หลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) และแผนการจดั การเรยี นรู้ “การป้องกนั การทจุ ริต” หลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ โรงเรียนบ้านบวั ถนน สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก ประกาศโรงเรยี นบ้านบัวถนน เร่อื ง ให้ใช้หลกั สตู รต้านทจุ ริตศึกษา Anti-Corruption Education ในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ----------------------------------------------------------- ยุทธศาสตรช์ าติวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๑ “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจรติ ” ได้มุ่งเน้นให้ความสำคญั ในกระบวนการปรับสภาพ สังคมให้เกิดภาวะท่ี “ไมท่ นต่อการทจุ รติ ” โดยเร่มิ ตง้ั แต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมในทกุ ระดบั ชว่ ง วยั ตั้งแต่ปฐมวยั เพ่ือสรา้ งวัฒนธรรมตอ่ ต้านการทุจริต และปลกู ฝงั ความพอเพียง มวี ินยั ซ่ือสัตย์สจุ รติ ยดึ ประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน เปน็ การดำเนินการผ่านสถาบนั หรอื กลุม่ ตัวแทนที่ทำหน้าท่ี ในการกล่อมเกลาสงั คมใหม้ คี วามเป็นพลเมืองทด่ี ี มีจิตสาธารณะ เสยี สละเพอ่ื สว่ นรวมและเสรมิ สร้างให้ ทกุ ภาคสว่ นมีพฤตกิ รรมท่ีไมย่ อมรับและต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มี คำส่งั ที่ ๖๔๖/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ แต่งต้ังคณะอนกุ รรมการจดั ทำหลกั สูตร หรอื ชุดการ เรยี นรูแ้ ละสอื่ ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ ริต เพือ่ ดำเนนิ การจดั ทำหลักสูตรหรือชุดการ เรียนรแู้ ละส่อื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การทุจริต นำไปใช้ในการเรยี นการสอนให้กับนกั เรียน นักศกึ ษาในทุกระดับชนั้ เรยี นท้งั ในสว่ นของการศึกษาต้งั แต่ระดบั ปฐมวยั อนบุ าล ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และอดุ มศึกษา ทงั้ ภาครัฐและเอกชน รวมท้ังอาชวี ศึกษาและการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย นอกจากนี้ ยังรวมถึงสถาบันการศึกษาอน่ื ท่ีเกีย่ วข้อง เพ่ือให้ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายทีเ่ ก่ียวข้องกับการศกึ ษาท้ังระบบ รวมท้งั บคุ ลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ รวมท้ังภาค ประชาชน เพอื่ เป็นการปลูกฝังจติ สานกึ ในการแยกแยะประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม จติ พอเพียงต้านทุจรติ และสร้างพฤติกรรมที่ไม่ยอมรบั และไม่ทนต่อการทุจรติ โรงเรียนบ้านบัวถนน จงึ ไดจ้ ัดทำหลกั สูตรหลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา Anti-Corruption Education ในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ขน้ึ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและคณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พื้นฐานโรงเรยี นได้ตรวจสอบผ้เู รยี นสามารถนำไปใชใ้ นการดำรงชีวิตประจำวันอยา่ งมี คณุ คา่ ต่อสงั คม จงึ เห็นสมควรแล้ววา่ มีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับนโยบายขา้ งตน้ จงึ อนุญาตให้ใช้ หลักสูตรได้
ข ทั้งนห้ี ลักสตู รโรงเรยี นไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เม่ือวนั ท่ี ๑ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๖ จงึ ประกาศให้ใชใ้ ชห้ ลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา Anti-Corruption Education ในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ตั้งแตบ่ ัดน้ีเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ลงช่อื ........................................ ลงช่อื .............................. (นายพิน สุบนิ รมั ย)์ (นายจรญั วารินทร์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบวั ถนน
ค คำนำ ยทุ ธศาสตร์ชาติว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้กำหนดยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ สร้างสังคมที่ไม่ทนตอ่ การทุจริต อนั มกี ลยุทธว์ า่ ด้วยเรื่องของการปรับฐาน ความคดิ ทุกชว่ งวยั ตง้ั แต่ปฐมวยั ให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ส่งเสรมิ ให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมเพื่อต้านทจุ รติ ประยกุ ต์หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นเคร่ืองมือตา้ นทุจรติ เสริมพลงั การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน (Community) และบูรณา การทุกภาคสว่ นเพ่อื ต่อตา้ นการทุจรติ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จงึ ไดม้ คี ำสงั่ แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการจดั ทำหลกั สตู รหรือชุดการเรยี นรู้และส่ือ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกนั การทุจรติ ขนึ้ เพ่ือศึกษา วเิ คราะห์ และรวบรวมขอ้ มลู กำหนด แนวทางและขอบเขตในการจัดทำหลักสตู ร ยกรา่ งและจัดทำเน้ือหาหลักสตู รหรือชุดการเรียนรู้และส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ เพ่ิมเติม กำหนดแผนหรือแนวทางการนำหลักสตู รไปใช้ใน หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง และดำเนินการอืน่ ๆ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย คณะอนกุ รรมการจดั ทำหลักสูตรหรอื ชุดการเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การทุจริตได้รว่ มกนั สร้างหลกั สตู รต้านทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) ประกอบดว้ ย ๕ หลักสูตร ดงั นี้ ๑. หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ) ๒. หลกั สตู ร อุดมศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรบั ราชการ กลุ่มทหารและตำรวจ ๔. หลกั สูตรสร้างวิทยากรผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงสูส่ ังคมท่ีไมท่ นต่อการทุจริต และ ๕. หลกั สตู รโคช้ เพือ่ การรคู้ ิดตา้ นทจุ รติ หลกั สตู รดงั กล่าวได้ผา่ นกระบวนการนำไปทดลองใช้ เพอื่ ปรบั ปรุงให้ มีประสิทธิภาพ สำหรบั การใช้ในกล่มุ เปา้ หมายตอ่ ไป นอกจากนี้ คณะอนุกรรมการจัดทำหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรแู้ ละสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริตยงั ได้คัดเลอื กสื่อการเรียนรู้ จากแหลง่ ต่างๆ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ เพอ่ื ประกอบการเรยี นการสอนต่อไป โรงเรียนบ้านบวั ถนน จงึ จดั ทำหลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) เพ่อื สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจและทักษะใหแ้ กผ่ เู้ รยี นในเร่อื งการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต และ พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อสงั คม เพอื่ รว่ มกนั ป้องกนั หรือต่อต้านการทุจริต มิให้มีการทจุ ริตเกิดขึน้ ใน สงั คมไทย ร่วมสร้างสังคมไทยท่ไี ม่ทนตอ่ การทจุ ริตต่อไป โรงเรยี นบา้ นบวั ถนน
ง สารบัญ หน้า ประกาศโรงเรยี น……………………………………………………………………………………..........................................ก คำนำ………………………………………………………………………………………………………........................................ข สารบญั ............................................................................................................................. ...........................ค หลักสตู รต้านทุจรติ ศึกษา……….........................…………………………………………………………………...........…..๑ รายละเอยี ดของหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา……….........................……………………………………………..............๒ หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน..……………………………………………..........................…………………..................๓ ชอ่ื หลกั สตู ร..................……………………………………………………………………………….........................…….......๓ จุดมุง่ หมายของรายวชิ า……………………………………………………………………………………...............................๓ คำอธบิ ายรายวิชา…………………………………………………………………………………………………..........................๔ ผลการเรียนรู้………………………………………………………………………………………………………...........................๔ โครงสรา้ งรายวิชา…………………………………………………………………………………….…………….........................๔ กิจกรรมการเรยี นรู้…………………………………………………………………………………………………........................๖ สอ่ื การเรียนรูแ้ ละแหลง่ เรียนรู้…………………………………………………………………………………........................๗ การวดั และประเมินผล……………………………………………………………………………………………........................๗ ตารางช่ัวโมงการจัดการเรียนการสอน………………………………………………………………….......................……๗ แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑……………………………………………………………………………………………........................…..๙ หนว่ ยที่ ๑-๕……………………………………………………………………………................๑๐-๔๗ หนว่ ยท่ี ๒………………………………………………………………………………………………......................๔๘ หนว่ ยท่ี ๑-๖……………………………………………………………………………...............…๔๙-๘๗ หนว่ ยที่ ๓…………………………………………………………………………………………….…......................๘๘ หน่วยท่ี ๑-๖……………………………………………………………………………….............๘๙-๑๒๘ หน่วยท่ี ๔…………………………………………………………………………………………….…....................๑๒๙ หน่วยที่ ๑-๔…………………………..............…………………………………………….....๑๓๐-๑๕๐ ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………….…..................................๑๕๑ เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………………………….…...........................๑๕๒ คำสั่งโรงเรียน…………………………………………………………………………………………….…............................๑๕๓
15 หลกั สตู รต้านทุจริตศกึ ษา (Anti-Corruption Education) ยทุ ธศาสตร์ชาติว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ “สรา้ งสงั คมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ ” ได้มุ่งเนน้ ให้ความสำคัญในกระบวนการ ปรับสภาพสังคมให้เกิดภาวะท่ี “ไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ” โดยเร่ิมตั้งแตก่ ระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คม ในทุกระดับชว่ งวยั ตง้ั แตป่ ฐมวัย เพ่อื สรา้ งวฒั นธรรมตอ่ ตา้ นการทุจรติ และปลูกฝังความพอเพียง มี วินยั ซื่อสตั ย์สจุ รติ ยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เป็นการดำเนินการผา่ นสถาบนั หรอื กลุ่มตัวแทนทที่ ำหน้าที่ในการกล่อมเกลาสงั คมให้มคี วามเป็นพลเมืองท่ีดี มจี ิตสาธารณะ เสียสละ เพอื่ สว่ นรวมและเสริมสรา้ งให้ทกุ ภาคสว่ นมีพฤตกิ รรมที่ไมย่ อมรับและตอ่ ต้านการทุจรติ ในทุกรปู แบบ และได้กำหนดกลยุทธ์ ๔ กลยุทธ์ กลา่ วคอื กลยทุ ธ์ท่ี ๑ ปรับฐานความคิดทุกชว่ งวัย ตัง้ แต่ปฐมวัยให้ สามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม กลยุทธท์ ี่ ๒ ส่งเสรมิ ใหม้ รี ะบบ และกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพ่ือต้านทุจรติ กลยุทธท์ ี่ ๓ ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นเคร่ืองมือต้านทุจริต และกลยุทธ์ที่ ๔ เสรมิ พลังการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน (Community)และบูรณาการทกุ ภาคส่วนเพื่อต่อตา้ นการทุจริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. จงึ ได้มคี าสั่งท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจดั ทำหลักสูตร หรือชดุ การเรียนรู้และสื่อประกอบการเรยี นรู้ ด้านการป้องกนั การ ทุจริตซึง่ ประกอบด้วยผทู้ รงคุณวุฒหิ รอื ผ้เู ชยี่ วชาญจากหน่วยงานดา้ นการศึกษา และหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องในการจดั ทำหลักสูตรการเรยี นการสอน จากทง้ั ภายในและภายนอกหนว่ ยงาน รวมท้ัง ผูท้ รงคุณวฒุ จิ ากองค์กรภาคเอกชนเพ่ือดำเนินการจดั ทำหลกั สูตรหรือชุดการเรยี นรู้และส่ือ ประกอบการเรยี นรู้ ด้านการปอ้ งกันการทุจรติ นำไปใชใ้ นการเรยี นการสอนให้กับนักเรียน นกั ศกึ ษา ในทกุ ระดบั ชั้นเรยี นทัง้ ในส่วนของการศึกษาตงั้ แต่ระดบั ปฐมวัยอนบุ าล ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา และอดุ มศึกษา ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ อาชีวศึกษาและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย นอกจากน้ี ยงั รวมถึงสถาบนั การศึกษาอ่ืนทเี่ กีย่ วขอ้ ง เช่น สถาบนั การศึกษาในสังกดั สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ สถาบนั การศึกษาทางทหาร เปน็ ต้น เพือ่ ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายท่ี เกย่ี วข้องกับการศกึ ษาทัง้ ระบบ รวมทง้ั บคุ ลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกจิ รวมทัง้ ภาคประชาชน เพื่อ เปน็ การปลกู ฝังจิตสานึกในการแยกแยะประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชนส์ ว่ นรวมจติ พอเพียงต้านทจุ รติ และสร้างพฤติกรรมทีไ่ ม่ยอมรับและไม่ทนต่อการทุจรติ เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริต โดยเร่ิมปลูกฝังนักเรียนตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงจัดทำรายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต” ให้สถานศึกษาทุกแห่งนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือปลูกฝังและสร้างวัฒนธรรมต่อต้า น การทุจริตให้แก่นักเรียนสร้างความตระหนักให้นักเรียน ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ สว่ นตน มจี ติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ ละอายและเกรงกลวั ทีจ่ ะไมท่ จุ รติ และไม่ทนตอ่ การทุจริตทุกรูปแบบ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ในฐานะองค์กรรบั ผิดชอบการจัดการศึกษา ใหแ้ กน่ ักเรียน ตั้งแต่ระดบั ปฐมวยั จนถึงชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ จึงได้จัดทำรายวชิ าเพ่ิมเติม “การ ปอ้ งกันการทุจรติ ”ประกอบด้วย เน้ือหา ๔ หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ ๑) การคดิ แยกแยะระหวา่ ง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๓) STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต และ ๔) พลเมืองและ ความรับผดิ ชอบต่อสังคม ซ่ึงท้งั ๔ หนว่ ยนี้ จะจดั ทำเป็นแผนการจดั การเรียนรู้ ต้งั แตช่ ั้นปฐมวัย จนถงึ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งนำไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน เพอ่ื ปลูกฝังและป้องกนั การ ทุจริต
16 ให้แกน่ กั เรียนทุกระดบั ทงั้ น้ี เป็นการสร้างพลเมอื งท่ซี อ่ื สัตย์สุจรติ ให้แกป่ ระเทศชาติ ปัญหา คอรบั ชันลดลง และดัชนีภาพลกั ษณ์คอรับชันของประเทศไทย มคี ่าคะแนนสงู ขึ้น บรรลุตาม เปา้ ประสงค์ของยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าดว้ ย การป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) โรงเรยี นบ้านบวั ถนน หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่าหลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษา : Anti-Corruption Education จะสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะให้แกผ่ ู้เรียนในเร่ืองการคดิ แยกแยะระหวา่ ง ผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต และพลเมือง กับความรบั ผิดชอบต่อสังคม เพ่ือร่วมกันป้องกนั หรือต่อต้านการ ทจุ รติ มิใหม้ กี ารทจุ ริตเกิดขน้ึ ในสังคมไทย ร่วมสร้างสังคมไทยท่ีไมท่ นตอ่ การทุจริตต่อไป รายละเอยี ดของหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา (Anti-Corruption Education) กรอบการจดั ทำหลกั สตู รหรือชดุ การเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริต โดยท่ีประชมุ ไดเ้ หน็ ชอบรว่ มกันในการจัดทำหลักสตู รหรือชดุ การเรยี นรู้และสอ่ื ประกอบการ เรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต หัวข้อวชิ า 4 วิชา ประกอบดว้ ย 1) การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม 2) ความอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ 3) STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ 4) พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เน้ือหาหลกั สตู รหรือชดุ การเรียนรู้ ดา้ นการป้องกันการทจุ ริต โดยไดแ้ บ่งกลมุ่ ตามการเรยี น การสอนในแตล่ ะชว่ งช้ัน และการฝึกอบรมในแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย เป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม 1 หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (ระดบั ปฐมวัย และป.1-ม.6) มีชื่อหลักสตู รวา่ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกนั การทจุ ริต กลมุ่ 2 หลักสูตรอุดมศึกษา มีชือ่ หลักสูตร “วยั ใส ใจสะอาด “Youngster with good heart” กลุม่ 3 หลักสูตรกลุ่มทหารและตำรวจ มีชือ่ หลักสตู ร “หลกั สูตรตามแนวทางรับราชการ กลมุ่ ทหารและตำรวจ” กล่มุ 4 หลกั สตู รวิทยากร มชี ่ือหลักสูตร “สรา้ งวิทยากรผนู้ ำการเปล่ียนแปลงสสู่ ังคมที่ไม่ทน ต่อการทุจริต” กลมุ่ 5 หลกั สตู รโคช้ มชี ือ่ หลักสตู ร “โคช้ เพื่อการรู้คิดต้านทจุ ริต” หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ดำเนนิ การจัดทำเปน็ แผนการจดั การเรียนรโู้ ดยแยกเป็น 13 ระดับชนั้ ปี ได้แก่ ระดบั ปฐมวัย ระดับประถมศึกษาชนั้ ปีที่ 1 - 6 และระดบั มธั ยมศกึ ษาช้ันปที ี่ 1 - 6 ในแตล่ ะระดบั ชนั้ ปี จะใช้เวลาเรียนทัง้ ปี จำนวน 40 ช่ัวโมง ต้องจัดทำเน้ือหาและกจิ กรรมการเรียน การสอนใหแ้ ตกตา่ งกัน ตามความเหมาะสมและการเรยี นรใู้ นแต่ละชว่ งวยั หลักสตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน ๑. ช่อื หลักสูตร “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทุจรติ ” ตามที่สำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ รว่ มกบั สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน และหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ดำเนนิ การจดั ทำหลักสตู รหรอื ชุดการ เรียนร้แู ละสือ่ ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกันการทจุ ริต สำหรับใช้เปน็ เน้ือหามาตรฐานกลางให้ สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานที่เกีย่ วข้องนำไปใชใ้ นการเรยี นการสอนให้กบั กลุม่ เป้าหมาย
17 ครอบคลุมทุกระดบั ช้นั เรียน เพ่อื ปลูกฝงั จติ สำนกึ ในการแยกประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ สว่ นรวม จติ พอเพียง การไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการทุจริต โดยใชช้ อ่ื ว่าหลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) หลกั สูตรท่ี ๑ หลกั สูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน โดยมแี นวทางการ นำไปใชต้ ามความเหมาะสมของแตล่ ะโรงเรียน ดังน้ี ๑.นำไปจดั เปน็ รายวชิ าเพิ่มเติมของโรงเรยี น ๒.นำไปจดั ในช่ัวโมงลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้ ๓.นำไปบรู ณาการกับการจัดการเรียนการสอนในกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระหน้าที่พลเมือง) หรอื นำไปบรู ณาการกบั กล่มุ สาระการเรยี นรู้อ่นื ๆ ๒. จุดมุง่ หมายของรายวชิ า เพ่อื ใหน้ กั เรยี น ๒.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒.๒ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๒.๓ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ๒.๔ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๒.๕ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๒.๖ ปฏิบัตติ นเป็นผลู้ ะอายและไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ทุกรปู แบบ ๒.๗ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจริต ๒.๘ ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ทีพ่ ลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๓. คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความ ละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจริต รหู้ น้าที่ของพลเมือง และรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทำโครงงาน กระบวนการเรียนรู้ ๕ ข้นั ตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปญั หา ทกั ษะการอ่าน และการเขยี น เพื่อให้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อต้านและการป้องกันการทุจรติ ๔.ผลการเรยี นรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต ๔. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๕. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทจุ รติ ทุกรูปแบบ ๗. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผทู้ ่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจรติ ๘. ปฏิบตั ติ นตามหน้าทพี่ ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเห็นความสำคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
18 ๕ ระดบั ประถมศกึ ษา ๔ โครงสรา้ งรายวชิ า ระดับประถมศึกษาชนั้ ปีที่ 4 ลำดบั หน่วยการเรียนรู้ เร่ือง รวมชั่วโมง ๑๔ ๑ การคิดแยกแยะระหว่าง - การคดิ แยกแยะ 10 ผลประโยชน์ สว่ นตนและ - ระบบคิดฐาน 2 ผลประโยชน์สว่ นรวม - ระบบคดิ ฐาน 10 - ความแตกตา่ งระหว่างจรยิ ธรรม และ การทจุ ริต - ประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ สว่ นรวม ๒ ความละอายและความไม่ - การทำการบา้ น ทนต่อการ ทุจริต - การทำเวร - การสอบ - การแตง่ กาย - กิจกรรมนักเรียน (ภายใน รร.) - การเขา้ แถว ลำดับ หนว่ ยการเรียนรู้ เรื่อง รวมชวั่ โมง ๓ STRONG / จติ พอเพยี ง - การด ารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญา 6 ต่อตา้ นการ ทุจริ ของ เศรษฐกิจพอเพียง - ความโปรง่ ใส - ความต่นื รูร้ ู้ / ความรู้ - ต้านทุจรติ - มุ่งไปข้างหน้า - ความเอือ้ อาทร ๔ ๔. พลเมอื งกับความ - เร่ืองการเคารพสทิ ธิหน้าที่ต่อ 10 รบั ผดิ ชอบต่อสังคม ตนเอง และผู้อืน่ ที่มตี อ่ ครอบครัว ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรับผดิ ชอบ (ตอ่ ชุมชน - ความเปน็ พลเมือง รวม ๔๐
19 หนว่ ยท่ี ๑ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ สว่ นตน และผลประโยชนส์ ว่ นรวม
20 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เร่ือง การคดิ แยกแยะ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เวลา ๓ ชวั่ โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของผลประโยชนส์ ว่ นตนได้ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๒.๓ นักเรียนสามารถคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ประโยชน์สว่ นตน หมายถงึ การทบี่ ุคคลทว่ั ไปในสถานะเอกชนหรือเจ้าหน้าที่ ของรฐั ไดท้ า กจิ กรรมหรือได้กระทำการต่าง ๆ เพ่อื ประโยชนส์ ว่ นตน ครอบครัว ญาติ เพื่อน หรอื ของกลมุ่ ใน สงั คมท่มี ีความสัมพนั ธก์ ันในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การประกอบอาชพี การทาธุรกิจ การค้า การลงทนุ เพื่อหาประโยชน์ในทางการเงินหรอื ในทางทรพั ย์สนิ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ประโยชนส์ ่วนรวม หมายถงึ การท่ีบุคคลใด ในสถานะท่ีเป็นเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ (ผดู้ ำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวสิ าหกิจ หรอื เจ้าหน้าที่ของรฐั ในหน่วยงานของรัฐ) ได้กระทำ การใด ตามหนา้ ที่ หรอื ได้ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่อี ่ืนเปน็ การดำเนนิ การ อีกส่วนหนึง่ ท่แี ยกออกมาจากการดา เนนิ การตามหนา้ ทีใ่ นสถานะของเอกชน การกระทำการใด ตามหน้าทหี่ รือการปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง เจ้าหน้าที่ของรฐั จึงมวี ตั ถปุ ระสงค์หรือมเี ป้าหมายเพอ่ื ประโยชน์ ของสว่ นรวม หรอื การรักษา ประโยชน์ สวนรวมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ของรฐั การทำหน้าท่ีของเจ้าหนาที่ของรฐั จึงมีความเกี่ยวขอ้ ง เชอ่ื มโยงกับอำนาจหน้าทต่ี ามกฎหมายและจะมีรูปแบบของความสมั พนั ธ์หรือมกี ารกระทำในลักษณะ ต่าง ๆ กันทเี่ หมือนหรือคลา้ ยกบั การกระทำของบคุ คลในสถานะเอกชน เพยี งแต่การกระทำในสถานะ ท่เี ปน็ เจา้ หน้าทข่ี องรฐั กับการกระทาในสถานะเอกชน จะมีความแตกตา่ ง ๆ กนั ทว่ี ตั ถุประสงค์ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) ๑) ความสามารถในการเขียน ๒) ความสามารถในวิเคราะห์แยกแยะ ๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) ใฝเ่ รยี นรู้ ๒) ม่งุ ม่ันในการทางาน ๓) ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต ๔) มีวนิ ัย ๔. กิจกรรมในการเรียนรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้
21 ๑) ชั่วโมงท่ี ๑ ๑. ครูถามนักเรียนวา่ อะไรบา้ งทเ่ี ปน็ ของสว่ นตัว แลว้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั บอก ๒. ครถู ามนกั เรยี นวา่ อะไรบ้างทเี่ ปน็ ของส่วนรวม แล้วให้นักเรียนชว่ ยกันบอก ๓. ครอู ธิบายสง่ิ ของที่เป็นของส่วนรวม นกั เรยี นไม่ควรนามาเปน็ ของสว่ นตวั แต่จำเป็นต้อง ชว่ ยกันดแู ลรกั ษา เพราะของสว่ นรวมนนั้ มปี ระโยชนต์ ่อตวั นักเรยี นและคนอนื่ ดว้ ย และนักเรียนก็ เป็นเจ้าของร่วมกบั คนอน่ื ด้วยเช่นกนั ๔. ครูให้นกั เรยี นชม วีดีทศั น์ เร่ือง นทิ านเปลย่ี นสี ๕. ครูสนทนากับนักเรยี นเกี่ยวกับ วีดที ศั น์ เรื่องนิทานเปล่ยี นสี ถึงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ทีเ่ กิด ขึ้นกับตวั ละครแต่ละตวั แล้วสรปุ ๒) ชว่ั โมงท่ี ๒ ๑. ครถู ามนักเรยี นเก่ียวกับพฤติกรรมใดท่เี ปน็ ผลประโยชน์สวนตน แล้วให้นักเรียนช่วยกนั บอก ๒. ครูถามนกั เรยี นเก่ียวกับพฤติกรรมใดทเี่ ปน็ ผลประโยชน์สวนรวม แล้วใหน้ ักเรยี นช่วยกัน บอก ๓. ครูอธิบายความหมายผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ๔. นักเรียนและครูร่วมกนั สนทนาเกีย่ วกับพฤตกิ รรมใดเป็นผลประโยชน์สว่ นตน กบั พฤติกรรมใดเปน็ ผลประโยชน์สว่ นรวม ๕. นกั เรียนสรปุ ความร้โู ดยการทาใบงานเรอ่ื ง ความหมายประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๖. ครูให้นกั เรียนแบ่งกล่มุ แลว้ แจกบตั รคาผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมให้ แต่ละกลุ่มโดยบัตรคาในแต่ละกลุ่มจะมีสีไมเ่ หมือนกัน ครูแบง่ ครึง่ กระดาน ดา้ นหนงึ่ เปน็ ผลประโยชน์ สว่ นตนอีกดา้ นเป็นผลประโยชนส์ ่วนรวม ครใู ห้เวลาเด็ก ๕ นาทีในการนาบัตรคามาติดให้ถูกต้อง กลุ่มไหนตดิ ไดถ้ ูกต้องมากทสี่ ุดชนะ ๗. เม่อื หมดเวลาใหน้ ับจำนวนคำ และประกาศกลุ่มท่ผี ้ชู นะ ๘. นกั เรยี นสรปุ ความรโู้ ดยการทำแผนผงั ความคิด เรอื่ ง ผลประโยชนส์ ว่ นตน กับ ผลประโยชน์สว่ นรวม และนำไปติดปา้ ยนเิ ทศ ๔.๒ สื่อการเรียนรู้ / แหลง่ เรียนรู้ ๑) บัตรคำ ๒) วดี ที ัศน์ เรอ่ื ง นิทานเปลีย่ นสี ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) สงั เกตการตอบคำถาม ๒) ตรวจผลงาน ๕.๒ เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการประเมิน ๑) แบบสังเกตการตอบคำถาม ๒) แบบประเมนิ ผลงาน ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน ผา่ นการประเมนิ ร้อยละ ๘๐
22 6. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ลงช่อื ........................................ครผู สู้ อน (..................................................) 7. ความคดิ เหน็ ผู้บรหิ าร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... ลงชอ่ื .....................................ผ้บู รหิ าร (นายจรัญ วารนิ ทร์) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นบวั ถนน
23 ใบงาน เรื่อง ความหมายผลประโยชนส์ ่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม ชอ่ื ...................................................................................ช้ัน.......................เลขท.ี่ ................ ประโยชน์ส่วนตนหมายถงึ ................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................ ........................... ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ตัวอยา่ งพฤติกรรมท่เี ปน็ ผลประโยชน์ส่วนตน เชน่ . ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ ........................... ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ประโยชน์สว่ นรวมหมายถงึ . ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................ ............................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ตัวอย่างพฤตกิ รรมท่ีเป็นผลประโยชนส์ ว่ นรวม เชน่ . ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................ ............................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
24 ใบงาน เร่อื ง แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวม ประโยชน์ ส่วนตน . ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................... ................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ประโยชน์ ส่วนรวม . ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................... ................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
25 บัตรคำ ผลประโยชน์ส่วนตน ท้ิงขยะบนพืน้ ติดปา้ ยโฆษณาข้างถนน เดินขายพวงมาลยั บนถนน จอดรถข้างทางบนถนนหลวงเพื่อซ้ือของ กรอกน้ำทโ่ี รงเรยี นไปใชท้ บ่ี า้ น ขับรถย้อนศร แซงคิว ขับมอเตอร์ไซด์บนทางเทา้ ขายของบนทางเท้า ผลประโยชน์ส่วนรวม เขา้ ควิ เบย่ี งรถเข้าข้างทางเพื่อให้ รถพยาบาลไปก่อน ท้งิ ขยะลงถัง ขายสนิ คา้ ในสถานท่ที ี่ ราชการกำหนด นำรถราชการไปใชส้ ว่ นตวั ไม่จอดรถในท่ีห้ามจอด ไมจ่ อดรถซื้อสนิ ค้าข้างทาง
26 แบบสังเกตการตอบคำถาม คำชีแ้ จง ทำเคร่อื งหมาย ลงในช่องระดับคะแนนพฤติกรรมที่นักเรียนปฏบิ ตั ิดงั นี้ ระดับ ๓ หมายถึง แสดงพฤติกรรมใหเ้ ห็นมาก ระดับ ๒ หมายถึง แสดงพฤติกรรมใหเ้ ห็นปานกลาง ระดับ ๑ หมายถึง แสดงพฤติกรรมใหเ้ หน็ น้อย ที่ ช่อื - พฤติกรร สนใจและ ตอบคำถามได้ ตอบคำถาม รวมคะแนน หมาย สกลุ ม/การ ตงั้ ใจฟงั ตรงประเดน็ อย่างสมำ่ เสมอ เหตุ ประเมนิ คำถาม ผล 3 2 1 321321 ผา่ น ไม่ ผา่ น เกณฑ์การประเมนิ คะแนนต้ังแต่ ๔ – ๙ ผา่ น ๘ - ๙ = ดี ๖ - ๗ = ปานกลาง ๔ - ๕ = พอใช้ คะแนนต่ำกว่า ๔ ไมผ่ ่าน
27 แบบประเมินผลงาน เรือ่ ง ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม คำชีแ้ จง ทำเคร่อื งหมาย ลงในช่องระดบั คะแนนพฤติกรรมทน่ี ักเรยี นปฏิบตั ดิ ังนี้ ระดบั ๓ หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เห็นมาก ระดับ ๒ หมายถงึ แสดงพฤติกรรมให้เหน็ ปานกลาง ระดบั ๑ หมายถงึ แสดงพฤติกรรมใหเ้ หน็ น้อย ที่ ชือ่ - หัวขอ้ ความถูกต้อง ความ ความคิด การ หมาย สกลุ ประเมิน 3 21 เรยี บร้อย สรา้ งสรรค์ ประเมินผล เหตุ /ระดับ 321 321 ผา่ น ไม่ ผ่าน เกณฑ์การประเมิน คะแนนต้ังแต่ ๔ – ๙ ผา่ น ๘ - ๙ = ดี ๖ - ๗ = ปานกลาง ๔ - ๕ = พอใช้ คะแนนต่ำกว่า ๔ ไมผ่ า่ น
28 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี ๑ ชอื่ หนว่ ยการคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เร่อื ง ระบบคดิ ฐาน ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถแยกผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๒.๒ นักเรยี นสามารถตระหนักถึงผลประโยชนส์ าธารณะมากอ่ นผลประโยชน์สว่ นตน ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ “การปฏิบัตงิ านแบบใช้ระบบคดิ ฐาน ๒ (Digital)” คือ การทเี่ จ้าหนาที่ของรฐั มีระบบการคิดท่ี สามารถแยกเรอื่ งตำแหนง่ หน้าที่กับเรื่องส่วนบคุ คลออกจากกันไดอ้ ย่างชดั เจนว่าส่งิ ไหนถกู ส่งิ ไหนผิด ส่งิ ไหนทำได้สิ่งไหนทำไมไดส้ ่งิ ไหนคือประโยชนสวนบคุ คลส่ิงไหน คือประโยชนสวนรวม ไม่นามาปะปน กัน ไมน่ ำบุคลากรหรือทรัพย์สนิ ของราชการมาใช้เพื่อ ประโยชนสว่ นบุคคลไม่เบยี ดบังราชการ เหน็ แก่ ประโยชนส์ ่วนรวมหรอื ของหนว่ ยงานเหนือกวา่ ประโยชน์ของส่วนบุคคล เครอื ญาตแิ ละพวกพ้อง ไม่ แสวงหาประโยชนจ์ ากตำแหน่งหนา้ ทีร่ าชการ ไม่รับทรพั ยส์ ินหรือประโยชนอืน่ ใดจากการปฏิบตั ิหน้าที่ กรณเี กดิ การขัดกันระหวา่ ง ประโยชนส่วนบคุ คลและประโยชนส่วนรวม ก็จะยดึ ประโยชน์สวนรวมเปน็ หลัก ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) ๑) ความสามารถในการเขยี น ๒) ความสามารถในวิเคราะหแ์ ยกแยะ สรปุ ๓.๓ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑) ใฝเ่ รียนรู้ ๒) มุ่งม่ันในการทำงาน ๔. กจิ กรรมในการเรียนรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรียนรู้ ๑) ช่วั โมงท่ี ๑ ๑. ครนู าขา่ ว “ขา่ วแกไ้ มจ่ บส่ีแยกกลว้ ยแขกทำรถตดิ ผิดกฎหมาย” เล่าให้นักเรียนฟงั ๒. ครูซกถามนักเรียนว่านักเรียนได้อะไรบา้ งจากการฟงั ข่าว เมื่อนักเรียนชว่ ยกนั ตอบเสรจ็ แลว้ ครูถามนักเรียนวา่ รสู้ กึ อย่างไรต่อข่าว ๓. ให้นักเรียนแบง่ กลุม่ เปน็ ๕ กลุ่ม หรอื ตามความเหมาะสม ช่วยกันระดมสมองในประเด็น ตอ่ ไปน้ี ๓.๑ นกั เรยี นคิดว่าสาเหตุทที่ ำใหเ้ กิดปัญหาน้ีขึ้นคอื อะไร ๓.๒ นักเรยี นคิดว่าตนเองมสี ่วนร่วมหรอื เคยมีส่วนทำให้เกดิ เหตุการณ์ในภาพหรอื ไม่ อยา่ งไร ๓.๓ นักเรียนคิดว่าปัญหาทเี่ กิดขึน้ จะแก้ไขได้อยา่ งไรโดยบนั ทกึ ลงในใบงานที่ ๑ เร่ือง ข่าวแก้ไม่จบสแี่ ยกกลว้ ยแขกทำรถติดผิดกฎหมาย
29 ๔. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น และเปิดโอกาสให้คนอืน่ แสดงความ คดิ เห็นตอ่ ประเดน็ ด้วย ๕. ครเู ชือ่ มโยงข่าวแกไ้ มจ่ บส่ีแยกกล้วยแขกทำรถติดผิดกฎหมาย วา่ คนสว่ นนอ้ ยทเี่ หน็ แก่ ประโยชน์สว่ นตนทาใหเ้ กิดปัญหาอะไรตามมาบ้าง เชน่ รถติด อาจเกิดอบุ ัติเหตุ ๒) ชว่ั โมงที่ ๒ ๑. ครูใหน้ กั เรยี นดกู รณีศกึ ษาที่ ๑ โดยครอู า่ นให้นักเรยี นฟงั จนจบ แลว้ ถามนกั เรยี นใน ประเดน็ ต่อไปน้ี ๑.๑ ถ้านกั เรียนออกไปเล่นกบั เพอื่ นจะเกิดอะไรขน้ึ ๑.๒ ถา้ นกั เรยี นอยากออกไปเลน่ กบั เพ่ือนจะบอกคุณแมว่ ่าอย่างไร ๑.๓ ถา้ นักเรยี นไม่ไปเล่นกบั เพื่อนจะบอกเพื่อนวา่ อย่างไรเพอื่ ไม่ให้เพ่ือนเสียน้าใจ หรอื ไม่มาชวนเราเล่นอหี ก ๒. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสนทนาเรอื่ งกรณีศกึ ษาที่ ๑ ถงึ คาตอบตา่ ง ๆ ๓. นักเรียนสรุปความรู้ลงในใบงานที่ ๒ เร่ือง น่าเชือ่ ถอื ๓) ชว่ั โมงท่ี ๓ ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่อื ง ระบบคิดฐาน ๒ (Digital) ๒. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุป ระบบคิดฐาน ๒ (Digital) ๓. ให้นกั เรยี นยกตวั อย่างหรือพฤติกรรมทคี่ วรปฏบิ ตั แิ ละไม่ควรปฏิบัติ เชน่ เปิดไฟ หอ้ งเรียนทิง้ ไว้ นกั เรยี นคิดวา่ ควรปฏิบตั ิหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ๔. ใหน้ กั เรยี นทำใบงานที่ ๓ เร่ือง ระบบคดิ ฐานสอง (Digital) ๕. นาผลงานนกั เรยี นไปติดป้ายนิเทศ ๔.๒ สือ่ การเรียนรู้ / แหลง่ เรียนรู้ ๑) ข่าวแกไ้ ม่จบส่ีแยกกล้วยแขกทำรถตดิ ผิดกฎหมาย ๒) ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง ขา่ วแก้ไมจ่ บส่ีแยกกล้วยแขกทำรถติดผิดกฎหมาย ๓) ใบงานที่ ๒ เรื่อง น่าเชื่อถือ ๔) ใบงานท่ี ๓ เร่ือง ระบบคิดฐาน ๒ (Digital) ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) สงั เกตตอบคาถาม ๒) ตรวจชน้ิ งาน ๕.๒ เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน ๑) แบบสังเกตตอบคาถาม ๒) แบบประเมนิ ผลงาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน ผา่ นการประเมินร้อยละ ๘๐
30 6. บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ลงช่ือ........................................ครูผูส้ อน (..................................................) 7. ความคิดเหน็ ผูบ้ รหิ าร ............................................................................................................................. .................................... ..................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... ลงช่ือ.....................................ผบู้ รหิ าร (นายจรญั วารนิ ทร์) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นบวั ถนน
31 ใบความรทู้ ่ี ๑ กรณศี ึกษาที่ ๑ นกั เรียนสัญญากับคุณแมว่ า่ ทกุ วนั จะทำการบา้ นใหเ้ สรจ็ กอ่ นจะ ดทู ีวหี รอื ออกไปเล่นกบั เพ่ือน แตว่ นั นนี้ กั เรยี นยงั ทำไมเ่ สรจ็ เพอื่ น มาทบ่ี า้ นหลายคนมาชวนไปเลน่ ที่บ้านเพื่อน และยังบอกว่าถา้ ไม่ไป ตอนนจี้ ะอดเล่น นักเรียนจะทำอย่างไร”
32 ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง ขา่ วแกไ้ มจ่ บสี่แยกกล้วยแขกทำรถตดิ ผิดกฎหมาย กลุม่ ที่............ สมาชกิ กลุ่ม ๑............................................................................................................ ๒............................................................................................................ ๓............................................................................................................ ๔............................................................................................................ ๕............................................................................................................ ๖............................................................................................................ ๗............................................................................................................ ๘............................................................................................................ ๙............................................................................................................ ๑๐........................................................................................................... ๑. นักเรียนคดิ วา่ สาเหตทุ ี่ทาให้เกิดปัญหานีข้ นึ้ คืออะไร ประเดน็ การวิเคราะห์ ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................................................................................. ............. ๒. นกั เรยี นคดิ ว่าปัญหาท่ีเกิดขนึ้ จะแกไ้ ขได้อย่างไร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................ ....................... ๓. นกั เรียนคิดวา่ ตนเองมีส่วนรว่ มหรือเคยมีส่วนทำให้เกิดเหตกุ ารณใ์ นภาพหรอื ไม่อย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... .
33 ใบงานท่ี ๒ เร่ือง น่าเชอ่ื ถือ ชื่อ...............................................................................................ชัน้ ...................... ...เลขท.ี่ ................. กรณศี ึกษาท่ี ๒ เพอื่ นสนิทของนักเรียนมาปรึกษาว่า อา่ นหนงั สือสอบไม่ทันจึงตั้งใจท่จี ะแอบลอกคำตอบตอน ทำข้อสอบ เพ่ือไม่ให้ครูทราบ จึงขอรอ้ งใหเ้ พ่อื นนักเรยี นสัญญาและรักษาสัญญาวา่ จะไมบ่ อกใหค้ รู ทราบ นักเรียนจะทำอย่างไร ๑. หากนกั เรียนให้สญั ญาจะเกดิ อะไรข้ึนบา้ ง ลองคดิ ในหลายๆมุม ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ................................................................................................................ ............ ............................... ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................ ............ ............................... ๒. หากนักเรียนให้สัญญา จะสง่ ผลดีต่อเพ่ือนหรือไม่ ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................................................................................. ............. ..................................................................................................................... .......................................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................................ ........................................... ๓. หากนกั เรียนไม่ให้สญั ญา เพ่อื นของนักเรยี นจะโกรธหรือไม่ นกั เรยี นคดิ ว่าจะมีวิธีพูดกับเพอ่ื น อย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ๔. ถ้านกั เรียนเปน็ เพ่ือนท่ีดี จะมคี ำแนะนำเพ่ือนคนนี้อย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. ..................................
34 ใบงานที่ ๓ เร่อื ง ระบบคิดฐาน ๒ (Digital) ช่อื ..............................................................................................ชนั้ ....................... .เลขท่.ี ................. คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเขียน หนา้ พฤติกรรมการปฏิบัตทิ ่ีเหมาะสม และเขียน หนา้ พฤติกรรมการ ปฏิบัตทิ ไี่ ม่เหมาะสม _______๑.) เด็กชายเกง่ เดนิ ขา้ มถนนตรงทางมา้ ลาย _______๒.) เด็กหญงิ แพร เปิดนำ้ ทิ้งไว้ _______๓.) นายพล จอดรถขวางประตเู ข้าออกบ้านคนอื่น _______๔.) นางวิภา เทขยะลงในแม่น้ำลำคลอง _______๕.) เดก็ ชายกอ้ ง ช่วยเพือ่ นทำความสะอาดหอ้ งเรียน _______๖.) นางพร เด็ดดอกไมส้ วนสาธารณะมาปกั แจกนั ทบี่ ้านตนเอง _______๗.) นายแกว้ ชว่ ยขดุ ลอกคลองในชุมชน _______๘.) เด็กหญิงพลอย ชว่ ยเกบ็ ขยะในห้องเรียน _______๙.) มูลนิธิปอเตก๊ ตึ๊ง ช่วยเกบ็ ศพตามสถานท่ีเกิดเหตุ _______๑๐.) นายชชั วาล ขบั รถชนคนแลว้ หนี
35 แบบประเมนิ พฤติกรรมการทำงานกลุม่ กลุ่ม .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลุ่ม ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓. ...................................................................... ๔. ...................................................................... ๕. ...................................................................... ๖. ...................................................................... ๗. ...................................................................... ๘. ...................................................................... ๙. ...................................................................... ๑๐........................................................................ คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนทำเครื่องหมาย ในช่องทตี่ รงกบั ความเป็นจริง พฤติกรรมทส่ี งั เกต ระดับคะแนน รวม หมายเหตุ 1๑. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ 3 21 ๒. มีความกระตือรอื ร้นในการทำงาน ๓. รับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๔. มขี น้ั ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ ๕. ใช้เวลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม คะแนนรวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน พฤติกรรมทที่ ำเปน็ ประจำ ให้ ๒ คะแนน พฤติกรรมทที่ ำเป็นบางครง้ั ให้ ๑ คะแนน พฤติกรรมที่ทำนอ้ ยคร้งั ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๓-๑๕ ดี ๘-๑๒ ปานกลาง ปรบั ปรุง ๕-๗
36 แบบประเมนิ ผลงาน เรื่อง ข่าวแก้ไมจ่ บสแ่ี ยกกลว้ ยแขกทำรถตดิ ผิดกฎหมาย คำชแ้ี จง ทำเครอ่ื งหมาย ลงในช่องระดบั คะแนนพฤติกรรมทนี่ ักเรียนปฏิบตั ิดงั นี้ ระดบั ๓ หมายถงึ แสดงพฤติกรรมใหเ้ ห็นมาก ระดบั ๒ หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เหน็ ปานกลาง ระดบั ๑ หมายถงึ แสดงพฤติกรรมใหเ้ ห็นนอ้ ย ท่ี ช่อื - หวั ข้อ ความถกู ต้อง ความ ความคิด การ หมาย เหตุ สกุล ประเมนิ เรยี บรอ้ ย สรา้ งสรรค์ ประเมินผล /ระดับ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผา่ น ไม่ ผ่าน เกณฑ์การประเมิน คะแนนตั้งแต่ ๔ – ๙ ผ่าน ๘ - ๙ = ดี ๖ - ๗ = ปานกลาง ๔ - ๕ = พอใช้ คะแนนต่ำกว่า ๔ ไมผ่ า่ น
37 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ช่อื หน่วย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔่ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ เวลา ๓ ชั่วโมง เร่ือง ระบบคดิ ฐาน ๑๐ ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นกั เรียนสามารถแยกผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๒.๒ นักเรียนเกิดตระหนักถงึ ผลประโยชนส์ าธารณะมาก่อนผลประโยชนส์ ว่ นตน ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ การปฏบิ ตั งิ านแบบใช้ระบบคดิ ฐาน ๑๐ (Analog) คือ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรฐั ยังมีระบบการคิด ทน่ี ำประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวมมาปะปนกันไปหมด แยกแยะไมอ่ อกวา่ ส่ิงไหนคอื ประโยชนส์ ่วนตน ส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนรวม นำส่งิ ของราชการมาใช้เพ่ือประโยชน์ส่วนตน เบยี ดบัง ราชการ เหน็ แกป่ ระโยชนส์ ่วนตนเหนือกว่าประโยชนส์ ่วนรวมหรอื ของหน่วยงาน จะคอยแสวงหา ประโยชน์จากตำแหน่งหนา้ ท่ีราชการเพื่อตนเองเครือญาติ หรือพวกพอ้ ง กรณีเกดิ การขดั กนั ระหวา่ ง ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวมจะยดึ ประโยชน์สว่ นตนเปน็ หลกั ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) ๑) ความสามารถในการเขียน ๒) ความสามารถในวิเคราะห์แยกแยะ สรุป ๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑) ใฝ่เรยี นรู้ ๒) มงุ่ ม่ันในการทางาน ๓) ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต ๔) มีวนิ ยั ๔. กิจกรรมในการเรยี นรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรียนรู้ ๑) ชั่วโมงที่ ๑ ๑. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี น ๑ กล่มุ รบั บทบาทเป็นผดู้ ำเนินรายการ “ห้องเรียนสีขาว” ตอน “นมโรงเรยี น” โดยใหบ้ ทไปฝกึ ซอ้ มล่วงหนา้ ๑ สปั ดาห์ ๒. ครูเกรน่ิ นำถึงเรื่องประโยชนข์ องการดม่ื นม ๓. ครูใหน้ กั เรียนกลุ่มท่ีไดร้ บั มอบหมายออกมาแสดงหนา้ ช้ันเรยี นตามบทที่มอบให้ ๔. หลงั จบรายการ ใหต้ ั้งคำถามกับนักเรยี นในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ ๔.๑ นกั เรียนรูส้ ึกอย่างไรต่อรายการที่เพิง่ รับชมจบไป ๔.๒ ปญั หาทเ่ี กดิ ข้ึนกบั เรอื่ ง “นมโรงเรยี น” มีอะไรบ้าง ๔.๓ ปญั หาเร่ืองนมโรงเรียนมีสาเหตมุ าจากอะไร
38 ๔.๔ ถา้ นกั เรียนอย่ใู นโรงเรยี นทป่ี ระสบปญั หาดังกล่าว นักเรียนจะรูส้ กึ อย่างไร ๔.๕ นักเรียนคิดวา่ ถา้ ผูใ้ หญเ่ หน็ ประโยชนส์ ว่ นตนมากกวา่ สว่ นรวม และปญั หาน้ี ไม่ได้รับการแกไ้ ข จะเกิดอะไรข้นึ บ้างในอนาคต ๕. ครสู รุปคำตอบของนักเรยี น และเชอื่ มโยงว่า ปญั หาของประเทศชาติมากมายทเ่ี กดิ จาก การทจุ รติ คอรร์ ัปช่นั ของผทู้ เ่ี ห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนตน มากกว่าประโยชนส์ ว่ นรวม ๒) ชวั่ โมงท่ี ๒ ๑. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง ตวั อย่างคิดแบบระบบฐาน ๑๐ ๒. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสนทนา เกี่ยวกบั ระบบคดิ ฐาน ๑๐ ทไี่ ดศ้ ึกษาจากใบความรู้ ๓. ครใู หน้ ักเรียนแบง่ กลุ่ม ๕ กลุ่มชว่ ยกนั ระดมความคิด แล้วทาใบงาน เรือ่ ง ระบบคิดฐาน ๑๐ ๔. ให้แตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนมานำเสนอหนา้ ช้นั เรียน ละเปดิ โอกาสให้คนอื่น แสดงความคิดเหน็ ร่วม ดว้ ย ๓) ชัว่ โมงที่ ๓ ๑. ให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่มเปน็ ๕ กลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุม่ แต่งเนื้อเร่ือง และแสดงบทบาทสมมติ เกย่ี วกับระบบคดิ ฐาน ๑๐ ในแต่ละอาชพี ต่าง ๆ ดงั น้ี กลุ่มท่ี ๑ ครู กลมุ่ ที่ ๒ ทหาร กลุ่มที่ ๓ ตำรวจ กลมุ่ ท่ี ๔ พยาบาล กลุ่มที่ ๕ คนขบั แท็กซ่ี ๒. ครูและนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายการแสดงบทบาทสมมติของแต่ละกลุม่ ในระบบคิดฐาน ๑๐ ๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งเรียนรู้ ๑) บทสนทนาสำหรับรายการห้องเรยี นสีขาว ๒) ใบความรู้ ระบบคิดฐาน ๑๐ และระบบคิดฐาน ๒ ๓) ใบความรู้ ตัวอยา่ งคิดฐาน ๑๐ สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ ๕.๒ เครือ่ งมือท่ีใช้ในการประเมิน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ ผา่ นการประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ 6. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... .......................................................................................................................................... .................. ............................................................................................................................. ............................... ลงชือ่ ........................................ครูผ้สู อน (..................................................)
39 7. ความคิดเห็นผู้บริหาร ............................................................................................................................. .................................... .................................................................................................................................................. ..... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... ลงชือ่ .....................................ผบู้ รหิ าร (นายจรญั วารนิ ทร์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นบวั ถนน
40 บทสนทนาสำหรับรายการ “หอ้ งเรยี นสีขาว”ตอน “นมโรงเรียน” สวัสดีคะ่ ท่านผู้ชม วนั นี้รายการห้องเรยี นสีขาวมาพบกบั ทุกท่านอกี ครงั้ แลว้ นะคะ วันนี้มีเหตกุ ารณท์ ่ีไม่ควรเกิดขึ้นในโรงเรียนอกี แลว้ ผู้ดำเนินรายการ ๒ : เหตกุ ารณ์ดังกลา่ วไดเ้ กดิ ข้นึ หลายครั้งแลว้ และสง่ ผลกระทบกับ โรงเรยี น ระดบั ก่อนประถมศกึ ษาและประถมศกึ ษาทัว่ ประเทศนะคะ ผู้ดำเนินรายการ ๑ : นัน่ คือปัญหาเรือ่ ง “นมโรงเรียน” คะ่ นมโรงเรยี นเปน็ โครงการที่ เกดิ ขึน้ เพ่อื พัฒนารา่ งกายของนักเรยี นให้มสี ุขภาพสมบูรณแ์ ข็งแรง มีน้าหนักและ ส่วนสงู ตามวยั อีกดว้ ย ผู้ดำเนินรายการ ๒ : และยงั เปน็ การปลูกฝังนสิ ัยการดม่ื นมใหแ้ กเ่ ด็กๆ อีกดว้ ยนะคะ ดๆู แล้วเปน็ โครงการทีม่ ปี ระโยชน์มากคะ่ แล้วเกิดอะไรขนึ้ เหรอคะ ถงึ ไดก้ ลายเป็น ปญั หา ขึ้นมาได้ ผ้ดู ำเนนิ รายการ ๑ : กม็ ผี ู้ใหญบ่ างคนสคิ ะ เหน็ แก่ประโยชนข์ องตนเองมากกว่าสว่ นรวมใช้ ผลิตภัณฑค์ ุณภาพต่ำ เชน่ นำหางนมมาผสมน้ำมาบรรจุถุงใหน้ กั เรียนด่มื ซ่ึงเป็นนมทีไ่ ม่มี คณุ ภาพ นอกจากนกี้ ารขนสง่ ทไี่ มไ่ ดม้ าตรฐาน เช่น ไมม่ ีการ รักษาคุณภูมิท่ดี พี อ ทำให้ นกั เรยี นตอ้ งดมื่ นมบดู ๆ ผดู้ ำเนนิ รายการ ๒ : เหตุการณท์ วี่ า่ น้ีเกดิ ข้นึ ท่โี รงเรยี นประจำจงั หวัดแหง่ หน่งึ ค่ะ หลังดืม่ นมเข้าไป เดก็ ๆ กม็ ีอาการเวียนศีรษะ อาเจียน จนต้องเข้า โรงพยาบาล โชคดีตอนนเ้ี ด็ก ทกุ คนอยูใ่ นภาวะปลอดภยั แล้วคะ่ ผู้ดำเนินรายการ ๑ : เป็นเหตุการณท์ ่ีควรไดร้ ับการแก้ไขด่วนนะคะ เพราะเป็นเรือ่ งทม่ี ีผล ต่อ ร่างกายและสมองของเด็ก และทสี่ ำคัญคะ่ เด็กในวนั น้คี ือผูใ้ หญ่ในวันหน้าเด็กจงึ ควร ได้รบั การพฒั นาอย่างเต็มที่ เพราะจะเปน็ กำลังสำคัญในการ พัฒนาประเทศ ผ้ดู ำเนนิ รายการ ๒ : หวังว่าเรอื่ งราวเหลา่ น้ี จะทาให้ผ้ใู หญ่บางคนไดฉ้ ุกคดิ ถงึ ความสำคัญ ของประโยชนเ์ พื่อส่วนรวมมากข้ึนนะคะ และขอใหก้ ารทุจริตคอรัปชนั หมดไปจากประเทศ ของเราเสยี ที ผดู้ ำเนนิ รายการ ๑ : แล้วพบกันใหมก่ ับเรอ่ื งราวที่เราจะนามาฝากในครงั้ ตอ่ ไปนะคะ สำหรบั วันนี้ เราสองคนตอ้ งลาไปก่อน ผู้ดำเนนิ รายการ ๑-๒ : สวสั ดีคะ่ /สวสั ดีครับ
41 ใบความรู้ เรอื่ ง ระบบคิดฐาน ๑๐ และ ระบบคิดฐาน ๒ ตดิ ต่อราชการ nalog Digital ระบบคดิ ฐานสิบ ระบบคดิ ฐานสอง ใช้น้ำประปาหลวงล้างรถ ไม่ใชน้ ้ำประปาหลวง สว่ นตวั ลา้ งรถส่วนตัว นำรถยนตห์ ลวงมาใช้ในธุระ ไมน่ ำรถยนต์หลวงมาใชใ้ นธรุ ะ สว่ นตัว สว่ นตวั นำอปุ กรณ์ไฟฟา้ สว่ นตวั มาชาร์ตท่ที า ไมน่ ำอุปกรณไ์ ฟฟ้าสว่ นตวั มาชารต์ ท่ี งาน ทางาน ไมน่ ำวสั ดคุ รภุ ัณฑ์หลวงไปใช้สว่ นตัว นำวัสดคุ รภุ ณั ฑห์ ลวงไปใชส้ ่วนตวั ไม่ใชโ้ ทรศพั ท์หลวงในเรอ่ื งสว่ นตัว ใช้โทรศพั ทห์ ลวงในเร่ืองสว่ นตวั ไมร่ บั ของขวัญจากผมู้ าติดต่อราชการ รับของขวัญจากผูม้ า
42 ใบความรู้ ตัวอย่างคิดแบบระบบฐาน ๑๐ สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ตอน “คนหลวงใชเ้ งนิ หลวง” นางวันดี ตำแหน่งเจา้ พนักงานสาธารณสุขปฏิบัตงิ าน ได้รับแตง่ ตง้ั ใหเ้ ป็นกรรมการเกบ็ รกั ษา เงนิ และเป็นเจา้ หนา้ ท่กี ารเงินรบั ผดิ ชอบงานการเงนิ และบัญชี และมีอำนาจลงนามในใบถอนเงิน ร่วมกบั เจ้าหน้าทร่ี ายอืน่ นางวนั ดไี ด้ถอนเงินออกจากบญั ชีเงินฝากของสถานีอนามัย นำไปใชจ้ า่ ยใน เรอ่ื งสว่ นตวั จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท ต่อมาได้นำเงินดงั กลา่ วมาคืนใหก้ ับทางราชการแล้ว และ พบวา่ มกี ารเบิกจา่ ยเงินโดยไม่มเี อกสาร หลกั ฐานประกอบการจ่ายเงนิ จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท นาง วนั ดี ให้การรับ สารภาพว่า ตนได้จดั ทำเอกสารหลักฐานประกอบการเบิกจา่ ยเทจ็ ขึ้นมาใหม่เพื่อให้ มี จำนวนเงิน คงเหลอื อย่จู ริงตามรายงานงบเดือนส่งให้สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอเพ่ือประกอบการ จดั ทำบัญชเี กณฑค์ งค้าง พฤตกิ ารณ์ของนางวนั ดี ดังกล่าว เปน็ การกระทำผดิ วนิ ยั อยา่ งร้ายแรงฐานปฏิบัติหรือละเวน้ การปฏิบัตหิ น้าที่ราชการโดยทุจรติ ตามมาตรา ๘๕(๑) แห่งพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บข้าราชการพล เรอื น พ.ศ.๒๕๕๑ ลงโทษไล่ออกจากราชการ ตอน “ยกั ยอกยา” นายยา ตำแหนง่ เภสชั กรปฏบิ ัตกิ าร ได้ยักยอกยาแก้หวัดสูตรผสมซูโดอีฟรีดรีน ที่ตน ดำเนินการส่งั ซื้อจากบริษัทยาของเอกชน รวมจานวน ๒๐๐,๐๐๐ เมด็ โดยยาดงั กล่าวจำนวน ๕๐,๐๐๐เมด็ ได้มกี ารส่งั ซ้ือในนามของโรงพยาบาลและนาเขา้ คลงั ยาของโรงพยาบาลตามระบบ สว่ น อกี จานวน ๑๕๐,๐๐๐ เม็ดนน้ั ไดส้ ัง่ ซอื้ ในนามของโรงพยาบาลแต่นายาเข้าร้าน และจ่ายเงินเอง โดย การส่งั ซื้อยาได้ทำการปลอมลายมอื ชอ่ื ของผู้อานวยการโรงพยาบาลเพื่อใช้เป็นหลกั ฐานในการสั่งซอื้ ยาและไดน้ ำยาดังกลา่ วไปขายใหแ้ ก่บุคคลภายนอก พฤติการณข์ องนายยาดังกล่าว เป็นการกระทำ ผดิ วินัยอย่างร้ายแรงปฏิบัตหิ รอื ละเวน้ การปฏิบตั ิ หนา้ ที่ราชการโดยมชิ อบเพื่อให้เกดิ ความเสียหาย อยา่ งร้ายแรงแก่ผหู้ นงึ่ ผู้ใด หรือ ปฏบิ ตั ิหรอื ละเวน้ การปฏิบัติ หน้าทรี่ าชการโดยทุจรติ ตามมาตรา ๘๕(๑) แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ ลงโทษ ไลอ่ อกจากราชการ
43 ใบงาน เรื่อง ระบบคิดฐาน ๑๐ กลุ่มท่ี............ สมาชกิ กล่มุ ๑............................................................................................................ ๒............................................................................................................ ๓............................................................................................................ ๔............................................................................................................ ๕............................................................................................................ ๖............................................................................................................ ๗............................................................................................................ ๘............................................................................................................ ๙............................................................................................................ ๑๐........................................................................................................... ประเด็นการวเิ คราะห์ ตอน “คนหลวงใชเ้ งนิ หลวง” ๑. เพราะเหตุผลใดคนจึงคดิ ทุจรติ ........................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ................................. ๒. ถา้ เป็นนกั เรียนจะคิดเช่นนั้นหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ............................................................................................................................. ................................ ........................................................................................................................................ ...................... .............................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................. ๓. การทุจรติ จะสง่ ผลต่อชาติบา้ นเมืองอย่างไร ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................. ........................................................................................................................................ ......................
44 แบบประเมนิ พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลมุ่ ๑. ......................................................................๒. ...................................................................... ๓. ......................................................................๔. ...................................................................... ๕. ......................................................................๖. ...................................................................... ๗. ......................................................................๘. ...................................................................... ๙. ......................................................................๑๐........................................................................ คำชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นทำเครื่องหมาย ในช่องทตี่ รงกับความเปน็ จริง พฤติกรรมท่ีสงั เกต ระดับคะแนน รวม หมายเหตุ 3 21 1๑. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น ๒. มีความกระตือรอื รน้ ในการทำงาน ๓. รับผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมาย ๔. มีขั้นตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ ๕. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม คะแนนรวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ ประจำ ให้ ๒ คะแนน พฤติกรรมทท่ี ำเป็นบางคร้ัง ให้ ๑ คะแนน พฤติกรรมที่ทำนอ้ ยครั้ง ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๕ ดี ๘-๑๒ ปานกลาง ปรับปรุง ๕-๗
45 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชอื่ หน่วย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สวนรวม ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรือ่ ง ความแตกต่าง ๆระหว่างจริยธรรมและการทุจรติ เวลา ๓ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์ ส่วนรวม ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถบอกความหมายของจรยิ ธรรมได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถบอกความหมายของการทจุ รติ ได้ ๒.๓ นกั เรยี นสามารถบอกความแตกต่าง ๆระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ รติ ได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ความแตกตา่ ง ๆระหว่างจริยธรรมและการทุจริต ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ๓.๓ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑) ซื่อสัตยส์ ุจรติ ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ข้ันตอนการเรียนรู้ ๑) ช่ัวโมงที่ ๑ ๑. ครูให้นกั เรียนชมวีดที ัศน์ เร่ือง “อาหารหมดอายุ ” ๒. ครใู หน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเปน็ ๕ กลุ่ม หรือตามความเหมาะสม แลว้ ให้นักเรียน ตั้งคำถามจากการชมวีดที ัศน์ โดยครกู ำหนดคำถามให้ใชค้ ำว่า “ทำไม” “เพราะเหตุใด” “ผลเป็น อย่างไร” เช่น ทำไมแมค่ ้าจึงนำอาหารหมดอายุมาให้นักเรียนรับประทาน เป็นตน้ ๓. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง “การทุจรติ ” จากนั้นครอู ธิบายความหมาย ของการทจุ รติ เพม่ิ เติม ๒) ชัว่ โมงท่ี ๒ ๑. ครูใหน้ ักเรยี นยกตวั อย่างของเหตุการณห์ รือการกระทำที่แสดงถงึ การทุจริตต่าง ๆ ในสงั คมไทย
46 ๒. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง จริยธรรม จากน้ันครูอธิบายความหมายของ จรยิ ธรรมเพิ่มเตมิ ๓. ครูใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งของเหตกุ ารณห์ รือการกระทำท่ีแสดงถงึ จริยธรรมต่าง ๆ ในสงั คมไทยเชน่ การขับรถผิดกฎจราจร เปน็ ต้น ๔. ครใู ห้นกั เรยี นเขยี นแยกการกระทำทแี่ สดงให้เห็นถึงการมีจริยธรรมและการกระทำท่ีแสดง ให้เห็นถึงการทุจรติ ลงในใบงาน เรอ่ื ง ความแตกต่าง ๆระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ ๕. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปความแตกตา่ ง ๆระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจริต ดังนี้ จริยธรรม หมายถงึ แนวทางซงึ่ เป็นกฎเกณฑ์ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในสง่ิ ท่ีถกู ต้องดีงาม และ เปน็ ลกั ษณะที่สังคมต้องการเปน็ สิง่ ท่เี กิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมส่วนรวม บุคคลที่มี จรยิ ธรรม อยู่ในตนเองย่อมเป็นทยี่ อมรับนับถือของคนในสังคมและสามารถดำเนินชวี ติ ได้อย่างเปน็ ปกติสขุ เป็น คนทม่ี ีคุณภาพและเป็นท่ียอมรับของสังคมสว่ นรวม การทจุ รติ หมายถึง การคดโกง ไม่ซ่ือสัตยส์ จุ ริต การกระทำท่ผี ิดกฎหมาย เพือ่ ให้ เกดิ ความ ไดเ้ ปรยี บในการแข่งขัน การใชอ้ ำนาจหนา้ ทใี่ นทางทผ่ี ดิ เพ่ือแสวงหาประโยชนห์ รือให้ได้รบั ส่ิงตอบ แทน การใหห้ รือการรบั สินบน การกำหนดนโยบายท่เี อื้อประโยชน์แกต่ นหรือพวกพอ้ งรวมถึงการ ทุจริตเชงิ นโยบาย ความแตกต่าง ๆระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ รติ คอื จริยธรรมเป็นแนวทางซง่ึ เป็นกฎเกณฑใ์ น การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในส่ิงที่ถูกตอ้ งดงี าม ส่วนการทจุ รติ คือ การคดโกง ไมซ่ ่ือสตั ย์สจุ ริต การกระทำท่ี ผดิ กฎหมาย ๓) ช่วั โมงที่ ๓ ๑. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสนทนาความหมายของจรยิ ธรรมและการทุจรติ ร่วมกัน ๒. แบง่ กลุม่ นกั เรียนออกเป็น ๕ กล่มุ หรือตามความเหมาะสม แลว้ ให้นักเรยี นช่วยกันเขียน คำขวัญรณรงคต์ ่อต้านการทจุ รติ ๓. ครูนำตวั อยา่ งคำขวญั ตดิ บนกระดาน และให้นักเรียนอ่านคำขวญั พรอ้ มกนั ๓.๑ ทุจริตคดิ โกงชาติ จะพนิ าศทง้ั ราษฎร์รัฐ ๓.๒ เชิดชู ซอื่ สัตย์ รว่ มกำจดั คนโกงกิน ๓.๓ รักชาติรกั ศกั ดิ์ศรี หยุดเสียที คอรร์ ปั ชั่น ๔. ใหน้ กั เรียนนำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียน ๕. ใหน้ ักเรียนร่วมกันนำผลงานคาขวัญรณรงคต์ ่อตา้ นการทจุ รติ ไปเดนิ รณรงคภ์ ายใน โรงเรียน ๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้ ๑) วีดที ัศน์ เร่อื ง อาหารหมดอายุ ๒) ใบความรู้ เร่ือง การทจุ รติ ๓) ใบความรู้ เรอ่ื ง จริยธรรม ๔) ใบงาน เรอ่ื ง ความแตกต่าง ๆระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ รติ ๕) ตวั อยา่ งคำขวัญ
47 ๕) การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ ๑) ตรวจผลงานการทาใบงาน เรือ่ ง ความแตกต่าง ๆระหว่างจริยธรรมและการทจุ ริต ๒) สังเกตพฤติกรรมซ่ือสตั ย์สุจรติ ๓) ตรวจผลงานการเขียนคำขวัญ ๕.๒ เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการประเมนิ ๑) แบบให้คะแนนการตรวจผลงานใบงาน เร่อื ง ความแตกตา่ ง ๆระหวา่ งจริยธรรมและการ ทุจริต ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมซื่อสัตยส์ จุ รติ ๓) แบบประเมินการเขียนคำขวญั ๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป
48 ใบความรู้ เรอื่ ง การทจุ รติ การทจุ ริต ปัญหาการทุจรติ เป็นปญั หาที่สำคัญท้งั ของประเทศไทยและประเทศอืน่ ทั่วโลก ปญั หาการ ทุจรติ จะทำให้เกิดความเสอ่ื มในด้านตา่ ง ๆ เกดิ ขึ้น ท้งั สังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง นับวนั ปญั หา ดงั กล่าวจะรนุ แรงมากขน้ึ และมรี ูปแบบการทจุ รติ ที่ซบั ซ้อน ยากแก่การตรวจสอบมากข้ึน จากเดิมที่ กระทาเพียงสองฝา่ ย ปจั จุบันการทุจริตจะกระทำกนั หลายฝา่ ย ทั้งผู้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมือง เจ้าหน้าที่ของรัฐ และเอกชน โดยประกอบด้วยสองส่วนใหญ่ คอื ผู้ใหผ้ ลประโยชนก์ ับผู้รับ ผลประโยชน์ ซงึ่ ทั้งสองฝ่ายน้ีจะมผี ลประโยชน์รว่ มกัน ตราบใดที่ ผลประโยชน์สมเหตุสมผลตอ่ กนั กจ็ ะนำไปสูป่ ัญหาการทุจรติ ได้ บางครัง้ ผู้ที่รบั ผลประโยชนก์ ็เปน็ ผูใ้ ห้ประโยชน์ได้เชน่ กัน โดยผรู้ ับ ผลประโยชน์และผูใ้ ห้ผลประโยชน์ คอื ๑. ผ้รู ับผลประโยชน์ จะเป็นเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ซ่งึ มีอำนาจ หน้าทีใ่ นการกระทำ การ ดำเนนิ การตา่ ง ๆ และรับประโยชน์จะเป็นไปในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การจัดซ้ือจดั จ้าง การเรียกรบั ประโยชนโ์ ดยตรง การกำหนดระเบยี บหรือคณุ สมบัติท่เี ออ้ื ต่อตนเองและพวกพ้อง ทจุ รติ หมายถึงอะไร ๒. ผู้ใหผ้ ลประโยชน์ เชน่ ภาคเอกชน โดยการเสนอผลตอบแทนในรปู แบบต่าง ๆ เช่น เงนิ สทิ ธพิ ิเศษอ่นื เพ่ือจูงใจใหน้ กั การเมือง เจ้าหน้าท่ีของรัฐ กระทำการหรอื ไมก่ ระทำการอย่างใดอย่าง หนึ่งในตำแหน่งหน้าทซ่ี ึง่ การกระทำดงั กลา่ วเป็นการกระทำท่ีฝา่ ฝนื ต่อระเบียบหรือผิดกฎหมาย เป็น ต้น คำวา่ ทจุ รติ มีการให้ความหมายได้มากมาย หลากหลาย ข้นึ อย่กู ับว่าจะมีการใหค้ วามหมาย ดงั กลา่ วไว้ ว่าอยา่ งไร โดยที่คำวา่ ทุจรติ น้ัน จะมีการใหค้ วามหมายโดยหน่วยงานของรฐั หรือการให้ ความหมายโดยกฎหมายซ่ึงไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมายจากแหลง่ ใด เนื้อหาสำคัญของคาว่าทจุ รติ ก็ ยงั คงมีความหมายทส่ี อดคล้องกันอยู่ นนั่ คือ การทุจรติ เป็นสงิ่ ทไ่ี มด่ ี มีการแสวหาหรือเอา ผลประโยชน์ของส่วนรวม มาเปน็ ของส่วนตวั ทั้งทตี่ นเองไม่ได้มีสทิ ธิในสิ่งนนั้ การยึดถือ เอามา ดงั กล่าวจงึ ถือเปน็ สิง่ ที่ผิด ท้งั ในแงข่ องกฎหมายและศีลธรรม ดงั น้ัน การทุจรติ หมายถงึ การคดโกง ไมซ่ ื่อสัตย์สุจริต การกระทำท่ผี ดิ กฎหมาย เพื่อให้ เกิดความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขัน การใชอ้ ำนาจหน้าทีใ่ นทางทผ่ี ดิ เพ่ือแสวงหาประโยชน์หรือใหไ้ ดร้ ับ ส่ิงตอบแทน การใหห้ รอื การรับสนิ บน การกำหนดนโยบายที่เอ้ือประโยชนแ์ กต่ นหรือพวกพ้องรวมถงึ การทุจรติ เชิงนโยบาย
49 ใบความรู้ เร่ือง จริยธรรม ความดงี ามทางสงั คม ถือเป็นกฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงทีเ่ ป็นแนวทาง แหง่ ความประพฤติปฏบิ ตั ใิ หม้ นษุ ยอ์ ยูร่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งเป็นสุข การศึกษาเรื่องจริยธรรม จึงเป็น หนึง่ ในวชิ าปรชั ญาท่ศี กึ ษาเกี่ยวกบั ความดงี ามทางสังคมมนุษย์ ความหมายของ จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง สิ่งทีท่ าไดใ้ นทางวินัยจนเกิดความเคยชนิ มี พลงั ใจ มคี วามต้ังใจแน่วแน่ จงึ ตอ้ งอาศยั ปญั ญา และปัญญาอาจเกดิ จากความศรทั ธาเชื่อถือผู้อน่ื ในทางพทุ ธศาสนาสอนว่า จริยธรรมคอื การนำความรคู้ วามจริงหรือกฎธรรมชาตมิ าใช้ให้เป็นประโยชนต์ ่อการดำเนินชวี ิตท่ดี ี งาม (พระราชวรมุนี) พจนานุกรมไทยฉบบั ราชบณั ฑติ สถาน (๒๕๔๖ ) ให้ความหมายของจรยิ ธรรม ไว้ว่า หมายถงึ ธรรมทีเ่ ป็นข้อประพฤตปิ ฏิบตั ิ โคลเบิร์ก (Kohlberg ๑๙๗๒ : ๒๑๒) กลา่ วถงึ จริยธรรมวา่ จรยิ ธรรมเป็นความรู้สกึ ผิดชอบชั่วดี เปน็ กฎเกณฑ์และมาตรฐานของการประพฤติ ปฏบิ ัตใิ นสังคมซ่ึงบุคคลพัฒนาขึ้นจนกระท่ังมีพฤติกรรมเป็นของตนเองโดยสงั คมจะเปน็ ตัวตดั สินผล ของการกระทำ นนั้ ว่าเป็นการกระทำ ท่ถี กู หรือผดิ จากความหมายทีก่ ล่าวมา สรปุ ไดว้ า่ จริยธรรม หมายถึงแนวทางซงึ่ เป็นกฎเกณฑ์ในการ ประพฤติปฏบิ ัติในสงิ่ ที่ถกู ต้องดีงาม และเปน็ ลักษณะทส่ี ังคมต้องการเป็นส่งิ ท่เี กิดประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคมสว่ นรวม บุคคลที่มีจรยิ ธรรมอยู่ในตนเอง ยอ่ มเป็นที่ยอมรบั นับถอื ของคนในสังคม และสามารถดำเนนิ ชวี ติ ได้อย่างเป็นปกติสุข เปน็ คนทม่ี ีคุณภาพและเปน็ ที่ยอมรับของสงั คมส่วนรวม
50 ใบงาน เร่ือง ความแตกต่างระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ ริต ช่ือ................................................................................................ชน้ั ......................... .เลขท.ี่ ................. คำชแี้ จง ให้นักเรียนแยกข้อความออกเปน็ ๒ กลมุ่ คือ กลุ่มจรยิ ธรรม และ การทจุ รติ แล้วเขยี นลงใน ตาราง ใหถ้ กู ต้อง ๑. นายสุวฒั น์นำรถหลวงไปจำนำและเบิกคา่ น้ำมันเทจ็ ๒. นายสมพงษไ์ มร่ ับของขวัญจากผมู้ าตดิ ต่อราชการ ๓. เด็กชายกล้าลอกข้อสอบเพอ่ื น ๔. นางวภิ านำรถหลวงไปใชง้ านแตง่ งานลกู ๕. ผ้อู ำนวยการไมร่ ับฝากนักเรยี นทจ่ี ะมาเขา้ เรยี น ๖. เดก็ หญงิ แพรไมร่ ับเงนิ จากเพือ่ นทีว่ า่ จา้ งให้ทำรายงาน ๗. นางพรนภาไมร่ บั เงนิ จากผู้มาหาเสียงเลอื กตัง้ ๘. นางพิมเอาโทรศัพทห์ ลวงมาโทรตดิ ตอ่ ธรุ ะสว่ นตวั การกระทำที่แสดงใหเ้ ห็นว่า การกระทำท่ีแสดงใหเ้ หน็ ว่า “บุคคลนน้ั เป็นผมู้ ีจรยิ ธรรม” บคุ คลน้ันเป็นผทู้ ุจริต” ๑. ๑. ๒. ๒. ๓. ๓. ๔. ๔.
51 แบบสงั เกตพฤติกรรม เร่ือง ซ่ือสตั ย์ สุจรติ คำชแ้ี จง การบันทึกใหท้ ำเคร่ืองหมาย ลงในช่องทีต่ รงกับพฤติกรรมท่เี กิดข้นึ จรงิ ท่ี ชอื่ -สกลุ รายการ สรปุ ผล การประเมนิ พูด ไมล่ กั ตรงไปตรงมา ทำตวั รูจ้ กั ผ่าน ไมผ่ า่ น ความ ขโมย น่าเชอ่ื ถือ แยกแยะ จริง เห็น ประโยชน์ สว่ นตน มากกวา่ ประโยชน์ สว่ นรวม เกณฑ์การประเมิน ปฏิบัตติ งั้ แต่ ๓ รายการขน้ึ ไป ถอื ว่า ผา่ น ปฏบิ ตั ิ ๑- ๒ รายการ ถือว่า ไมผ่ า่ น
52 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๑ ช่อื หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม เวลา ๒ ชวั่ โมง ๑. ผลการเรียนรู้ นกั เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรยี นสามารถบอกความหมายของผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถบอกการกระทำทีเ่ ป็นผลประโยชนส์ ่วนตนกับการกระทำทเ่ี ป็นผลประโยชน์ ส่วนรวมได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ประโยชนส์ ่วนตน หมายถึง การทบี่ ุคคลท่ัวไปในสถานะเอกชนหรอื เจ้าหนา้ ท่ีของรัฐไดท้ ำกิจกรรม หรือได้กระทำการตา่ ง ๆ เพื่อประโยชนส์ ่วนตน ครอบครัว ญาติ เพื่อนหรือของกลุม่ ในสงั คม ประโยชน์สว่ นรวมหรือประโยชน์สาธารณะ หมายถงึ การท่ีบุคคลใด ในสถานะที่เป็นเจา้ หน้าทขี่ องรฐั ไดก้ ระทำการใด ตามหน้าทหี่ รือได้ปฏิบัตหิ นา้ ที่ อันเปน็ การดำเนินการในอกี ส่วนหนึง่ ท่ีแยกออกมา จากการดำเนนิ การตามหนา้ ที่ในสถานะของเอกชน ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑) ซ่อื สัตย์สุจรติ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ ๑) ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑. ครูใหน้ กั เรยี นดภู าพเกี่ยวกับสาธารณะสมบตั ิ เช่น สวนสาธารณะ รถไฟสาธารณะ ห้องสมดุ เป็นตน้ ๒. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสนทนาเกีย่ วกับภาพ ดังนี้ ๒.๑ ภาพน้ีเก่ียวกบั อะไร ๒.๒ ภาพน้ีมีกจิ กรรมอะไรบ้าง ๒.๓ สง่ิ ของในภาพนอี้ ะไรท่ีเปน็ ของส่วนตัว ๒.๔ สง่ิ ของในภาพนอ้ี ะไรทเ่ี ปน็ ของสว่ นรวม
53 ๓. ครสู รปุ ความหมายของคำว่า “ผลประโยชนส์ ว่ นตน” กับ “ผลประโยชน์ส่วนรวม” ๔. ครูซักถามนักเรยี นเกย่ี วกับสิ่งของส่วนรวม ดงั น้ี ๔.๑ สงิ่ ของท่ีเป็นของส่วนรวมมีประโยชน์อยา่ งไร ๔.๒ ใครเปน็ ผู้ไดร้ ับประโยชน์จากสงิ่ ของส่วนรวมน้นั ๔.๓ ใครเปน็ ผู้ดแู ลรกั ษาสิ่งของสว่ นรวม ๔.๔ มีวิธีการดูแลรกั ษาส่งิ ของส่วนรวมอย่างไร ๕. ครูซักถามนกั เรียนเกยี่ วกบั สง่ิ ของส่วนตน ดังน้ี ๕.๑ ส่ิงของทีเ่ ป็นของส่วนตนมีประโยชน์อยา่ งไร ๕.๒ ใครเปน็ ผูไ้ ดร้ ับประโยชนจ์ ากส่ิงของส่วนตนน้นั ๕.๓ ใครเปน็ ผู้ดูแลรกั ษาสิง่ ของสว่ นตน ๕.๔ มีวธิ กี ารดูแลรักษาสิ่งของสว่ นตนอย่างไร ๒) ชวั่ โมงท่ี ๒ ๑. ครูให้นักเรียนทำใบงาน เร่ือง ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. ให้นกั เรยี นนำเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน ๓. นกั เรยี นนำผลงานไปติดท่ีป้ายประชาสัมพันธข์ องโรงเรียน ๔.๒ สอื่ การเรียนรู้ ๑) รปู ภาพเกย่ี วกับสาธารณะสมบัติ เช่น สวนสาธารณะ เป็นต้น ๒) ใบงาน เรอ่ื ง ผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑) ตรวจผลงานการทาใบงาน เรื่อง ผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) สังเกตพฤติกรรม ซื่อสัตย์ สจุ รติ ๕.๒ เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการประเมิน ๑) แบบให้คะแนนการตรวจผลงานใบงาน ๒) แบบสังเกตพฤตกิ รรม ซื่อสัตยส์ ุจริต ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป 6. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ลงชอ่ื ........................................ครูผสู้ อน (..................................................)
54 7. ความคิดเห็นผู้บริหาร ............................................................................................................................. .................................... ............................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ.....................................ผ้บู รหิ าร (นายจรัญ วารินทร์) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบวั ถนน
55 ใบงาน เร่ือง ผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ชือ่ ....................................................ช้ัน..................เลขท่.ี ................. คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นวาดภาพระบายสี เกี่ยวกับสิง่ ของทเ่ี ป็นของส่วนตนและสง่ิ ของท่เี ป็นของ ส่วนรวมอยา่ งละ ๓ - ๕ ภาพ ส่งิ ของที่เปน็ ของสว่ นตน ส่ิงของทเ่ี ปน็ ของส่วนรวม
56 แบบสังเกตพฤตกิ รรม เรอื่ ง ซื่อสัตย์ สจุ รติ คำช้แี จง การบันทึกใหท้ ำเคร่ืองหมาย ลงในช่องทต่ี รงกับพฤติกรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ ที่ ชอ่ื -สกลุ รายการ สรุปผล การประเมนิ พดู ไมล่ ัก ตรงไป ทำตัว รูจ้ กั แยกแยะ ผ่าน ไมผ่ า่ น ความ ขโมย ตรงมา น่าเชอื่ ถอื เห็นประโยชน์ จรงิ สว่ นตน มากกว่า ประโยชน์ ส่วนรวม เกณฑ์การประเมิน ปฏิบตั ิตัง้ แต่ ๓ รายการขึ้นไป ถอื วา่ ผา่ น ปฏิบัติ ๑- ๒ รายการ ถือวา่ ไม่ผา่ น
57 หน่วยท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ
58 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๒ ช่ือหนว่ ย ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง การทำการบา้ น ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๑ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ เกี่ยวกบั ความไม่ทนและความละอายต่อการทุจรติ ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผไู้ มท่ นและละอายต่อการทุจริตทุกรูปแบบ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นกั เรยี นสามารถเรยี นรแู้ ละมีความเขา้ ใจเก่ยี วกับความไม่ทนและความละอายต่อการทจุ รติ ๒.๒ นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ติ นเป็นผไู้ ม่ทนและละอายต่อการทุจริตทุกรปู แบบ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ การทำการบ้านถือว่าเปน็ การฝกึ ฝนและการทบทวนบทเรยี นที่ได้เรียนมา แต่ถา้ หากลอกการบ้าน ถือวา่ เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้องเปน็ การกระทำที่ทุจริต ทกี่ ่อใหเ้ กิดผลเสยี ต่อตนเองและผอู้ นื่ นอกจากนย้ี ังเปน็ การประพฤตไิ ม่ตรงตามความเปน็ จรงิ ทงั้ ต่อตนเองและผู้อ่นื ด้วยกาย วาจา และใจ ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ ๑) ทกั ษะกระบวนการคิด ๒) ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม ๑) ซ่อื สัตย์สุจรติ ๒) ใฝ่เรยี นรู้ ๓) มุง่ ม่นั ในการทำงาน ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ การเรยี นรู้ ๑) ให้นักเรยี นดภู าพ ๒ ภาพ เกี่ยวกบั การลอกการบ้าน กบั การทำการบ้านดว้ ยตนเอง ๒) ใหน้ ักเรยี นคิดวิเคราะห์ตามหัวข้อดังต่อไปน้ี โดยทำลงในใบงาน เร่ือง เด็กดี มีความสจุ ริตท่ี ครเู ตรียมให้ ๒.๑ การลอกการบ้านเปน็ ส่ิงทีค่ วรทำหรือไม่ ๒.๒ การทำการบ้านด้วยตนเองนนั้ มีผลดีอยา่ งไรบ้าง ๓) ครูให้นักเรยี นสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอการวเิ คราะห์ของตนเองหนา้ ช้นั เรยี นตอ่ การกระทำ ทไี่ ม่ถกู ต้อง ๔.๒ สื่อการเรยี นรู้ ๑) รปู ภาพ เกย่ี วกับ การลอกการบ้าน กับ การทำการบา้ นดว้ ยตนเอง ๒) ใบงาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169