Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรทุจริต ม.1

หลักสูตรทุจริต ม.1

Published by charunwarin.321, 2023-06-05 00:39:18

Description: หลักสูตรทุจริต ม.1

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) และแผนการจดั การเรียนรู้ “การปอ้ งกันการทจุ ริต” หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรยี นบา้ นบวั ถนน สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต ๒ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก ประกาศโรงเรียนบา้ นบวั ถนน เรื่อง ให้ใช้หลักสตู รต้านทุจริตศกึ ษา Anti-Corruption Education ในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ----------------------------------------------------------- ยุทธศาสตรช์ าตวิ า่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๑ “สร้างสงั คมท่ีไม่ทนต่อการทุจรติ ” ไดม้ ุ่งเนน้ ให้ความสำคญั ในกระบวนการปรับสภาพ สงั คมให้เกิดภาวะท่ี “ไมท่ นต่อการทจุ รติ ” โดยเร่มิ ตง้ั แต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทกุ ระดบั ช่วง วัย ต้ังแตป่ ฐมวยั เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทจุ ริต และปลกู ฝงั ความพอเพียง มวี นิ ยั ซ่ือสัตยส์ ุจริตยดึ ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตน เป็นการดำเนนิ การผา่ นสถาบันหรอื กลมุ่ ตวั แทนท่ีทำหน้าที่ ในการกล่อมเกลาสงั คมใหม้ คี วามเปน็ พลเมืองท่ดี ี มจี ิตสาธารณะ เสยี สละเพ่อื ส่วนรวมและเสริมสร้างให้ ทุกภาคสว่ นมพี ฤติกรรมท่ีไมย่ อมรบั และตอ่ ต้านการทจุ ริตในทุกรูปแบบ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จงึ ไดม้ ี คำสั่งท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ แตง่ ต้งั คณะอนกุ รรมการจัดทำหลักสูตร หรือชุดการ เรยี นรู้และสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทุจริต เพอ่ื ดำเนินการจดั ทำหลักสูตรหรอื ชดุ การ เรียนร้แู ละส่ือประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกันการทุจริต นำไปใช้ในการเรียนการสอนให้กบั นักเรียน นักศึกษาในทุกระดับชนั้ เรยี นท้งั ในส่วนของการศึกษาต้ังแต่ระดบั ปฐมวยั อนุบาล ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา และอุดมศกึ ษา ท้งั ภาครัฐและเอกชน รวมท้ังอาชีวศกึ ษาและการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย นอกจากน้ี ยังรวมถึงสถาบันการศึกษาอนื่ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ครอบคลุม กลมุ่ เปา้ หมายทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การศกึ ษาทง้ั ระบบ รวมทงั้ บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกจิ รวมทง้ั ภาค ประชาชน เพอ่ื เปน็ การปลูกฝังจิตสานกึ ในการแยกแยะประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชน์ส่วนรวม จิต พอเพียงตา้ นทุจรติ และสร้างพฤติกรรมที่ไม่ยอมรบั และไม่ทนต่อการทจุ ริต โรงเรียนบ้านบวั ถนน จงึ ไดจ้ ัดทำหลกั สูตรหลักสตู รตา้ นทุจริตศึกษา Anti-Corruption Education ในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ขึ้น คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานโรงเรียนได้ตรวจสอบผเู้ รียนสามารถนำไปใช้ในการดำรงชวี ติ ประจำวนั อย่างมี คุณคา่ ต่อสงั คม จงึ เหน็ สมควรแลว้ ว่ามคี วามเหมาะสม สอดคลอ้ งกับนโยบายข้างต้น จงึ อนญุ าตให้ใช้ หลกั สตู รได้ ข

ท้งั น้หี ลกั สตู รโรงเรียนไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เมื่อวนั ท่ี ๑ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๖ จึงประกาศให้ใชใ้ ชห้ ลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษา Anti-Corruption Education ในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ตัง้ แต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ลงชือ่ ........................................ ลงชื่อ.............................. (นายพิน สุบินรมั ย)์ (นายจรญั วารินทร์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นบวั ถนน

ค คำนำ ยุทธศาสตร์ชาติว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ไดก้ ำหนดยุทธศาสตร์ท่ี ๑ สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ อันมีกลยุทธว์ า่ ดว้ ยเร่อื งของการปรบั ฐาน ความคดิ ทุกชว่ งวยั ตัง้ แตป่ ฐมวัยให้สามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม ส่งเสริมใหม้ รี ะบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมเพ่ือตา้ นทุจรติ ประยกุ ต์หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เครอื่ งมือตา้ นทุจรติ เสริมพลังการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน (Community) และบูรณา การทกุ ภาคสว่ นเพ่ือต่อต้านการทุจรติ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จงึ ไดม้ ีคำส่ังแต่งตั้งคณะอนกุ รรมการจดั ทำหลักสตู รหรอื ชดุ การเรียนร้แู ละสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ ริตข้ึน เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมขอ้ มลู กำหนด แนวทางและขอบเขตในการจัดทำหลักสตู ร ยกรา่ งและจดั ทำเนอื้ หาหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พิจารณาใหค้ วามเห็นเพิ่มเตมิ กำหนดแผนหรือแนวทางการนำหลักสูตรไปใช้ใน หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง และดำเนินการอนื่ ๆ ตามท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย คณะอนุกรรมการจัดทำหลักสูตรหรอื ชุดการเรยี นรูแ้ ละส่ือประกอบการเรยี นรู้ ด้านการป้องกนั การทจุ รติ ได้รว่ มกันสร้างหลักสตู รต้านทุจริตศกึ ษา (Anti-Corruption Education) ประกอบด้วย ๕ หลักสูตร ดังนี้ ๑. หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกันการทุจริต) ๒. หลักสูตร อดุ มศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรบั ราชการ กลุ่มทหารและตำรวจ ๔. หลกั สูตรสร้างวิทยากรผ้นู ำการเปล่ียนแปลงสสู่ ังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ ริต และ ๕. หลักสตู รโค้ชเพอ่ื การรคู้ ดิ ต้านทจุ รติ หลักสูตรดงั กลา่ วไดผ้ ่านกระบวนการนำไปทดลองใช้ เพ่อื ปรับปรุงให้ มปี ระสทิ ธิภาพ สำหรับการใชใ้ นกลุ่มเป้าหมายตอ่ ไป นอกจากนี้ คณะอนุกรรมการจดั ทำหลักสูตรหรอื ชดุ การเรียนรู้และสื่อประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ ยงั ได้คดั เลือกสือ่ การเรียนรู้ จากแหลง่ ต่างๆ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ เพอ่ื ประกอบการเรยี นการสอนต่อไป โรงเรียนบา้ นบัวถนน จงึ จดั ทำหลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) เพือ่ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจและทักษะใหแ้ กผ่ ู้เรียนในเรอ่ื งการคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต และ พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม เพ่อื รว่ มกันป้องกันหรือต่อต้านการทุจริต มิใหม้ ีการทุจริตเกิดข้นึ ใน สังคมไทย ร่วมสร้างสังคมไทยทีไ่ ม่ทนต่อการทจุ ริตต่อไป โรงเรยี นบา้ นบัวถนน

ง สารบัญ หน้า ประกาศโรงเรยี น……………………………………………………………………………………..........................................ก คำนำ............................................................................................................................. ..............................ข สารบัญ............................................................................................. ...........................................................ค หลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา…………………………………………………………………………...........…...........................๑ รายละเอียดของหลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา…………………………………………………….......................................๒ หลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน..………………………………………………………………….........................................๓ ช่ือหลกั สูตร..................……………………………………………………………………………………...…..........................๓ จดุ มงุ่ หมายของรายวชิ า……………………………………………………………………………………...….........................๓ คำอธบิ ายรายวชิ า………………………………………………………………………………………………….........................๔ ผลการเรียนรู้………………………………………………………………………………………………………..........................๔ โครงสร้างรายวิชา…………………………………………………………………………………….……………........................๕ กจิ กรรมการเรียนรู้…………………………………………………………………………………………….…..........................๖ ส่ือการเรียนรู้และแหลง่ เรยี นรู้………………………………………………………………………………...........................๖ การวัดและประเมินผล…………………………………………………………………………………………...........................๗ ตารางชว่ั โมงการจดั การเรยี นการสอน……………………………………………………………………..........................๗ แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑…………………………………………………………………………………………...............................๙ หน่วยที่ ๑-๘……………………………………………………………………………...............๑๐-๑๐๘ หน่วยที่ ๒…………………………………………………………………………………………..........................๑๐๙ หนว่ ยที่ ๑-๖…………………………………………………………………………….............๑๑๐-๑๔๒ หน่วยท่ี ๓…………………………………………………………………………………………...........................๑๔๓ หนว่ ยท่ี ๑-๖…………………………………………………………………………................๑๔๔-๑๘๙ หนว่ ยท่ี ๔…………………………………………………………………………………………...........................๑๙๐ หน่วยท่ี ๑-๕…………………………………………………………………………….............๑๙๑-๒๕๕ ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………...........................๒๕๖ เอกสารอา้ งองิ ………………………………………………………………………………………........................๒๕๗ คำส่งั โรงเรยี น………………………………………………………………………………………….....................๒๕๘

1 หลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education) ยทุ ธศาสตรช์ าติว่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ “สรา้ งสังคมท่ีไม่ทนตอ่ การทจุ ริต” ได้มุง่ เนน้ ให้ความสำคญั ในกระบวนการ ปรับสภาพสังคมใหเ้ กิดภาวะท่ี “ไม่ทนต่อการทจุ รติ ” โดยเร่ิมตัง้ แต่กระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คม ในทุกระดบั ชว่ งวัย ต้งั แตป่ ฐมวยั เพ่อื สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจรติ และปลูกฝังความพอเพยี ง มี วินัย ซื่อสตั ย์สจุ ริตยดึ ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชนส์ ว่ นตน เป็นการดำเนินการผา่ นสถาบนั หรือกลมุ่ ตวั แทนทท่ี ำหน้าทีใ่ นการกล่อมเกลาสงั คมให้มคี วามเปน็ พลเมืองที่ดี มีจติ สาธารณะ เสยี สละ เพอ่ื สว่ นรวมและเสริมสร้างให้ทุกภาคสว่ นมพี ฤติกรรมท่ีไม่ยอมรบั และตอ่ ต้านการทุจริตในทุกรปู แบบ และได้กำหนดกลยุทธ์ ๔ กลยุทธ์ กล่าวคือ กลยทุ ธ์ท่ี ๑ ปรับฐานความคดิ ทุกชว่ งวยั ตั้งแต่ปฐมวัยให้ สามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม กลยทุ ธท์ ่ี ๒ ส่งเสริมใหม้ รี ะบบ และกระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมเพือ่ ต้านทจุ ริต กลยทุ ธ์ที่ ๓ ประยกุ ตห์ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นเครอ่ื งมอื ต้านทุจริต และกลยุทธท์ ี่ ๔ เสรมิ พลังการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน (Community)และบูรณาการทุกภาคสว่ นเพ่ือต่อต้านการทุจริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มีคาสง่ั ท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ แต่งต้ัง คณะอนกุ รรมการจดั ทำหลกั สูตร หรอื ชุดการเรียนรูแ้ ละสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกนั การ ทจุ รติ ซงึ่ ประกอบด้วยผทู้ รงคุณวฒุ ิหรือผู้เช่ยี วชาญจากหนว่ ยงานด้านการศึกษา และหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องในการจดั ทำหลักสตู รการเรียนการสอน จากทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมท้งั ผู้ทรงคุณวฒุ ิจากองค์กรภาคเอกชนเพื่อดำเนินการจัดทำหลักสตู รหรอื ชดุ การเรียนรู้และสอื่ ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกันการทจุ รติ นำไปใช้ในการเรียนการสอนใหก้ ับนักเรียน นักศึกษา ในทกุ ระดับชั้นเรยี นท้ังในสว่ นของการศึกษาตั้งแตร่ ะดบั ปฐมวยั อนบุ าล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ท้ังภาครฐั และเอกชน รวมท้ังอาชีวศึกษาและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั นอกจากน้ี ยงั รวมถึงสถาบันการศกึ ษาอ่นื ท่เี กี่ยวข้อง เชน่ สถาบนั การศกึ ษาในสังกัด สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ สถาบนั การศึกษาทางทหาร เป็นต้น เพือ่ ให้ครอบคลุมกลุ่มเปา้ หมายที่ เกี่ยวข้องกบั การศึกษาทัง้ ระบบ รวมทง้ั บคุ ลากรภาครฐั และรฐั วิสาหกิจ รวมทั้งภาคประชาชน เพ่อื เป็นการปลูกฝงั จิตสานึกในการแยกแยะประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวมจิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต และสรา้ งพฤติกรรมทไี่ มย่ อมรับและไมท่ นต่อการทจุ รติ เพ่ือเปน็ การป้องกนั การทุจรติ โดยเริม่ ปลกู ฝงั นักเรียนต้งั แตป่ ฐมวัยจนถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน จึงจัดทำรายวชิ าเพมิ่ เติม “การปอ้ งกนั การทจุ รติ ” ให้สถานศึกษาทุกแห่งนำไปใชใ้ นการจัดการเรยี น การสอนเพื่อปลูกฝงั และสรา้ งวัฒนธรรมตอ่ ต้านการทจุ ริตใหแ้ ก่นกั เรียนสร้างความตระหนักให้ นกั เรียน ยดึ ถือประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตน มีจติ พอเพยี งต้านทุจริต ละอายและเกรง กลัวทีจ่ ะไมท่ ุจริตและไมท่ นต่อการทจุ รติ ทุกรปู แบบ เพ่ือเป็นการป้องกันการทุจริต โดยเร่ิมปลูกฝังนักเรียนต้ังแต่ปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงจัดทำรายวิชาเพ่ิมเติม “การป้องกันการทุจริต” ให้สถานศึกษาทุกแห่งนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือปลูกฝังและสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการ ทุจริตให้แก่นักเรียนสร้างความตระหนักให้นักเรียน ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วน ตน มีจิตพอเพยี งตา้ นทุจริต ละอายและเกรงกลวั ที่จะไม่ทจุ ริตและไม่ทนต่อการทุจริตทกุ รูปแบบ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ในฐานะองค์กรรับผิดชอบการจดั การศึกษา ให้แก่นักเรยี น ตั้งแต่ระดับปฐมวยั จนถึงชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ จึงได้จัดทำรายวชิ าเพ่ิมเติม “การ

2 ป้องกันการทุจรติ ”ประกอบด้วย เน้ือหา ๔ หน่วยการเรยี นรู้ ได้แก่ ๑) การคดิ แยกแยะระหวา่ ง ผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๓) STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต และ ๔) พลเมืองและความรับผิดชอบตอ่ สังคม ซ่ึงท้งั ๔ หนว่ ยน้ี จะจัดทำเปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ตง้ั แต่ชนั้ ปฐมวัย จนถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เพื่อให้ สถานศกึ ษาทุกแห่งนำไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน เพื่อปลกู ฝังและป้องกนั การ ทุจริตใหแ้ ก่ นักเรยี นทุกระดบั ท้งั นี้ เป็นการสร้างพลเมืองทีซ่ ื่อสตั ยส์ จุ ริตใหแ้ กป่ ระเทศชาติ ปัญหาคอรับชันลดลง และดัชนภี าพลกั ษณค์ อรบั ชันของประเทศไทย มีค่าคะแนนสูงขน้ึ บรรลุตามเปา้ ประสงค์ของ ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ย การป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) โรงเรยี นบา้ นบัวถนน หวังเปน็ อยา่ งยงิ่ ว่าหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา : Anti-Corruption Education จะสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและทกั ษะให้แก่ผูเ้ รียนในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต และพลเมอื ง กบั ความรบั ผิดชอบต่อสังคม เพื่อร่วมกันป้องกนั หรือต่อตา้ นการ ทจุ ริต มิใหม้ กี ารทจุ รติ เกิดข้นึ ในสงั คมไทย ร่วมสร้างสังคมไทยที่ไมท่ นต่อการทจุ ริตต่อไป รายละเอยี ดของหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา (Anti-Corruption Education) กรอบการจดั ทำหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรูแ้ ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การ ทุจริต โดยทปี่ ระชมุ ไดเ้ ห็นชอบรว่ มกันในการจดั ทำหลักสูตรหรอื ชดุ การเรียนรู้และสอื่ ประกอบการ เรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต หัวขอ้ วชิ า ๔ วชิ า ประกอบดว้ ย ๑) การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) ความอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๓) STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจรติ ๔) พลเมืองและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม เนื้อหาหลักสตู รหรือชดุ การเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การทุจริต โดยไดแ้ บ่งกล่มุ ตามการเรยี น การสอนในแตล่ ะช่วงชน้ั และการฝกึ อบรมในแต่ละกลมุ่ เปา้ หมาย เป็น ๕ กลุ่ม ดงั น้ี กลุ่ม ๑ หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (ระดับปฐมวยั และป.๑-ม.๖) มีชือ่ หลักสตู รว่า “รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ กล่มุ ๒ หลกั สตู รอุดมศกึ ษา มีชอ่ื หลักสตู ร “วยั ใส ใจสะอาด “Youngster with good heart” กลมุ่ ๓ หลักสตู รกลุ่มทหารและตำรวจ มีชื่อหลักสตู ร “หลักสตู รตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและตำรวจ” กลุม่ ๔ หลักสูตรวิทยากร มชี ื่อหลกั สตู ร “สร้างวิทยากรผูน้ ำการเปล่ยี นแปลงส่สู ังคมท่ีไม่ ทนต่อการทุจริต” กลมุ่ ๕ หลกั สตู รโค้ช มีชือ่ หลักสูตร “โค้ชเพ่ือการรู้คิดตา้ นทุจริต” หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ดำเนินการจดั ทำเปน็ แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยแยกเป็น ๑๓ ระดับชน้ั ปี ได้แก่ ระดับปฐมวัย ระดบั ประถมศึกษาช้นั ปที ี่ ๑ - ๖ และระดับมธั ยมศึกษาชั้นปีท่ี ๑ - ๖ ในแต่ละระดับชัน้ ปี จะใช้เวลาเรียนทัง้ ปี จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ตอ้ งจดั ทำเนื้อหาและกิจกรรมการ เรียนการสอนให้แตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมและการเรยี นร้ใู นแต่ละช่วงวยั

3 หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ชือ่ หลักสตู ร “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต” ตามทส่ี ำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ รว่ มกบั สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง ดำเนนิ การจัดทำหลักสตู รหรอื ชดุ การ เรยี นรู้และสือ่ ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต สำหรับใช้เป็นเนือ้ หามาตรฐานกลางให้ สถาบนั การศึกษาหรือหน่วยงานที่เก่ยี วข้องนำไปใช้ในการเรยี นการสอนให้กบั กลมุ่ เป้าหมาย ครอบคลุมทุกระดับช้นั เรยี น เพ่อื ปลูกฝังจิตสำนกึ ในการแยกประโยชน์สว่ นบคุ คลและประโยชน์ สว่ นรวม จิตพอเพยี ง การไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการทุจริต โดยใชช้ ่ือวา่ หลักสตู รต้านทุจริตศกึ ษา (Anti-Corruption Education) หลักสูตรที่ ๑ หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน โดยมีแนวทางการ นำไปใชต้ ามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน ดงั น้ี ๑.นำไปจัดเปน็ รายวชิ าเพม่ิ เติมของโรงเรียน ๒.นำไปจัดในชัว่ โมงลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ๓.นำไปบูรณาการกบั การจดั การเรียนการสอนในกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระหนา้ ที่พลเมอื ง) หรอื นำไปบรู ณาการกบั กล่มุ สาระการเรยี นรู้อื่น ๆ จดุ ม่งุ หมายของรายวิชา เพื่อใหน้ ักเรียน ๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ ส่วนรวม ๒ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ ๔ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ๕ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๖ ปฏิบัติตนเปน็ ผู้ละอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทุกรปู แบบ ๗ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจริต ๘ ปฏบิ ัติตนตามหน้าทพ่ี ลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาเกยี่ วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ความ ละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทุจรติ รู้หนา้ ที่ของพลเมือง และรบั ผิดชอบต่อสังคมในการต่อตา้ นการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วเิ คราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏบิ ัติจรงิ การทำโครงงาน กระบวนการเรยี นรู้ ๕ ขน้ั ตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกป้ ัญหา ทกั ษะการอา่ น และการเขยี น เพ่ือให้มีความตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อตา้ นและการปอ้ งกันการทุจรติ ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชน์ ส่วนรวม

4 ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต ๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้ละอายและไม่ทนต่อการทจุ ริตทุกรปู แบบ ๗. ปฏิบตั ิตนเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจรติ ๘. ปฏิบัติตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้

5 ระดับมัธยมศึกษา โครงสรา้ งรายวิชา ระดบั มธั ยมศกึ ษาช้นั ปที ่ี ๑ ลำดบั ท่ี หน่วยการเรียนรู้ เร่อื ง รวมช่วั โมง ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ ง ๑๒ ผลประโยชน์ ส่วนตนและ - การคดิ แยกแยะ ๒. ผลประโยชน์ส่วนรวม - ระบบคิดฐาน ๒ ๘ ๓ - ระบบคิดฐาน ๑๐ ๑๐ ความละอายและความไม่ - ความแตกตา่ งระหวา่ ง ทนต่อการทจุ ริต จริยธรรมและการทุจรติ (ชมุ ชน สงั คม) - ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ STRONG / จิตพอเพยี ง สว่ นรวม (ชมุ ชน สังคม) ต้านการทจุ รติ - การขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ น ตน และผลประโยชน์ส่วนรวม (ชุมชน สงั คม) - ผลประโยชน์ทบั ซ้อน (ชุมชน สังคม) - รูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น (ชมุ ชน สังคม) - การทำการบา้ น/ชนิ้ งาน - การทำเวร/การทำความสะอาด - การสอบ - การแต่งกาย / การเข้าแถว - การเลือกตงั้ - กิจกรรมนกั เรยี น (ห้องเรยี น) - ความพอเพยี ง - ความโปรง่ ใส - ความตน่ื รู้ / ความรู้ - ต่อต้านทุจริต - ม่งุ ไปขา้ งหน้า - ความเอื้ออาทร

6 โครงสร้างรายวชิ า ระดับมธั ยมศึกษาชัน้ ปที ่ี ๑ ลำดบั ที่ หนว่ ยการเรียนรู้ เร่ือง รวมชวั่ โมง ๑๐ ๔. พลเมืองกบั ความ - การเคารพสิทธิหนา้ ทตี่ ่อตนเองและผอู้ นื่ รบั ผิดชอบต่อสังคม - ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย ๔๐ - ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผู้อืน่ / สังคม - ความเปน็ พลเมอื ง - ความเปน็ พลโลก * จัดนทิ รรศการ รวม กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิดและแนวการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ทใ่ี ชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เน้นการใชท้ ฤษฎีการเรยี นรู้ การสร้าง ความรู้ ไดแ้ ก่ ๑) ทฤษฎคี อนสตรัคติวสิ ต์ (Construction Theory) ๒) ทฤษฎคี อนสตรัคตวิ ิสตเ์ ชิง สงั คม (Social Constructivism Theory) ๓) ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสตเ์ ชงิ ปัญญา (Cognitive Constructivism) ๔) ทฤษฎีประมวลผลขอ้ มลู (Information Processing Theory) ๕) ทฤษฎีพหุ ปญั ญา (Theory of Multiple Intelligences) ๖) ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื (Cooperative Learning Theory) ในการจัดการเรยี นการสอน โดยภาพรวมจะใชก้ ลยุทธก์ ารสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็น สำคัญ คือจัดตามความแตกต่างของเด็กแต่ละคน ดว้ ยการสอนโดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ คิด สงั เคราะห์ การฝึกปฏบิ ัตจิ ริงการทำโครงงานสืบสวนสอบสวน กระบวนการเรยี นรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การแก้ปัญหาตลอดจนใชเ้ ทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลายเหมาะกับผเู้ รยี นแต่ละ วยั สือ่ การเรียนรูแ้ ละแหล่งเรียนรู้ จดั กจิ กรรมด้วยสอ่ื การเรยี นรู้ท่ีเกีย่ วกับการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ เช่น วีดิโอ ข่าว VTR นิทาน การ์ตูน ภาพยนตรส์ ้ัน เอกสารแก้ทุจริตคิดฐานสอง สื่อสงิ พิมพ์ต่าง ๆ ใบความรู้ ใบ งาน วสั ดุอุปกรณ์ต่าง ตลอดจนแหล่งเรยี นรู้ที่ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการสืบคน้ การวดั และประเมินผล ๑ การประเมินการเรยี นรู้ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือประเมนิ การเรียนรู้ในดา้ น -ความรูค้ วามเข้าใจ -การปฏิบตั ิ -คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ เครอ่ื งมือทใ่ี ชป้ ระเมนิ -แบบสอบ -แบบประเมินการปฏบิ ัตงิ าน

7 -แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงาน ๒ การประเมนิ ผล นกั เรยี นผ่านการประเมนิ ทุกกิจกรรม รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป จงึ จะถือว่าผ่านเกณฑก์ าร ประเมิน ตารางช่วั โมงการจดั การเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย ๔ หนว่ ยการเรยี นรู้ คอื ๑) การคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกับ ผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) ความไม่ทนและความอายตอ่ การทุจรติ ๓) STRONG : จิตพอเพียงต้าน ทุจริต และ ๔) พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม โดยกำหนดช่ัวโมงการจดั การเรยี นการสอนดังน้ี ที่ หน่วยการเรียนรู้ ปฐมวัย ระดับการศกึ ษา ม.๑-ม.๓ (ชวั่ โมง) ป.๑-๓ ป.๔-๖ (ชว่ั โมง) ๑ การคิดแยกแยะระหว่าง (ช่วั โมง) (ชว่ั โมง) ผลประโยชน์สว่ นตนและ ๑๔ ๑๖ ๑๔ ๑๒ ประโยชน์ส่วนรวม ๑๒ ๑๐ ๑๐ ๘ ๒ ความไม่ทนและความอายต่อ ๙ ๑๐ การทจุ ริต ๕ ๔๖ ๑๐ ๔๐ ๔๐ ๓ STRONG : จติ พอเพียงต่อต้าน ๑๐ ๑๐ การทุจริต ๔๐ ๔๐ ๔ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อ สังคม รวม โดยหลักสูตรรายวิชาเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทจุ ริต การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กำหนดเป็น ๑ หลักสตู ร และแยกเปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ระดับปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษาช้ันปที ่ี ๑ - ๖ ระดบั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ทงั้ นี้ ในแตล่ ะระดับชน้ั ปี จะใชเ้ วลาเรยี นทง้ั ปี จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ซ่งึ จะมเี นื้อหาและกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีแตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมและการเรยี นรใู้ นแตล่ ะ ช่วงวัย

8 หนว่ ยท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชนส์ ว่ นรวม -

9 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชอื่ หนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง การคดิ แยกแยะ เวลา ๒ ชวั่ โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส าคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทุจริต ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั การแยกแยะสาเหตุปอ้ งกันการทจุ รติ และทิศทางการ ป้องกนั การทุจริตระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมในประเทศ ๒.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๒.๓ ตระหนกั และเห็นความส าคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) สาเหตขุ องการทุจรติ และทศิ ทางการป้องกนั การทุจริตในประเทศไทย ๒) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest) ๓) แก้ “ทจุ ริต” ต้องคดิ แยกแยะ ปรับวธิ คี ดิ พฤติกรรมเปลี่ยน สงั คมเปลยี่ นประเทศชาติ เปล่ียน โลกเปลยี่ น ๔) ตวั อยา่ งสาเหตุของการทุจรติ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการคิด (การคิดวิเคราะห)์ ๒) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟงั พูด เขียน) ๓) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ (วิเคราะห์ จดั กลมุ่ สรุป) ๓.๓ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ / ค่านิยม ๑) ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสง่ิ ท่ดี งี ามเพอ่ื สว่ นรวม ๒) มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผู้อืน่ เผ่อื แผ่และแบง่ ปัน ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ จ านวน ๒ ชวั่ โมง ช่วั โมงที่ ๑ ๑. ครนู ำขา่ ว อวสานแผงค้าริมทางหลวง ล่นั ภายใน ๒ ปี รอื้ เกลยี้ ง มาให้นกั เรียนดู จากน้ัน ครูให้ นักเรียนจบั คู่สนทนาท่ไี ดด้ ูขา่ ววา่ เกิดอะไร เพราะเหตุใด ๒. ครูนำภาพแม่ค้าท่ีขายของริมทาง มาใหน้ ักเรียนดูที่หนา้ ชัน้ เรยี นแลว้ ให้นกั เรียนอา่ นออก เสยี งอย่าง ชดั เจนพร้อมๆ กนั แลว้ ใหน้ ักเรียนช่วยกันจำแนกแยกแยะ ประโยชนเ์ พื่อสว่ นตนหรือเห็น

10 ต่อประโยชน์ สว่ นรวม ๓. นกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งแล้วครอู ธบิ ายใหน้ ักเรยี นทราบวา่ การคิดแยกแยะ ประโยชนเ์ พอื่ สว่ นตนหรือเห็นตอ่ ประโยชน์ส่วนรวม และสามารถสะทอ้ นให้เห็นถึงวถิ ชี วี ิตและสภาพ นน้ั ๆ ๔ . ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาความรู้เร่อื ง ขา่ ว อวสานแผงค้ารมิ ทางหลวง ลั่น ภายใน ๒ ปี ร้อื เกลี้ยง จากข่าวแลว้ ให้นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นวา่ แผงค้าริมทางหลวงมขี ้อดีอยา่ งไร ( สะดวกใน การซ้อื ของ/ ชาวบา้ นมรี ายได้....) การร้อื แผงคา้ รมิ ทางหลวงสง่ ผลกระทบอย่างไร (ชาวบ้านขาด รายได)้ รายไดข้ องแม่ค้าเปน็ ประโยชน์ส่วนตนหรอื ประโยชน์ส่วนรวม (ประโยชน์ส่วนรวม) นักเรียน เห็นดว้ ยหรือไม่อยา่ งไร พร้อมท้งั นำเสนอหนา้ ช้นั เรียน ๕. นกั เรยี นจัดทำ Mind Map อวสานแผงค้ารมิ ทางหลวง ชวั่ โมงที่ ๒ ๖. นกั เรียนจับคู่กบั เพื่อนสนิท หรือตามความพอใจของนักเรียน เพื่อร่วมกนั ทำกิจกรรม สำารวจตนเองและเพ่ือน ในโรงเรยี นเพื่อหาสาเหตุของการทุจรติ ๗. ครูแจกกระดาษขนาด A๔ ใหน้ กั เรยี นคู่ละ ๑ แผ่น แล้วให้นักเรียนเดินส ารวจสงิ่ ทอี่ ยใู่ กล้ บริเวณโรงเรยี น แล้วจดบันทึกในส่ิงท่ีนักเรยี นพบเห็น โดยใช้เวลาในการสำรวจ ๒๐ นาที แล้ว สรปุ ผลการสำรวจ จากน้ันให้นักเรียน บอกบรเิ วณท่เี ป็นสาเหตทุ ท่ี ำให้เหน็ ว่าอะไรเปน็ ประโยชนส์ ่วน ตนหรอื ประโยชนส์ ่วนรวมแลว้ ครชู ี้แจงให้นกั เรียน ทราบวา่ การคดิ แยกแยะเปน็ สาเหตสุ ำคญั ที่ส่งผล กระทบต่อชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ ทำเปน็ Mind Map ๘. ให้นกั เรียนศกึ ษาความรูเ้ รอื่ ง ความเส่ือมโทรมของชมุ ชน ท่เี กดิ จากการเห็นประโยชนเ์ พอ่ื ส่วนตนหรอื เห็นตอ่ ประโยชน์สว่ นรวม และผลกระทบจาก ความเสื่อมโทรมของการเหน็ ประโยชน์ เพอื่ สว่ นตนหรอื เหน็ ต่อประโยชน์ ส่วนรวม จากหนังสือเรยี น ขา่ ว วดี ีทศั น์ ๙. ใหน้ กั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั สาเหตทุ ่ีจะต้องแก้ “ทุจริต” ต้องคิดแยกแยะ ปรบั และ ผลทเ่ี กิดข้ึนจากการเปลยี่ นแปลงการขดั กันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม ในรูปแบบตา่ งๆครูช่วยสรุปผลการแสดงความคดิ เหน็ และให้ค าแนะน าเพ่มิ เติม นกั เรยี นจดบนั ทึก ลงสมดุ ๑๐. นักเรยี นทีม่ ปี ระสบการณใ์ นการเข้าร่วมกิจกรรมการคิดแยกแยะออกมาเลา่ ประสบการณ์ และบอก ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการรว่ มกจิ กรรมใหเ้ พื่อนฟัง ๑๑. นักเรียนศกึ ษาความรูเ้ ร่อื งการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชน์สว่ นรวมใน รูปแบบตา่ งๆ จากหนังสือเรียน สอ่ื วดี ีโอ คลิป ๑๒. นักเรยี นชว่ ยกนั ออกมาเขยี นวธิ ีการแก้ การทุจรติ ท้ังทางตรง และทางอ้อม ระหวา่ ง ประโยชนส์ ว่ นตน กับประโยชน์สว่ นรวมในรปู แบบตา่ งๆลงในตารางท่ีครูเขียนบนกระดานหนา้ ช้ัน เรยี น ๑๓. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ แลว้ รว่ มกันอภิปรายในประเดน็ ที่กำหนดและจดั ทำโพสเตอรก์ าร ต่อตา้ นการ ป้องกนั การทุจรติ ของโรงเรียนและชุมชน (กรณีศึกษา) และนำไปเดินรณรงค์ภายใน โรงเรียน ๔.๒ ส่ือการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) ขา่ ว อวสานแผงค้าริมทางหลวง ลน่ั ภายใน ๒ ปี รอื้ เกล้ยี ง ๒) หนังสือเรียน/หนังสือพมิ พ์

11 ๓) ภาพขา่ ว ๔) วดี ีทัศน์เรอ่ื ง ๕) แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรยี น ชมุ ชน /สถานการณท์ ี่พบไดใ้ นชุมชน ๖) ห้องสมุดโรงเรยี น ๗).ห้องเทคโนโลยใี นโรงเรียน ๘) ใบความรู้ เร่ือง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตัวและผลประโยชน์ สว่ นรวม ๙) ภาพแม่คา้ ท่ขี ายของรมิ ทาง ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน รายการประเมิน คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ / ระดับคะแนน ๑.มคี วามเขา้ ใจ ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) เก่ยี วกบั ผลประโยชน์สว่ นตน มีความเขา้ ใจเกีย่ วกบั มคี วามเข้าใจเกยี่ วกบั มคี วามเข้าใจเก่ียวกบั กบั ผลประโยชน์ ผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นตน ผลประโยชนส์ ่วนตน สว่ นรวม ผลประโยชนส์ ว่ นรวมใน กบั กบั รูปแบบตา่ งๆไดค้ รบถว้ น ผลประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์สว่ นรวม ในรปู แบบต่างๆได้ ในรูปแบบตา่ งๆได้ บางส่วน รายการประเมิน คำอธิบายระดบั คุณภาพ / ระดับคะแนน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรุง (๑) ๒.สามารถคิด สามารถคิดแยกแยะ สามารถคดิ แยกแยะ สามารถคดิ แยกแยะ แยกแยะระหวา่ ง ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ น ระหวา่ งผลประโยชน์ ระหวา่ งผลประโยชน์ ผลประโยชนส์ ว่ นตน ตนกบั ผลประโยชน์ ส่วนตนกบั สว่ นตนกบั กบั ผลประโยชน์ ส่วนรวมได้ในรูปแบบ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ผลประโยชน์ส่วนรวม สว่ นรวมไดใ้ น ตา่ งๆได้ ได้ในรูปแบบต่างๆได้ ได้ในรูปแบบต่างๆได้ รปู แบบตา่ งๆได้ ๓.ตระหนักและเห็น ๓.ตระหนักและเหน็ ๓.ตระหนกั และเหน็ ๓.ตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการ ความสำคญั ของการ ความสำคญั ของการ ความสำคญั ของการ ต่อตา้ นและป้องกัน ต่อต้านและปอ้ งกันการ ตอ่ ตา้ นและปอ้ งกัน ตอ่ ต้านและป้องกัน การทุจรติ ในรปู แบบ ทุจริตในรปู แบบตา่ งๆ ได้ การทุจรติ ในรปู แบบ การทุจริตในรปู แบบ ต่างๆ ได้ ตา่ งๆ ได้ ตา่ งๆ ได้

12 ๕.๒ เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล ๒.ใบงาน(กรณีศึกษา) ๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๗-๙ ดี ๔-๖ ๑-๓ พอใช้ ปรับปรงุ ๖. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงชอื่ ........................................ครูผสู้ อน (..................................................) ๗. ความคดิ เหน็ ผ้บู รหิ าร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ลงช่อื .....................................ผู้บรหิ าร (นายจรัญ วารนิ ทร์) ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นบัวถนน ๘. ภาคผนวก - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล - แบบสังเกตพฤติกรรม ซื่อสตั ยส์ จุ รติ ”

13 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผเู้ รียนเป็นรายบุคคล กลุ่มท่ี…….......... คำชแี้ จง ผู้สอนสงั เกตการณ์ทำงานของผูเ้ รยี นโดยทำเคร่อื งหมายถกู ลงในช่องทต่ี รงกบั ความเป็นจริง พฤติกรรม ความสนใจ การมีสว่ น การรับฟัง การตอบ ความ รวม ในการเรยี น รว่ มแสดง ความคิดเห็น คำถาม รบั ผิดชอบ คะแนน ความคิดเห็น ของผู้อื่น ต่องานที่ ช่อื สกลุ ๒ ๑ ๐ ในการ ๒๑๐ ได้รับ ๑๐ ๑ อภิปราย ๒๑๐ มอบหมาย ๒ ๓ ๒๑๐ ๒๑๐ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑ์การประเมนิ ให้คะแนน ๐-๔ ถา้ การทำงานนน้ั อยใู่ นระดับต้องปรบั ปรุง ใหค้ ะแนน ๕-๗ ถา้ การทำงานนน้ั อยู่ในระดับพอใช้ ใหค้ ะแนน ๘-๑๐ ถ้าการทำงานน้ันอยู่ในระดับดี ลงชอ่ื ……………………………………………………ผปู้ ระเมิน (…………………………………………………..)

14 แบบสงั เกตพฤติกรรม ซอื่ สตั ย์สุจรติ ” คำชแ้ี จง ทำเครอื่ งหมาย ในช่องท่ตี รงกบั ความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน ชอื่ สกลุ ๑ใหข้ อ้ มูลที่ ๒ปฏบิ ตั ิตาม ๓ ปฏบิ ัติตน ๔ไม่หา รว ผล เลข ท่ี ถกู ต้องและเปน็ โดยคำนึงความ ตอ่ ผอู้ ่ืนดว้ ย ผลประโยชน์ ม การ จรงิ ถกู ต้องละอาย ความซ่ือสัตย์ ในทางที่ไม่ คะ ประ เกรงกลวั ต่อ ถกู ต้อง แน เมิน การกระทำผดิ น ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ผ่ ไ า ม่ น ผ่ า น (ลงชือ่ )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............

15 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ ๑ ชื่อหนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง ระบบคดิ ฐานสอง เวลา ๒ ช่วั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๒.๑ มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๒.๓ ตระหนกั และเห็นความส าคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ระบบคดิ ฐานสอง ๒.๒ นักเรยี นสามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๒.๓ นกั เรียนตระหนักและเหน็ ความส าคญั ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั การทจุ ริต ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ระบบคดิ “ฐานสอง( Digital)” เปนระบบการคิดวเิ คราะหขอมลู ทส่ี ามารถเลือกไดเพยี ง ๒ ทางเท่าน้นั คือ ๐ (ศนู ย์) กบั ๑ (หนง่ึ ) และอาจหมายถึงโอกาส ท่ีจะเลือกไดเพียง ๒ ทาง เช่น ใช้ กับ ไมใ่ ช้, จรงิ กบั เท็จ, ทำได้ กบั ทำไม่ได,้ ประโยชน์ ส่วนบุคคล กบั ประโยชน์ส่วนร่วม เป็นต้น ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร (ทักษะการอ่าน) ทักษะการฟงั ทกั ษะการพูด ทกั ษะการเขียน ๒) ความสามารถในการคิด (ทกั ษะการวิเคราะห์ ทักษะการจดั กลุ่ม ทกั ษะการสรปุ ) ๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ / ค่านยิ ม ๑) ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ุดมการณ์ในส่งิ ท่ดี งี ามเพ่ือส่วนรวม ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนโดยการจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื : เทคนิคร่วมกนั คดิ ๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑) ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับปญั หาการทจุ รติ ในประเทศไทย และผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ จากการทุจรติ ๒) ครอู ธิบายและยกตัวอยา่ งการทุจริตท่ีเกิดขึน้ ในประเทศไทยและผลกระทบที่ เกิดข้นึ จากการทุจริต ๓) ครแู บง่ นักเรียนเป็น ๕ กลมุ่ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ศกึ ษาวีดีทศั นเ์ ร่ืองแก้ทจุ ริตคิดฐาน สอง ๔) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั สนทนาแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นเก่ียวกบั ระบบคิด

16 ฐาน สอง ตามประเด็นทก่ี ำหนดดังนี้ - ระบบคดิ ฐานสอง คืออะไร - จงยกตัวอย่างผลการดำเนินการตามระบบคดิ ฐานสอง - มคี วามจำเปน็ ที่จะตอ้ งนำระบบคิดฐานสองมาประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชวี ติ ประจำวันหรอื ไมอ่ ย่างไร - ระบบคิดฐานสองสามารถแกป้ ัญหาการทุจริตได้หรือไม่อย่างไร - ระบบคดิ ฐานสองแตกต่างกับระบบคดิ ฐานสบิ อยา่ งไร ๕) ครูสรุปความร้เู ร่ืองระบบคดิ ฐานสอง ๖) ครยู กตวั อยา่ งสถานการณ์ดงั นี้ นายปรีชาเป็นข้าราชการแล้วน ารถยนตห์ ลวงมา ขบั พาครอบครัวไปเทีย่ วพักผ่อนทีต่ า่ งจังหวัด ๗) ครูซกั ถามนกั เรียนวา่ นายปรชี าคดิ ถูกหรือผิดทนี่ ารถยนต์หลวงไปใช้ ๘) ครูสรปุ ว่าการคดิ ของนายปรชี าเปน็ การคดิ ระบบฐาน ๒ ๙) แบง่ กลุ่มนกั เรียนเป็น ๕ กล่มุ แลว้ ให้นักเรียนชว่ ยกันคดิ สถานการณ์ท่เี ป็นการ ทุจริต (ระบบคดิ ฐานสอง)ลงในใบงานเรื่องป้องกนั อย่างไรดี ๑๐) นักเรียนแตล่ ะกล่มุ น าเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี นลงในใบงาน ชวั่ โมงที่ ๒ ๑๑) ครถู ามนักเรยี นว่าถ้าทุกคนไม่ทุจรติ ประเทศไทยจะดขี ึน้ หรือไมอ่ ย่างไรเพ่ือ กระตนุ้ ความคิดผ้เู รยี น ๑๒) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุป การแก้ปัญหาการทุจรติ ด้วยระบบคดิ ฐานสอง ๑๓) ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ การนำความรทู้ ีไ่ ดไ้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันของ ตนเอง ๑๔) นกั เรยี นทำแบบทดสอบ แลว้ รว่ มกนั เฉลยให้ถูกต้อง ๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๔.๒.๑ สื่อการเรียนรู้ ๑) ใบความรู้ เรอื่ งระบบคดิ ฐานสอง ๒) ใบงาน เรอ่ื งระบบคดิ ฐานสอง ๓) แบบทดสอบ ๔) วีดีทศั น์ เรอื่ ง แกท้ ุจริต คดิ ฐานสอง ๕) เครื่องคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชอ่ื มต่อระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ๔.๒.๒ แหล่งเรยี นรู้ ๑) ห้องสมดุ โรงเรยี น ๒) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://web.uprightschool.net/ - https://www.nacc.go.th/more_news.php?cid=๕๙๒ - https://youtu.be/FEfrARhWnGcการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕ วิธกี ารประเมิน

17 ๕.๑.ตรวจใบงานเรือ่ ง ปอ้ งกนั อย่างไรดี ๕..๒ ประเมินการนำเสนองาน ๕..๓ สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ๕..๔ สงั เกตคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน ๕.๓.๑ ใบงานทเี่ รื่อง ป้องกนั อยา่ งไรดี - นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดขี ้ึนไป ๕.๓.๒ แบบประเมนิ การน าเสนอผลงาน - นักเรียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมิน ใน ระดบั ดีขน้ึ ไป ๕.๓.๓ แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล - นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดีขน้ึ ไป ๕.๓.๔ แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดบั ดขี ึ้นไป ๖. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................... .................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ....................................................................................................................................................... ..... ลงชือ่ ........................................ครผู ูส้ อน (..................................................) ๗. ความคดิ เหน็ ผูบ้ รหิ าร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงชอ่ื .....................................ผูบ้ รหิ าร (นายจรญั วารินทร์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านบวั ถนน ๘.ภาคผนวก - แบบสงั เกตพฤติกรรม “ซ่ือสัตยส์ จุ รติ ” - ใบความรู้ เรอื่ งระบบคิดฐานสอง - ใบงาน เร่ืองปอ้ งกันอย่างไรดี - ใบงานท่ี ๑ เร่ือง ระบบคิดฐานสอง (Digital)

18 - แบบประเมินการนำเสนอผลงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - แบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ “ระบบการคดิ ฐานสอง” - เฉลยแบบทดสอบ - หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ “ระบบการคิดฐานสอง” - เฉลยแบบทดสอบ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ “ระบบการคดิ ฐานสอง”

19 แบบสงั เกตพฤติกรรม “ซื่อสตั ย์สจุ ริต” คำชีแ้ จง ทำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งทตี่ รงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน เลข ชอ่ื -สกลุ ๑ให้ขอ้ มลู ที่ ๒ปฏิบตั ติ าม ๓ ปฏบิ ตั ิตน ๔ไมห่ า รวม ผลการ ท่ี ถกู ต้องและ โดยคำนึง ต่อผู้อื่นด้วย ผลประโยชน์ คะ ประ แน เมิน เป็นจรงิ ความถกู ต้อง ความซอื่ สัตย์ ในทางท่ีไม่ น ละอายเกรง ถูกต้อง กลวั ตอ่ การ กระทำผิด ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ผ่ ไม่ า ผา่ น (ลงชอื่ )...................................ครผู ปู้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............

20 ใบความรู้ เรอื่ ง ระบบคิดฐานสอง (Digital) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสอง (Digital)” เป็นระบบการคดิ วิเคราะห์ข้อมลู ทสี่ ามารถเลือกได้เพียง ๒ ทางเท่านน้ั คือ ๐ (ศูนย์) กบั ๑ (หนึ่ง) และอาจหมายถึงโอกาส ทีจ่ ะเลือกได้เพยี ง ๒ ทาง เช่น ใช่ กบั ไมใช่, จรงิ กับ เทจ็ , ทำได้ กับ ทำไม่ได,้ ประโยชน์ส่วนตน กับ ประโยชนส์ ่วนรวม เป็นต้น จงึ เหมาะกับการนำมาเปรียบเทยี บกับ การปฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าทข่ี อง รัฐที่ต้องสามารถแยกเร่ืองตำแหน่งหน้าท่ีกบั เร่ืองส่วนตัวออกจาก กันได้อย่างเดด็ ขาด และไม่กระทำการท่ี เป็นการขัดกนั ระหว่างประโยชนส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม “การปฏิบตั ิงานแบบใช้ระบบคิดฐานสอง (Digital)” คือ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีระบบการคิดทสี่ ามารถแยกเรอ่ื งตำแหน่งหน้าท่ีกบั เรื่อง สวนตนออกจากกันได้อย่างชัดเจน ว่าส่งิ ไหนถกู สิง่ ไหนผดิ ส่ิงไหนทำได้สิง่ ไหนทำไม่ได้ สิ่งไหนคือ ประโยชน์ส่วนตน สง่ิ ไหนคอื ประโยชนส่วนรวม ไม่นำมาปะปนกนั ไม่นำบุคลากรหรือทรัพยสนิ ของ ราชการมาใช้เพ่ือ ประโยชน์สวนตน ไมเบียดบงั ราชการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมหรือของหน่วยงาน เหนือกว่าประโยชนของส่วนตน เครอื ญาติ และพวกพ้อง ไม่แสวงหาประโยชน์จากตำแหน่งหน้าท่ี ราชการ ไม่รับทรัพยสนิ หรือประโยชนอื่นใดจากการปฏบิ ัติหน้าที่กรณีเกดิ การขดั กนั ระหวาง ประโยชน์ ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ก็จะยึดประโยชน์ส่วนรวม เป็นหลกั

21 ใบงานเร่ือง ป้องกันอยา่ งไรดี คำช้แี จง ให้นกั เรยี นเขยี นสถานการณท์ ีเ่ ป็นการคิดทจุ ริต (ระบบฐานสอง) พร้อมท้ังบอก วธิ กี าร ปอ้ งกันการทจุ ริต สถานการณ์ท๑ี่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วธิ ีป้องกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… สถานการณ์ท๒ี่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วธิ ปี ้องกนั …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… สถานการณ์ท๓่ี …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิธีปอ้ งกนั …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

22 ใบงานที่ ๑ เร่ือง ระบบคิดฐานสอง (Digital) คำสง่ั ๑. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มลู จากวีดที ศั น์ เรื่อง แก้ทุจริต “คดิ ฐานสอง” ใชเ้ วลา ๔.๓๗ นาที ๒. ใหน้ ักเรยี นเตรียมอภปิ รายพร้อมทง้ั นำเสนอหน้าช้ันเรียนในหัวข้อดังต่อไปน้ี ๒.๑ ระบบคิดฐานสอง คืออะไร ๒.๒ จงยกตวั อยา่ งผลการดำเนนิ การตามระบบคิดฐานสอง ๒.๓ มีความจำเปน็ ทจี่ ะต้องนำระบบคิดฐานสองมาประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั หรือไม่อย่างไร ๒.๔ ระบบคิดฐานสอง สามารถแก้ปัญหาการทุจรติ ได้หรอื ไม่อย่างไร ๒.๕ ระบบคิดฐานสองแตกต่างกบั ระบบคดิ ฐานสบิ อย่างไร

23 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน เรอ่ื ง ระบบคดิ ฐานสอง คำชแี้ จง ใหค้ รูสอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกำหนด แลว้ ขดี √ ลง ในช่องที่ ตรงกับคะแนน ลำดบั รายการประเมนิ ระดับคะแนน ที่ ๔ ๓๒๑ ๑ เน้ือหาละเอยี ดชัดเจน ๒ ความถกู ต้องของเนอื้ หา ๓ ภาษาทีใ่ ชเ้ ขา้ ใจงา่ ย ๔ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนำเสนอ ๕ วธิ ีการนำเสนอผลงาน รวม ลงชอ่ื ..................................................................... ผูป้ ระเมนิ .........../............................./..................... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางสว่ น ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งมาก เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๘ – ๒๐ ดมี าก ๑๔ – ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ ากว่า ๑๐ ปรบั ปรุง

24 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานของผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล กล่มุ ที่…….......... คำช้แี จง ผู้สอนสังเกตการณ์ทำงานของผ้เู รียน โดยทำเคร่ืองหมายถกู ลงในช่องท่ีตรงกบั ความเป็น จริง พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ่วน การรับฟัง การตอบ ความ รวม ในการเรียน ร่วมแสดง ความคดิ เหน็ คำถาม รบั ผิดชอบ คะแนน ความคดิ เห็น ของผู้อื่น ตอ่ งานท่ี ในการ ได้รบั ชื่อสกลุ อภปิ ราย มอบหมาย ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๑๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่อื ……………………………………………………ผู้ประเมนิ (…………………………………………………..) เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณช์ ัดเจน ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบูรณช์ ดั เจน ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ ๐ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๙-๑๐ ดีมาก ๗-๘ ดี ๕-๖ พอใช้ ๐-๔ ปรบั ปรุง

25 แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรยี น เลข พฤติ ๑.มีความ ๒.ซื่อสตั ย์ ๓.ใฝห่ า ๔.มีศลิ ๕.มี ๖.มคี วาม หม เขม้ แข็งทั้ง ท่ี กรรม รกั ชาติ เสยี สละ ความรู้ ธรรมรักษา ระเบียบ รา่ งกายและ าย ศาสนา อดทนมี หมน่ั ศกึ ษา ความสตั ย์ วนิ ัย จิตใจไมย่ อม เหตุ พระ อดุ มการณ์ เล่าเรยี น หวงั ดีต่อ เคารพ แพต้ ่ออำ มหากษ ในสง่ิ ที่ดี ท้ังทางตรง ผอู้ นื่ เผอ่ื แผ่ กฎหมาย นาจฝ่ายตำ่ ตริย์ งามเพื่อ และ และ ผนู้ ้อย หรือกเิ ลสมี ส่วนรวม ทางอ้อม แบ่งปัน รจู้ ักการ ความละอาย เคารพ เกรงกลวั ตอ่ ช่อื ผู้ใหญ่ บาปตามหลกั ของศาสนา สกุล ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓๒๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงชอื่ ……………………………………………………ผปู้ ระเมิน (…………………………………………………..) เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องบางส่วน ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๑๘ ดีมาก ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ตำ่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรุง

26 แบบทดสอบ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ “ระบบการคิดฐานสอง” คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบมีท้ังหมด ๑๐ ขอ้ ข้อละ ๑ คะแนน ๒. ใหน้ กั เรยี นเขียนคำตอบที่ตรงกับความคิดของนักเรียนมากท่ีสดุ ๑. นักเรยี นเหน็ เพือ่ น ๆ นำโทรศัพทส์ ่วนตวั มาชาร์จแบตเตอรท่ี ีโ่ รงเรยี น นกั เรยี นคิดว่าเหมาะสม หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .......................................... .................... ๒. “การรบั จา้ งทำรายงานเป็นเรอ่ื งปกติ เพราะใคร ๆ ก็ทำกนั ท้งั น้นั ” นักเรียนเหน็ ด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................... .................... ๓. นักเรียนรู้สึกอย่างไรเม่อื เห็นเพอ่ื น ๆ ลอกข้อสอบหรือลอกการบ้านอยูเ่ ป็นประจ า ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................................................................. ............................. ๔. จากค ากล่าวทว่ี ่า “ฉันพร้อมทจ่ี ะยอมรับผดิ ถ้าทำผิด” นักเรียนเหน็ ดว้ ยหรอื ไมเ่ พราะเหตุใด ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ............................. ๕. การใช้น้ำประปาของโรงเรียนล้างรถจกั รยานยนต์ของตนเอง นักเรยี นคดิ ว่าเป็นการกระทำที่ เหมาะสม หรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .................................................................................................................................... ...................... .......................................................................................................................................................... ๖. นักเรยี นเขา้ ไปคน้ หาข้อมลู ในหอ้ งสมดุ เพื่อทำรายงาน แตไ่ ม่อยากไปยมื หนงั สือจึงฉีกหนงั สือ เฉพาะหน้าท่ี จำเปน็ ต้องใช้การกระทำดังกล่าวถูกต้องหรอื ไมเ่ พราะเหตใุ ด ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ๗. มคี ำกล่าวท่ีวา่ “ทุจรติ บ้างไม่เปน็ ไรถ้าเราไดป้ ระโยชน์ ” นกั เรียนเหน็ ด้วยหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

27 ตอบ ............................................................................................................................ .............................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ๘. การวางแผงขายของบนทางเท้าของพ่อคา้ /แม่คา้ เปน็ ส่งิ ทส่ี มควรกระทำหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................ ....................... ๙. นักเรยี นเห็นดว้ ยกบั การรับจ้างสอนพิเศษของครหู รอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................................................................. ............................. ๑๐. จากคำกลา่ วท่ีว่า “การป้องกนั การทจุ รติ คอร์รปั ชนั เป็นเร่อื งของผ้ใู หญ่ ไม่เกย่ี วกบั เด็กและ เยาวชน” นกั เรียนเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................................................................. ............................. เกณฑก์ ารตดั สินพฤตกิ รรม ชว่ ง พฤติกรรม ระดบั คะแนน คณุ ภาพ ๙-๑๐ เดก็ มีพฤติกรรมเหน็ แกประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตน ดีมาก ๖-๘ เดก็ มีพฤติกรรมค่อนข้างเห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน ดี ๓-๕ เดก็ มีพฤติกรรมเหน็ แกประโยชนส์ ว่ นตนมากกว่าสว่ นรวม พอใช้ ๐-๒ เด็กมีพฤติกรรมเห็นแกประโยชนส์ ่วนตนมากกวา่ ส่วนรวม ปรับปรุง

28 เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ “ระบบการคดิ ฐานสอง” ๑. นักเรยี นเหน็ เพอื่ น ๆ นำโทรศพั ท์สว่ นตัวมาชารจ์ แบตเตอรท่ี ี่โรงเรยี น นกั เรยี นคิดวา่ เหมาะสม หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ...ไมเ่ หมาะสมเนิ่องจากการกระทำดังกลา่ วเปน็ การเห็นแกประโยชน์สว่ นตัวทำให้โรงเรียนตอ้ ง มภี าระคา่ ใชจ้ ่ายเพ่ิมมากข้นึ จากการนำโทรศัพท์ส่วนตวั มาชารจ์ แบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน ๒. “การรบั จา้ งทำรายงานเป็นเร่อื งปกติ เพราะใคร ๆ ก็ทำกันทั้งนน้ั ” นักเรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ......ไม่เหน็ ดว้ ยเนอ่ื งจากคนท่ีรบั จา้ งมงุ่ แต่ประโยชน์ตนเองเปน็ หลกั เพราะการรับจ้างทำ รายงานมงุ่ แตห่ ารายได้และเป็นการสง่ เสริมให้คนที่จา้ งขาดความร้แู ละความวิริยะ อุตสาหะและ ความรับผดิ ชอบในหนา้ ที่และการทำรายงานเปน็ หนา้ ทขี่ องนักเรยี นทกุ คนทมี่ ีความรบั ผิดชอบหน้าที่ ของตนเอง ๓. นกั เรียนรสู้ ึกอยา่ งไรเม่อื เห็นเพ่อื น ๆ ลอกข้อสอบหรือลอกการบา้ นอยูเ่ ป็นประจ า ตอบ ...รูส้ กึ ไมเ่ หน็ ด้วยเพราะเปน็ การกระทำท่ีเอารัดเอาเปรียบผู้อื่นไม่ใช้ความรู้ความสามารถของ ตนเองเหน็ แก่ประโยชน์สว่ นตัวเป็นหลกั ทำให้ขาดความรู้ ความวิริยะ อตุ สาหะและความรับผิดชอบ ในหน้าที่ ๔. จากคำกล่าวท่วี ่า “ฉนั พร้อมที่จะยอมรบั ผิดถา้ ทำผิด” นักเรียนเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่เพราะเหตุใด ตอบ .....เห็นดว้ ยเพราะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความรับผดิ ชอบเมื่อทำผดิ ต้องร้สู ำนึกทกุ คนสามารถทำผดิ ได้ แตท่ ส่ี ำคัญตนเองต้องรู้จักปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดน้ัน ๕. การใช้น้ำประปาของโรงเรียนล้างรถจักรยานยนต์ของตนเอง นกั เรียนคิดว่าเปน็ การกระท าที่ เหมาะสม หรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ..........ไมเ่ หมาะสม เพราะเป็นการนำทรพั ยส์ ินของโรงเรยี นมาใชเ้ พ่ือประโยชน์สว่ นตัวโดยไม่ จำเปน็ ทำใหโ้ รงเรยี นตอ้ งจา่ ยค่านำ้ ประปาเพิ่มเตมิ ๖. นักเรียนเข้าไปคน้ หาข้อมลู ในห้องสมดุ เพ่ือทำรายงาน แต่ไม่อยากไปยืมหนังสือจงึ ฉีกหนงั สือ เฉพาะหน้าท่ี จำเป็นต้องใชก้ ารกระทำดังกลา่ วถูกตอ้ งหรอื ไมเ่ พราะเหตใุ ด ตอบ ........ไม่ถกู ต้อง เพราะเปน็ การกระทำท่ีทำใหท้ รัพยส์ ินของโรงเรียนเสยี หายโดยทรัพยส์ นิ ของ โรงเรยี นตอ้ งใช้เพ่ือส่วนรวมเหน็ แกป่ ระโยชน์สว่ นตนมากกว่าประโยชนส์ ่วนรวมทำใหผ้ ูอ้ น่ื ไมส่ ามารถ ใชป้ ระโยชนจ์ ากหนงั สือดงั กล่าว ๗. มีคำกลา่ วทว่ี า่ “ทุจรติ บ้างไม่เป็นไรถา้ เราได้ประโยชน์ ” นกั เรยี นเหน็ ด้วยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .......ไมเ่ ห็นดว้ ย เพราะการทุจริตเป็นการกระทำทผี่ ิดกฎหมายถึงแมเ้ ราจะไดป้ ระโยชนแ์ ต่ ส่วนรวมก็เสียหาย

29 ๘. การวางแผงขายของบนทางเทา้ ของพอ่ ค้า/แม่ค้า เป็นส่ิงทส่ี มควรกระท าหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ..........ไม่ควรกระทำเพราะทางเทา้ เป้นทางสาธารณะเพอ่ื ประโยชน์สว่ นรวมให้ประชาชนใช้ สัญจรให้เกิดความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตบุ นท้องถนนการวางแผนขายของบนทางเทา้ เป็นการ ขวางทางสญั จรของประชาชนจะทำให้ประชาชนต้องไปเดนิ บนถนนอาจก่อให้เกดิ อุบตั เิ หตุได้ ๙. นกั เรยี นเห็นด้วยกับการรับจา้ งสอนพิเศษของครหู รอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .....ไม่เหน็ ด้วยเน่ืองจากครตู ้องไม่เลือกปฎบิ ัติต่อนกั เรียนไมว่ ่าจะเรียนพิเศษหรอื ไมโ่ ดยยึด ประโยชนส์ ว่ นรวมของนกั เรียนเป็นหลักมากวา่ ประโยชนส์ ว่ นตนจากการไดร้ บั คา่ ตอบแทน ๑๐. จากคำกลา่ วท่ีวา่ “การป้องกนั การทุจรติ คอร์รปั ชนั เป็นเรือ่ งของผูใ้ หญ่ ไมเ่ กีย่ วกบั เดก็ และ เยาวชน” นักเรยี นเห็นดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ..........ไม่เห็นด้วย เน่ืองจากการป้องกันและแกไ้ ขปยั หาทจุ ริตเปน็ หน้าท่ีของทกุ คนทีจ่ ะต้อง ชว่ ยกันโดยเรม่ิ ตน้ ที่ตนเอง

30 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๑ ชอ่ื หน่วยการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง ระบบคิดฐานสิบ เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส าคญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การแยกแยะความแตกต่างระหวา่ งระบบคิดฐานสบิ และ ฐานสอง ๒.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๒.๓ ตระหนักและเห็นความส าคัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทจุ รติ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ระบบคิด “ฐานสิบ (Analog)” เป็นระบบการคดิ วิเคราะหข้อมลู ที่มีตวั เลขหลายตวั และ อาจหมายถึงโอกาสทจี่ ะเลือกได้หลายทาง เกดิ ความคดิ ท่หี ลากหลาย ซับซ้อน หากนำมาเปรยี บเทียบ กับ การปฏิบัตงิ านของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐ จะทำให้ เจ้าหน้าท่ีของรัฐต้องคิดเยอะ ตองใช้ดุลยพนิ ิจเยอะ อาจจะนำประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม มาปะปนกนั ได้ แยกประโยชน์ส่วนตนและประ โยชน์ส่วนรวมออกจากกนั ไม่ได้ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) ๑) ความสามารถในการส่อื สาร (ทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟงั ทักษะการพดู ทักษะการเขียน) ๒) ความสามารถในการคิด (ทกั ษะการวิเคราะห์ ทักษะการจดั กลุ่ม ทักษะการสรุป) ๓.๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / คา่ นยิ ม ๑) ซอ่ื สัตย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณ์ในสงิ่ ทด่ี งี ามเพื่อสว่ นรวม ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรู้ : เทคนิคจกิ ซอว์ (Jigsaw) ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑) ครใู หน้ กั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับปญั หาการทุจริตในประเทศไทย และผลกระทบที่เกิดขนึ้ จากการทุจรติ ๒) ครอู ธบิ ายและยกตวั อยา่ งการทุจรติ ท่เี กิดขน้ึ ในประเทศไทยและผลกระทบที่ เกิดขนึ้ จากการทุจริต ๓) นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันศึกษาความรู้ ระบบคดิ ฐานสิบ จากวดี ที ัศน์ จากใบ

31 ความรู้ ห้องสมดุ และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ๔) ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มจับฉลากเลือกหวั ขอ้ ท่กี ำหนดให้ดงั น้ี หวั ข้อท่ี ๑ ระบบคิดฐานสบิ คืออะไร หัวข้อที่ ๒ ยกตัวอยา่ งผลการด าเนนิ การตามระบบคดิ ฐานสบิ หวั ขอ้ ที่ ๓ ระบบฐานสิบมผี ลกระทบต่อการดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั หรือไม่ อยา่ งไร หัวขอ้ ที่ ๔ ระบบคดิ ฐานสบิ เป็นจุดเร่ิมตน้ ปัญหาการทุจริตอยา่ งไร หวั ข้อท่ี ๕ ระบบคดิ ฐานสิบ แตกต่างจากระบบคิดฐานสองอย่างไร ๕) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันสนทนาแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นเกี่ยวกับหวั ข้อที่ได้รับ มอบหมาย ๖) นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ทำใบงาน เรอื่ งระบบคดิ ฐานสบิ โดยให้ผู้เรียนแตล่ ะคน ใน กลมุ่ ช่วยกนั คดิ หาคำตอบ และชว่ ยกนั อธบิ ายคำตอบใหเ้ พื่อนในกลมุ่ ฟัง จนทุกคนในกลุม่ มี ความรู้ความเข้าใจท่ีถกู ต้องชัดเจน ๗) ครสู ุ่มเลอื กนักเรยี น ๑ คน ของแต่ละกลุ่ม นำเสนอคำตอบในใบงานเร่ืองระบบคิด ฐานสบิ หนา้ ชัน้ เรยี น ชั่วโมงที่ ๒ ๘) แบง่ กลุม่ นักเรียนเป็น ๕ กลมุ่ ดูวีดที ศั นเ์ รือ่ ง ทุจริต คิดฐานสอง ๙) ครูยกตัวอยา่ งการคดิ ระบบฐานสองและระบบฐานสบิ ดังน้ีเชน่ นายประชาใช้ โทรศพั ทจ์ นแบตเตอร่หี มด ถา้ นักเรียนเป็นนายประชาจะคดิ และจะทำอย่างไร คำตอบอาจจะมีหลากหลายเชน่ ด.ช. ก. ตอบว่าชารจ์ แบตเตอรโ่ี ทรศัพทท์ ่ีทำงานเลย ด.ช. ข. ตอบวา่ ไม่ควรชารจ์ แบตเตอรี่ทีท่ างานเพราะเป็นการเหน็ แตป่ ระโยชน์ ส่วนตัวไมค่ ำนงึ ถึงประโยชน์สว่ นรวม ๑๐) ครูแนะนำวา่ ความคิดของ ด.ช. ก. เป็นการคดิ ระบบฐานสอง และความคดิ ของ ด.ช. ข. เป็นการคดิ ระบบฐานสบิ ๑๑)ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ คิดสถานการณเ์ หมือนตวั อยา่ งในข้อ ๙ ๑๒)ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ๑๓)นกั เรียนทำแบบทดสอบ ครูและนักเรียนเฉลยแบบทดสอบรว่ มกนั ให้ถูกตอ้ ง ๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ ๔.๒.๑ ส่ือการเรียนรู้ ๑) ใบความรู้ เร่อื งระบบคดิ ฐานสบิ ๒) ใบงาน เร่ืองระบบคิดฐานสิบ ๓) วีดที ัศน์ เรือ่ ง แก้ทจุ ริต คิดฐานสอง ๔.๒.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ - http://web.uprightschool.net/ - https://www.nacc.go.th/more_news.php?cid=๕๙๒ - https://youtu.be/FEfrARhWnGc

32 ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๕.๑.๑ ประเมินการนำเสนองาน ๕.๑.๒ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล ๕.๑.๓ สงั เกตคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ๕.๒ เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมิน ๕.๒.๑ แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ๕.๒.๒ แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ๕.๒.๓ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน ๕.๓.๑ แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน - นกั เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมิน ใน ระดับดขี ้ึนไป ๕.๓.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล - นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดีขนึ้ ไป ๕.๓.๓ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดีขึ้นไป ๖. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ .................................................................................................. .......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน (..................................................) ๗. ความคดิ เหน็ ผูบ้ ริหาร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงชอื่ .....................................ผู้บริหาร (นายจรญั วารินทร์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านบัวถนน ๘. ภาคผนวก - แบบสังเกตพฤตกิ รรม “ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ” - ใบความรู้ เรอื่ งระบบคดิ ฐานสิบ - ใบงานที่ ๒ เรื่อง ระบบคดิ ฐานสิบ (Analog) - แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

- แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล 33 - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - - แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑

34 แบบสังเกตพฤติกรรม “ซือ่ สตั ย์สจุ ริต” คำช้แี จง ทำเคร่อื งหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกับความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน ชอื่ สกุล ๑ให้ข้อมลู ที่ ๒ปฏบิ ัตติ าม ๓ ปฏบิ ัตติ นต่อ ๔ไม่หา รว ผลการ เลข ที่ ถูกต้องและ โดยคำนงึ ความ ผอู้ นื่ ด้วยความ ผลประโยชน์ ม ประ เปน็ จรงิ ถกู ต้องละอาย ซ่ือสัตย์ ในทางท่ีไม่ คะ เมิน เกรงกลัว ตอ่ ถกู ต้อง แน การกระทำผดิ น ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ผ่ ไ า ม่ น ผ่ า น (ลงชื่อ)...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............

35 ใบความรู้ เรอ่ื ง ระบบคดิ ฐานสบิ (Analog) ระบบคดิ “ฐานสบิ (Analog)” เป็นระบบการคิดวิเคราะหข์ ้อมูล ทม่ี ีตวั เลขหลายตวั และอาจหมายถงึ โอกาสที่จะเลือกได้ หลายทาง เกิดความคดิ ท่ีหลากหลาย ซับซ้อน หากนำมาเปรยี บเทยี บกบั การปฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าท่ี ของรัฐ จะทำให้ เจ้าหน้าท่ี ของรัฐต้องคดิ เยอะ ต้องใช้ ดลุ ยพินิจเยอะ อาจจะนำ ประโยชนส์ ว่ น ตนและ ประโยชน์ส่วนรวม มาปะปนกันได้ แยกประโยชน์ ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมออกจาก กนั ไม่ได้ “การปฏิบัตงิ านแบบใช้ระบบคดิ ฐานสบิ (Analog)” คือ การที่เจ้าหน้าที่ของรฐั ยังมรี ะบบ การคดิ ทยี่ ังแยกเรื่องตำแหน่งหน้าท่กี บั เรื่องส่วนตน การคดิ ท่ียงั แยกเรอ่ื งตำแหน่งหน้าทก่ี บั เรอื่ ง ส่วนตน ออกจากกันไม่ได้ นำประโยชน์ ส่วนบคุ คลและประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกนั ไปหมด แยกแยะไม่ออกว่าสิ่งไหน คอื ประโยชน์ ส่วนบุคคลส่งิ ไหนคือประโยชน์ ส่วนรวม นำบคุ ลากรหรอื ทรพั ย์สนิ ของราชการมาใช้ เพือ่ ประโยชน์ส่วนตน เบยี ดบงั ราชการ เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตน เครอื ญาติ หรือพวกพ้อง เหนือกว่าประโยชน์ของส่วนรวมหรือของหน่วยงาน จะคอยแสวงหาประโยชน์ จากตำแหน่งหน้าท่ี ราชการ กรณเี กิดการขัดกัน ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม จะ ยึดประโยชนส์ ่วนตนเป็นหลัก

36 ใบงานที่ ๒ เร่ือง ระบบคดิ ฐานสบิ (Analog) คำสั่ง ๑. ใหน้ ักเรียนศกึ ษาข้อมลู จากวีดีทศั น์ เรื่อง แก้ทุจริต “คิดฐานสอง” ใชเ้ วลา ๔.๓๗ นาที ๒. ให้นักเรยี นเตรยี มอภิปรายพร้อมทงั้ นำเสนอหนา้ ช้นั เรยี นในหวั ข้อดังต่อไปนี้ ๒.๑ ระบบคิดฐานสบิ คืออะไร ๒.๒ จงยกตัวอย่างผลการดำเนนิ การตามระบบคิดฐานสบิ ๒.๓ ระบบฐานสิบมผี ลกระทบต่อการดำเนินชวี ิตประจำวนั หรือไม่อย่างไร ๒.๔ ระบบคดิ ฐานสิบ เป็นจุดเรม่ิ ตน้ ปัญหาการทจุ รติ อยา่ งไร ๒.๕ ระบบคิดฐานสบิ แตกต่างจากระบบคดิ ฐานสองอย่างไร

37 คำชีแ้ จง แบบประเมินการนำเสนอผลงาน เร่อื ง ระบบคิดฐานสบิ ให้ครสู อน ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการท่ีกำหนด แล้วขดี √ ลงใน ชอ่ งที่ ตรงกับคะแนน ลำดบั รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ท่ี ๔ ๓ ๒๑ ๑ เนื้อหาละเอยี ดชัดเจน ๒ ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา ๓ ภาษาที่ใช้เขา้ ใจงา่ ย ๔ ประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการ นำเสนอ ๕ วิธกี ารนำเสนอผลงาน รวม (ลงชื่อ)...................................ครผู ูป้ ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./............. เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งบางส่วน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องเป็นสว่ นใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งมาก ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดับคุณภาพ ชว่ งคะแนน ดีมาก ๑๘-๒๐ ดี ๑๔-๑๗ พอใช้ ๑๐-๑๓ ปรับปรุง ตำ่ กวา่ ๑๐

38 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักเรียนเปน็ รายบุคคล กลุม่ ท…่ี …................................ คำชแ้ี จง ครูสอนสงั เกตการณ์ทำงานของนักเรยี น โดยทำเคร่อื งหมายถูกลงในช่องท่ตี รงกับความเป็น จริง พฤติกรรม ความสนใจ การมีสว่ น การรบั ฟงั การตอบ ความ รวม ในการเรยี น รว่ มแสดง ความคดิ เห็น คำถาม รับผิดชอบ คะแนน ความคเิ หน็ ของผู้อน่ื ตอ่ งานที่ (๑๐) ชื่อสกุล ในการ ๒๑๐ ได้รบั ๒๑๐ อภิปราย ๒๑๐ มอบหมาย ๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐ (ลงช่อื )...................................ครผู ู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./............. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งบางสว่ น ให้ ๐ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ดมี าก ชว่ งคะแนน ดี พอใช้ ๙-๑๐ ปรับปรุง ๗-๘ ๕-๖ ๐-๔

39 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน พฤติ ๑.มีความ ๒.ซื่อสัตย์ ๓.ใฝห่ า ๔.มีศลิ ๕.มี ๖.มีความ หม เขม้ แข็งทัง้ เลข กรรม รักชาติ เสียสละ ความรู้ ธรรมรกั ษา ระเบียบ รา่ งกายและ าย ที่ ศาสนา อดทนมี หมั่นศึกษา ความสตั ย์ วนิ ัย จติ ใจไมย่ อม เหตุ อดุ มการณ์ เล่าเรียน หวังดตี อ่ เคารพ แพต้ ่อ พระ ในสงิ่ ท่ดี ี ท้งั ทางตรง ผอู้ ่ืนเผอ่ื แผ่ กฎหมาย อำนาจฝา่ ย มหากษ งามเพื่อ และ และ ผู้น้อยรจู้ ัก ตำ่ หรอื กิเลส ตริย์ สว่ นรวม ทางอ้อม แบ่งปนั การเคารพ มีความ ผใู้ หญ่ ละอายเกรง กลวั ต่อบาป ชอ่ื ตามหลัก สกุล ของศาสนา ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ……………………………………………………ผูป้ ระเมิน (…………………………………………………..) เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องบางส่วน ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ ๐ คะแนน

40 เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๑๘ ดมี าก ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ต่ำกว่า ๑๐ ปรับปรุง

41 คำชี้แจง ใบงาน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ “ระบบการคิดฐานสบิ ” ๑. แบบทดสอบมีทง้ั หมด ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ๒. ใหน้ ักเรียนเขียนคำตอบท่ตี รงกับความคิดของระบบฐานสิบ ๑. นกั เรียนเห็นเพือ่ น ๆ นำโทรศพั ทส์ ่วนตวั มาชาร์จแบตเตอร่ีทีโ่ รงเรยี น นกั เรียนคิดว่าเหมาะสม หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ๒. “การรับจ้างท ารายงานเป็นเรอื่ งปกติ เพราะใคร ๆ กท็ ากนั ทัง้ นัน้ ” นักเรยี นเหน็ ดว้ ยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ..................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ๓. นกั เรียนรู้สึกอย่างไรเม่อื เห็นเพือ่ น ๆ ลอกข้อสอบหรือลอกการบา้ นอยู่เปน็ ประจ า ตอบ .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ๔. จากค ากล่าวที่วา่ “ฉันพร้อมท่จี ะยอมรบั ผดิ ถา้ ท าผิด” นกั เรยี นเหน็ ด้วยหรือไม่เพราะเหตใุ ด ตอบ ..................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ๕. การใช้น้ำประปาของโรงเรียนล้างรถจกั รยายนต์ของตนเอง นักเรียนคิดวา่ เปน็ การกระทำท่ี เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ..................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ๖. นกั เรยี นเข้าไปค้นหาข้อมลู ในห้องสมดุ เพ่ือท ารายงาน แต่ไม่อยากไปยมื หนังสือจึงฉีกหนังสอื เฉพาะหน้าท่ี จำเป็นต้องใชก้ ารกระทำดังกลา่ วถูกตอ้ งหรอื ไม่เพราะเหตใุ ด ตอบ ..................................................................................................................................... .........................

42 ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................... ........................................................................... ๗. มีคำกลา่ วทีว่ า่ “ทุจริตบ้างไมเ่ ปน็ ไรถ้าเราไดป้ ระโยชน์ ” นักเรียนเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................. .................. ๘. การวางแผงขายของบนทางเท้าของพอ่ คา้ /แม่คา้ เป็นส่ิงทีส่ มควรกระทำหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ..................................................................................................................................... ......................... ...................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. .................................. ๙. นักเรียนเห็นดว้ ยกบั การรับจ้างสอนพิเศษของครู หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ..................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ๑๐. จากคำกล่าวที่วา่ “การป้องกันการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั เป็นเรอ่ื งของผู้ใหญ่ ไมเ่ กี่ยวกับเด็กและ เยาวชน” นักเรยี นเหน็ ดว้ ยหรือไม่เพราะเหตใุ ด ตอบ .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ๑๐. จากคำกลา่ วที่ว่า “การป้องกันการทจุ ริตคอรร์ ปั ชนั เป็นเรื่องของผู้ใหญ่ ไม่เกี่ยวกับเด็กและ เยาวชน” นกั เรยี นเห็นด้วยหรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ ..................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ระดับคุณภาพ ชว่ งคะแนน ดีมาก ๙-๑๐ ดี ๗-๘ พอใช้ ๕-๖ ปรับปรงุ ๐-๔

43 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๑ ชอื่ หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เร่อื ง ความแตกตา่ งระหวา่ งจริยธรรมและการทุจรติ (ชุมชน สงั คม) เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๑.๓ ตระหนักและเห็นความส าคญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทุจริต ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการแยกแยะความแตกตา่ งระหว่างจรยิ ธรรมและ การทจุ รติ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถคิดแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ ริต ๒.๓ นักเรยี นตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกนั การทุจริต ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ความหมายของจรยิ ธรรมและการทุจรติ ๑)สาเหตุของการทจุ ริตและทิศทางการป้องกนั การทุจรติ ในประเทศไทย ๒)ความสมั พันธ์ระหวา่ ง“การนดั กันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตน กบั ประโยชน์ สว่ นรวม” ๓)ตัวอย่างการขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์สว่ นรวมในรูปแบบตา่ งๆ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด) ๑)ความสามารถในการสื่อสาร ๒)ความสามารถในการคิด (ทกั ษะการคดิ วิเคราะห)์ (ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ) ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (กระบวนการทำงานกลุ่ม) ๓.๓ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ / คา่ นิยม ๑) มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ๒) มีความเขม้ แข็งทั้งร่างกายและจติ ใจไมย่ อมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่างๆ หรือกิเลส มี ความละอาย เกรงกลัวตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา ๔.กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้

44 ช่ัวโมงท่ี ๑ ข้นั ท๑ี่ เตรียมการ ๑. ครเู ตรียมวดี ีทัศน์มาเปิดใหน้ ักเรียนดูเร่ืองการเข้าแถวซอื้ อาหาร ครูถาม นกั เรยี น ว่า เกยี่ วกับวดี ีทศั นท์ ด่ี ู แลว้ ใหน้ กั เรยี นออกมาบอกและอธิบายประกอบสถานการณ์ว่าพฤติกรรม อะไร เป็นจริยธรรม พฤติกรรมอะไรเป็นการทุจริต ข้ันที่ ๒ เสนอตวั อยา่ ง ๒. แจกกระดาษขนาด A ๔ ให้นักเรยี นคนละ ๑ แผ่น ใหน้ กั เรียนวาดภาพประเทศ ไทยใน อนาคต พร้อมระบุรายละเอียดตามที่ครกู ำหนดบนกระดานให้ถกู ต้อง ๓. นักเรียนศกึ ษาความรจู้ ากวีดที ัศน์เรอ่ื ง นมิ นตย์ ม้ิ เดลี่ คนดีไมค่ อร์รปั ช่นั ตอนแย่งท่ี ๔. นักเรยี นรว่ มกันสรุปองค์ความรจู้ ากวีดที ัศน์เรื่อง นมิ นตย์ มิ้ เดลี่ คนดีไมค่ อร์รัปช่ัน ตอนแย่งที่ ขั้นท่ี ๓ เปรยี บเทยี บ ๕. แบง่ กลมุ่ นักเรียนออกเป็น ๓ กลมุ่ ละๆ ๕ คน ร่วมกันศึกษาความร้แู ละสรปุ สาระสำคัญตามประเดน็ ท่คี รูกำหนด จากสถานการณ์ทีน่ กั เรยี นไดด้ ู แล้วให้ตัวแทนกลุ่มออกมาจบั สลากหมายเลขกลุ่ม และสถานการณ์จำลองท่ี ๑-๓ ตามลำดับที่จบั สลากได้ คือ สถานการณท์ ่ี ๑ การรับผลประโยชน์ต่างๆ สถานการณ์ที่ ๒ การทำธุรกิจกับตนเองหรือคู่สัญญา สถานการณท์ ี่ ๓ การทำงานหลังออกจากตำแหนง่ หนา้ ทีส่ าธารณะหรือหลังเกษยี ณ ๖. ครูกำหนดระยะเวลาในการทำงานกลุ่มร่วมกันตามความเหมาะสม แล้วส่มุ เรยี ก ตัวแทนกล่มุ ออกมานำเสนอความรูท้ ่หี นา้ ชั้นเรียน ๗. นกั เรยี นกลุ่มอ่นื ๆ ตัง้ ประเดน็ คำถามหลังจากที่ตัวแทนกลุม่ นำเสนอความร้จู บแลว้ กลมุ่ ละ ๑ คำถาม แลว้ ใหก้ ลุ่มทีเ่ ปน็ เจ้าของเร่ืองชว่ ยกนั ตอบคำถามให้ถกู ต้อง ขัน้ ท่ี ๔ สรุปกฎเกณฑ์ ๘. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปประเด็นความรู้ที่ได้รับจดลงในสมดุ ครูต้ังประเด็นคำถามให้ นักเรียนช่วยกันตอบ หรอื สุ่มเรียกนักเรยี นให้ตอบเปน็ รายบุคคล ชวั่ โมงท่ี ๒ ๙. นักเรียนรว่ มกนั ศึกษาความรู้ ตามสถานการณจ์ ำลองและร่วมแสดงความคิดเหน็ วา่ ลกั ษณะ ของสถานการณ์จำลองที่ได้รับมีความแตกต่างระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ รติ มี ความสำคญั ต่อชุมชน สังคมหรือไม่ อย่างไร ๑๐. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความร้เู ป็น Mind Map และแสดงความคิดเห็น ๑๑. นักเรียนชว่ ยกันยกตัวอยา่ งทแี่ สดงถงึ ความมีจรยิ ธรรมท่ดี ใี นโรงเรยี น ชมุ ชนของ ตนเอง ๑๒. ครอู ธิบายใหน้ กั เรียนทราบว่า จรยิ ธรรมและการทุจรติ ของแต่ละชมุ ชน สังคม มี ความสอดคล้องหรือเก่ียวข้องกับวถิ ชี วี ิต ถา้ คนเราไมเ่ ห็นความสำคญั หรือแยกแยะไม่ออกวา่ ผลกระทบท่เี กดิ จะสง่ ผลตอ่ สังคม ชุมชนในอนาคตในด้านต่างๆอย่างไร ๑๓. นักเรยี นศกึ ษาความรเู้ สรมิ เพ่ิมเตมิ เรื่อง ความแตกต่างระหวา่ งจรยิ ธรรมและการ ทจุ รติ ของ โรงเรียนสจุ รติ จากใบความรู้ ขน้ั ที่ ๕ นำไปใช้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook