธรรมลำน้ำแมก่ ลอง” 2. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมความคิดเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาไทยจากกรณีศึกษา ในประเด็นที่ผู้สอนกำหนดต่อไปนี้ (ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ทำลงในกะดาษท่ี ผสู้ อนแจกให)้ (ทักษะการคิดวเิ คราะห)์ (ทกั ษะกระบวนการกลุม่ ) (Obj2.) 2.1 ผู้เรียนคดิ วา่ เพราะเหตุใดตลาดน้ำอมั พวาจึงไดร้ บั ความนยิ มจากนกั ทอ่ งเที่ยว 2.2 ตลาดน้ำอัมพวามีลักษณะของการสง่ เสรมิ วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยอยา่ งไรบ้าง 2.3 ผู้เรยี นคิดปจั จัยใดบ้างที่ส่งเสรมิ วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยของตลาดนำ้ อัมพวา 3. ผูส้ อนสมุ่ ใหผ้ ้เู รียนนำเสนอผลงานตามความสมคั รใจ ประมาณ 1-2 กลุ่ม (ทักษะการอธบิ าย) 4. ผู้สอนอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผลต่อสังคมไทย ปัจจุบันโดยสังเขป จากการนำเสนอ power point เรื่อง ปัจจัยและบุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยทมี่ ีผลต่อสงั คมไทยปัจจุบัน 5. ผู้สอนกล่าวกับผู้เรียนว่า “ในการส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่ผ่านมาใน ประวัตศิ าสตรช์ าติไทยนัน้ ล้วนเกดิ มาจากความคิดและการสร้างสรรค์ของคนไทยจำนวนมาก ซึง่ บุคคลเหล่านี้มี ทั้งพระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ และสามัญชนทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน มีบุคคลหลายท่านที่มี ส่วนในการส่งเสริม สร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยสมควรที่เราจะได้ศึกษาเป็น แบบอย่าง และบุคคลตัวอย่างที่มีบทบาทในการส่งเสริม สร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยท่ีเราจะเรยี น กันในหัวข้อต่อไป ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สมเดจ็ พระเจา้ พ่นี างเธอ เจ้าฟา้ กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร”์ (ชั่วโมงที่ 2) 6. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำกิจกรรม “รักษาวัฒนธรรม รักษาชาติ” (กลุ่มเดิม) ตามหัวข้อที่ได้รับ มอบหมาย (ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ทำลงในกะดาษที่ผู้สอนแจกให้) ดังนี้ (ทักษะการคิดวิเคราะห์) (ทักษะ กระบวนการกลุ่ม) (Obj1.และ Obj3.) 6.1 กลุม่ ที่ 1 ศึกษาบทบาทในการส่งเสรมิ การสร้างสรรคว์ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทยของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภมู ิพลอดุลยเดช 6.2 กลมุ่ ที่ 2 ศึกษาบทบาทในการสง่ เสริมการสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทยของสมเด็จ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ 6.3 กลมุ่ ท่ี 3 ศึกษาบทบาทในการสง่ เสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยของสมเด็จ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี 6.4 กลมุ่ ที่ 4 ศึกษาบทบาทในการสง่ เสรมิ การสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทยของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 6.5 กล่มุ ที่ 5 ศกึ ษาบทบาทในการส่งเสรมิ การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทยของสมเด็จ พระเจา้ พีน่ างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์

7. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาบทบาทของบุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย จากหนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคมชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 ตามประเด็นทีผ่ สู้ อนกำหนดดังน้ี 7.1 บทบาทในการส่งเสรมิ การสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทยโดยสงั เขป 7.2 แนวทางการปฏบิ ัติตนตามแบบอย่างของบุคคลทสี่ ง่ เสริมวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย (Obj3.) 8. ผู้เรียนนำผลการศึกษา โดยผู้สอนทำหน้าที่ในการอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้เนือ้ หามีความสมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น (ทกั ษะการอธิบาย) 9. ผู้สอนอธิบายเกี่ยวกับบุคคลที่ส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยโดยสรุปจากการนำเสนอ power point เรอ่ื ง ปจั จัยและบคุ คลทีส่ ่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยท่ีมีผลต่อสังคมไทย ปัจจุบนั 10. ผู้สอนแจกใบงานที่ 3.4 เรื่อง บุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผล ต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยให้ผู้เรียนเลือกศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับบทบาทของ บุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทยที่มีผลต่อสังคมไทยในปัจจุบันมา 1 บคุ คล พร้อมติดภาพประกอบ แลว้ นำมาส่งใน คาบเรยี นถดั ไป กจิ กรรมรวบยอด 1. ผู้สอนผูเ้ รียนเพือ่ ตอบคำถามดังต่อไปน้ี 1.1 ปัจจยั ท่สี ง่ เสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยทมี่ ผี ลต่อสังคมไทยปัจจุบันมีอะไรบ้าง จงอธบิ าย พร้อมยกตวั อย่างประกอบ (พิจารณาตามคำตอบของผู้เรยี น) (ทักษะการอธิบาย) (Obj2.) 1.2 จงยกตัวอย่างบุคคลที่มีบทบาทส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผลต่อ สงั คมไทยปจั จบุ นั (พจิ ารณาตามคำตอบของผูเ้ รียน) (ทกั ษะการอธิบาย) (Obj1.) 1.3 การศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยและบุคคลที่ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผลต่อ สังคมไทยปจั จบุ ันมีความสำคัญอย่างไร (การศกึ ษาปจั จัยและบุคคลทสี่ ่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ย่อมสง่ ผลให้ตระหนักถึงคุณค่าของวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญา ซง่ึ นำไปส่กู ารอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาให้ คงอย่เู ปน็ มรดกของชาติสืบตอ่ ไป) (gen.) (ทกั ษะการอธบิ ายและทักษะการคดิ วเิ คราะห์) 8. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1. ภาพสนิ ค้า OTOP 2. power point เรื่อง บุคคลที่ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่มีผลต่อสังคมไทย ปจั จุบนั 3. ใบงานที่เรอื่ ง บคุ คลทสี่ ่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยที่มผี ลต่อสังคมไทยปจั จุบัน 4. หนงั สือเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6

9. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีการ เคร่ืองมือ ผูป้ ระเมนิ การวัดและประเมินผล ผู้สอน - กจิ กรรมกลุ่ม - แบบสังเกต ขอบเขตการวัด - การตรวจใบงาน พฤติกรรม ผสู้ อน 1. ความรู้ (K) เร่อื ง ปัจจยั และบุคคล - ใบงาน เรือ่ ง ปจั จัย ผูส้ อน 1.1 ปจั จัยท่สี ง่ เสริมการสรา้ ง ท่ีส่งเสรมิ การ และบคุ คลทสี่ ง่ เสริม วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทยท่ีมผี ลตอ่ สรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม การสร้างสรรค์ สงั คมไทยปัจจบุ นั และภมู ิปัญญาไทยท่มี ี วฒั นธรรมและภมู ิ 1.2 บุคคลทสี่ ่งเสรมิ การสร้าง ผลต่อสงั คมไทย ปญั ญาไทยทม่ี ผี ลต่อ วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทยที่มีผลต่อ ปจั จบุ นั สังคมไทยปัจจุบัน สงั คมไทยปัจจุบนั - การตอบคำถาม - คำถาม 2. สมรรถนะของผู้เรียน (P) - การสงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต 2.1 ความสามารถในการส่ือสาร พฤติกรรม 2.2 ความสามารถในการคิด - การสังเกตพฤตกิ รรม 2.3 ความสามารถในใช้ทกั ษะชวี ติ - แบบสังเกต 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) พฤติกรรม 3.1 มีวนิ ัย 3.2 ใฝเ่ รียนรู้ 3.3 มุ่งม่นั ในการทำงาน

เกณฑก์ ารประเมินความรู้ (K) รายการท่ีประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 น้ำหนกั รวม 32 คะแนน (10 คะแนน) 0.5 1. การยกตวั อย่าง - สามารถยกตัวอยา่ ง - สามารถยกตวั อย่าง - สามารถยกตวั อย่าง - ไม่สามารถ 1 ผลงานของบคุ คลที่ ผลงานของบคุ คลท่ี ผลงานของบุคคลที่ ผลงานของบุคคลที่ ยกตัวอย่างผลงาน สง่ เสรมิ การ สง่ เสริมการ ส่งเสรมิ การ ส่งเสริมการ ของบคุ คลที่ส่งเสรมิ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรม สรา้ งสรรค์วัฒนธรรม สร้างสรรคว์ ัฒนธรรม การสรา้ งสรรค์ วัฒนธรรมและภมู ิ และภมู ปิ ัญญาไทยได้ และภมู ปิ ัญญาไทยได้ และภมู ิปญั ญาไทยได้ วฒั นธรรมและภมู ิ ปญั ญาไทยได้ ถูกต้อง สมบรู ณ์ ถูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ ถกู ต้องเป็นสว่ นน้อย ปญั ญาไทยไดถ้ ูกต้อง ครบถว้ น 2. การวเิ คราะห์ - สามารถวิเคราะห์ - สามารถวิเคราะห์ - สามารถวิเคราะห์ - ไม่สามารถ ปจั จยั ท่สี ง่ เสริม ปัจจยั ที่สง่ เสรมิ การ ปัจจัยทสี่ ง่ เสริมการ ปจั จัยท่ีสง่ เสรมิ การ วิเคราะหป์ จั จัยท่ี การสร้างสรรค์ สร้างสรรค์วฒั นธรรม สร้างสรรคว์ ัฒนธรรม สรา้ งสรรค์วฒั นธรรม สง่ เสรมิ การ วัฒนธรรมและภมู ิ และภูมิปญั ญาไทยท่ี และภูมปิ ญั ญาไทยที่ และภมู ปิ ัญญาไทยที่ สร้างสรรคว์ ัฒนธรรม ปญั ญาไทยที่มผี ล มผี ลตอ่ สงั คมไทยได้ มผี ลต่อสังคมไทยได้ มผี ลต่อสงั คมไทยได้ และภูมปิ ัญญาไทยที่ ตอ่ สงั คมไทยได้ ถูกตอ้ ง ครบถ้วน ถูกตอ้ ง เป็นส่วน ถูกตอ้ ง เปน็ ส่วนนอ้ ย มีผลต่อสังคมไทยได้ ใหญ่ ถกู ต้อง 3. การนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - ไมส่ ามารถนำเสนอ แนวทางการปฏิบัติ แนวทางการปฏิบตั ิ แนวทางการปฏบิ ตั ิ แนวทางการปฏิบัติ แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตนตามแบบอย่าง ตนตามแบบอยา่ ง ตนตามแบบอย่าง ตนตามแบบอยา่ ง ตนตามแบบอยา่ ง ของบคุ คลที่ ของบคุ คลทีส่ ่งเสรมิ ของบคุ คลทสี่ ง่ เสริม ของบุคคลทส่ี ่งเสริม ของบุคคลที่ส่งเสรมิ สง่ เสริมวัฒนธรรม วัฒนธรรมและภมู ิ วฒั นธรรมและภมู ิ วฒั นธรรมและภูมิ วัฒนธรรมและภมู ิ และภูมิปญั ญาไทย ปัญญาไทยไดอ้ ย่าง ปญั ญาไทยได้อย่าง ปัญญาไทยไดอ้ ยา่ ง ปญั ญาไทยได้อย่าง ได้ เหมาะสม ครบถว้ น เหมาะสม ครบถ้วน เหมาะสม ครบถว้ น เหมาะสม ครบถว้ น สมบูรณ์ สมบูรณไ์ ด้เปน็ ส่วน สมบรู ณ์เปน็ สว่ น สมบูรณ์ ใหญ่ นอ้ ย รวม เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพการประเมนิ ความรู้ (K) 9 – 10 คะแนน หมายถงึ ดมี าก ดี 7 – 8 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ควรปรับปรงุ 5 – 6 คะแนน หมายถงึ ต่ำกว่า 5 คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น : ระดบั พอใช้ข้นึ ไป

เกณฑก์ ารประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (P) รายการทีป่ ระเมนิ ระดบั คะแนน น้ำหนกั รวม (12) 1. ความสามารถในการ 4 3 2 1 คะแนน สอ่ื สาร 1.1 ทักษะการพูด - ตอบคำถามดว้ ย - ตอบคำถามด้วย - ตอบคำถามด้วย - ไมส่ ามารถตอบ 1 นำ้ เสยี งทดี่ งั ฟงั น้ำเสยี งท่ีดัง ฟัง น้ำเสียงทีเ่ บา คำถามได้/ไม่ ชัดเจนทุกคำถาม ชดั เจนเป็น สามารถสอื่ สารได้ ส่วนมาก 2. ความสามารถในการคดิ - สามารถตอบ - สามารถตอบ - สามารถตอบ - ไม่สามารถตอบ 1 2.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ คำถามได้ คำถามให้เปน็ เหตุ คำถามได้ คำถามได้ สมเหตุสมผลเป็น เปน็ ผลกันได้ สว่ นนอ้ ย สมเหตสุ มผล สมเหตสุ มผลเปน็ ครบถ้วน สมบูรณ์ สว่ นมาก 3. ความสามารถในการใช้ - ให้ความร่วมมอื - ให้ความรว่ มมือ - ใหค้ วามร่วมมือ - ไม่ให้ความ 1 ทกั ษะชวี ติ ในการทำงานกลมุ่ ในการทำงานกลุ่ม ในการทำงานกล่มุ ร่วมมอื ในการ 3.1 กระบวนการทำงาน เปน็ อย่างดี เปน็ สว่ นมาก เปน็ ส่วนน้อย ทำงานกลุ่ม กลุ่ม รวม เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (P) 11 – 12 คะแนน หมายถงึ ดมี าก 9 – 10 คะแนน หมายถึง ดี 7 – 8 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 8 คะแนน หมายถึง ควรปรบั ปรุง เกณฑ์การผา่ น : ระดับพอใช้ขน้ึ ไป

10. บันทึกหลังการจดั การเรยี นการสอน ผลการสอน ด้านความรู้ ………………………….………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ด้านทกั ษะ /กระบวนการ…………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ด้านคุณลกั ษณะ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ปญั หาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................. ........................................ แนวทางการแกไ้ ข ............................................................................................................................. ........................................ .......................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ........................................ ลงชอื่ .............................................. ผู้สอน (นายธีรเจษ ศรมณี) ความคิดเห็นเพ่มิ เตมิ ............................................................................................................................. ........................................ .......................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ........................................ ลงชือ่ ....................................หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ (นายอนวุ ัตร อูอ่ รุณ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook