รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรียนบ้านบวั ถนน อำเภอกระสัง สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบุรรี มั ย์ เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คำนำ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2565 ฉบบั น้ี เป็นการนำเสนอผลการดำเนนิ งานในการพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ในรอบปีทีผ่ ่านมา ซ่ึงเปน็ ผลมาจากการดำเนนิ งานท้ังหมดของสถานศึกษาทีค่ รอบคลมุ มาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา และนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หนว่ ยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง และเปิดเผยให้สาธารณชนได้รบั ทราบ ซ่งึ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา จะเปน็ ฐานข้อมูลในการ พฒั นาสถานศึกษา และรองรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก หวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ เอกสารฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ให้ดยี งิ่ ข้นึ ต่อไป โรงเรยี นบ้านบัวถนน
สารบญั เรอ่ื ง หน้า ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 1 1.1 ข้อมูลทวั่ ไป 1 1.2 ข้อมูลครูและบุคลากร 1 1.3 ข้อมลู นักเรยี น 4 1.4 ผลการจดั การศึกษาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา 5 1.5 ผลการทดสอบระดบั ชาติของผเู้ รยี น 18 1.6 สรุปการใชแ้ หล่งเรียนรูภ้ ายในและภายนอกสถานศึกษา 23 1.7 ขอ้ มูลงบประมาณ 25 1.8 ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม 25 1.9 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ. 2559-2564 ) 26 สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 30 2.1 ผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษา เพ่ือการประกันคุณภาพภายใน 31 ของสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ( 3 มาตรฐาน ) ส่วนที่ 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการการชว่ ยเหลือ 35 3.1 จดุ เดน่ ของสถานศึกษา 35 3.2 จุดที่ควรพัฒนาของสถานศกึ ษา 35 3.3 แนวทางการพฒั นาในอนาคต 36 3.4 ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื 36 สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก 4.1 คำสัง่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 37 4.2 ประกาศโรงเรียน เร่อื ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐาน 39 ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.3 ประกาศโรงเรยี น เรอ่ื ง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 42 ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.4 บันทกึ การใหค้ วามเห็นชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 44
1 สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 1.1 ข้อมูลท่วั ไป ช่ือสถานศึกษา โรงเรียนบ้านบัวถนน ตั้งอยเู่ ลขท่ี – หมทู่ ่ี 10 ตำบลสงู เนนิ อำเภอกระสงั จงั หวัด บรุ รี มั ย์ รหสั ไปรษณยี ์ 31160 โทรศัพท์ 0934317197 อเี มล [email protected] กลมุ่ โรงเรยี นกระสัง 3 สงั กัด สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบุรีรมั ย์ เขต 2 เปดิ สอนระดบั ชัน้ อนุบาลปที ่ี 2 ถึงระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เขตพน้ื ท่บี ริการ 5 หมบู่ ้าน ได้แก่ หมูท่ ี่ 4 , หมู่ที่ 10 , หมทู่ ี่ 11 , หมทู่ ่ี 12 และหมู่ที่ 15 วนั -เดอื น-ป ทก่ี ่อต้งั 1 พฤษภาคม 2482 ผบู้ ริหารคนปจั จุบัน ชอื่ นายจรัญ วารนิ ทร์ วทิ ยฐานะ ผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการบริการการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ท่โี รงเรยี นน้ี ต้ังแต่ 19 พฤศจิกายน 2562 จนถงึ ปัจจบุ ัน เป็นเวลา 3 ปี 6 เดอื น 1.2 ข้อมูลครูและบุคลากร ปีการศึกษา 2565 1) จำนวนขา้ ราชการครูและบุคลากร ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ รองผู้ ครู ครูอตั รา พ่ีเลี้ยง อัตราจ้าง เจ้าหน้าที่ 18 อำนวยการ ผสู้ อน จ้าง เด็ก นักการ ธุรการ พกิ าร ภารโรง 1 0 14 0 1 1 1 15 จานวนข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1 ปีการศึกษา 2565 10 14 5 0 011 1 0
2.) วิทยฐานะ ครูผ้ชู ว่ ย คศ.1 คศ.2 2 วิทยฐานะ 1 5 0 คศ.3 คศ.4 9 วิทยฐานะ 90 คศ.4 วทิ ยฐานะ 0% ครูผู้ช่วย คศ.3 วิทยฐานะ คศ.1 38% 37% คศ.2 คศ.3 คศ.2 ครูผชู้ ว่ ย คศ.4 0% คศ.1 4% 21% 3.) วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ ขอบุคลากร วฒุ ิการศึกษา ม.6 ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี ป.บณั ฑติ ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 18 2 0 0 14 0 2 0 วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบคุ ลากร ปกี ารศึกษา 2565 ปริญญาเอก ปริญญาโท 0% ม.6 ป.บัณฑติ 11% 11% ปวชส. 0% 0% ปริญญาตรี 78%
3 4.) สาชาวิชาทจี่ บการศกึ ษาและภารงานสอน สาขาวชิ า จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู 1 คนในแตล่ ะสาขาวชิ า (ชม./สัปดาห)์ บริหารการศกึ ษา (ผอ.) 1 5 เทคโนโลยี 1 18 ปฐมวยั 2 25 ภาษาไทย 1 18 คณิตศาสตร์ 2 18 วทิ ยาศาสตร์ 1 18 ภาษาอังกฤษ 1 20 การศึกษาพเิ ศษ 1 22 ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ 2 18 สังคมศึกษา 2 18 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 1 18 สาชาวชิ าทจ่ี บการศึกษาและภารงานสอน 25 20 15 10 5 0 ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คนในแตล่ ะสาขาวชิ า จานวน (คน) บริหารการศึกษา (ผอ.) เทคโนโลยี ปฐมวยั ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ การศกึ ษาพเิ ศษ ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ สังคมศกึ ษา คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ
1.3 ข้อมูลนักเรียน 4 จำนวนนกั เรยี นปี 2565 รวมทั้งสนิ้ 333 คน รวม จำแนกตามระดบั ชั้นท่ีเปดิ สอน ดังนี้ 22 26 ระดบั ช้ัน ชาย หญิง 48 9 33 อนบุ าล 2 13 11 31 20 33 อนุบาล 3 15 14 37 15 40 รวมอนุบาล 28 12 28 19 202 ประถมศึกษาปที ่ี 1 19 23 25 13 30 ประถมศึกษาปีท่ี 2 16 96 28 12 83 ประถมศึกษาปที ี่ 3 21 15 333 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 18 13 40 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 17 158 ประถมศึกษาปที ่ี 6 15 รวมประถม 106 มัธยมศึกษาปที ี่ 1 13 15 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 15 รวมมธั ยมศึกษาตอนต้น 43 รวมท้ังหมด 175 จานวนนักเรยี นปี 2565 รวมทงั้ ส้นิ 333 คน 400 300 200 100 0 ชาย หญงิ รวม
5 1.4 ผลการจดั การศกึ ษาตามหลักสตู ร ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 1.4.1. ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศกึ ษา 1) ร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ อยู่ในระดับดขี ้นึ ไป ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 -6 ปกี ารศึกษา 2565 จำนวนนกั เรียนทไ่ี ดเ้ กรด 3 ขนึ้ ไป รวม คิดเปน็ นร.ระดบั ร้อยละ วิชา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 3 ขึ้นไป 71.78 ภาษาไทย 20 27 25 27 26 20 145 72.27 คณิตศาสตร์ 23 29 21 21 29 23 72.27 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25 30 26 33 34 24 146 81.90 วทิ ยาการคำนวณ - - - 32 34 20 สังคมศึกษา ศาสนาและ 146 68.81 วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ 86 76.73 สุขศึกษาและพลศึกษา 89.10 ศลิ ปะ 24 31 30 19 19 16 139 88.61 การงานอาชีพ 94.05 ภาษาองั กฤษ 22 31 24 25 29 24 155 54.45 คอมพิวเตอร์ 32 31 32 27 32 26 180 86.13 หนา้ ท่ีพลเมือง 32 31 32 27 33 24 179 89.60 การป้องกันการทุจริต 31 31 32 32 38 26 190 85.64 นักเรียนทั้งหมดแต่ละชน้ั 25 21 20 18 15 11 110 29 26 32 36 26 22 174 32 31 32 33 29 24 181 32 31 31 26 27 26 173
6 รอ้ ยละของนักเรียนชั้นป1-ป.6ทม่ี ผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั ดีข้ึนไป จาแนกตาม รายวิชา ปีการศกึ ษา 2565 การปอ้ งกนั การทุจรติ 85.64 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 89.6 คอมพวิ เตอร์ 86.13 ภาษาอังกฤษ 54.45 การงานอาชพี 94.05 ศลิ ปะ 88.61 สุขศึกษาและพลศึกษา 89.1 ประวตั ิศาสตร์ 76.73 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 68.81 วทิ ยาการคานวณ 81.9 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 72.27 คณิตศาสตร์ 72.27 ภาษาไทย 71.78 0 20 40 60 80 100 รอ้ ยละ
2) รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั ดี 7 ขน้ึ ไป ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 -3 ปีการศกึ ษา 2565 คิดเป็น ร้อยละ จำนวนนักเรยี นท่ไี ดเ้ กรด 3 ขึ้นไป รวม ม.3 นร รวม นร 48.19 ม.1 ม.2 57.83 ภ.1. คดิ เป็น ภ.2. 44.57 วิชา 59.03 ระดบั ร้อยละ ระดับ 69.87 ภ.1 ภ.2 ภ.1 ภ.2 ภ.1 ภ.2 3 ขึน้ 3 ข้ึนไป 65.06 59.03 ไป 73.49 ภาษาไทย 0 5 11 14 19 22 30 36.14 40 75.90 73.49 ภาษาพาเพลิน 0 9 11 15 20 22 31 37.34 48 78.31 85.54 คณิตศาสตร์ 9 6 10 13 16 18 35 42.16 37 75.90 87.75 คณิตศาสตร์เพม่ิ เติม 18 10 18 18 10 21 46 55.42 49 86.74 36.14 วิทยาศาสตร์ 15 15 22 19 17 24 54 65.06 58 38.55 72.27 วิทยาการคำนวณ 13 15 18 19 17 20 48 57.83 54 สงั คมศึกษา ศาสนาและ 14 12 19 18 20 19 53 63.85 49 วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ 15 16 18 25 17 20 50 60.24 61 การปอ้ งกันการทุจรติ 21 21 30 20 28 22 79 95.18 63 หนา้ ทพี่ ลเมือง 24 20 25 18 24 23 73 87.75 61 สุขศึกษา 19 22 23 22 25 21 67 80.72 65 พลศึกษา 23 24 30 23 28 24 81 97.59 71 ทศั นศิลป์ 21 22 18 20 21 21 60 72.27 63 ดนตรี-นาฏศลิ ป์ 24 22 30 28 27 23 81 97.59 73 การงานอาชีพ 23 23 29 26 26 23 78 93.97 72 ภาษาอังกฤษ 7 6 11 11 16 13 34 40.96 30 ภาษาองั กฤษเพมิ่ เตมิ 11 8 13 12 16 12 40 48.19 32 โปรแกรมประยุกต์ 15 18 27 22 14 20 56 67.46 60 นักเรยี นทงั้ หมดแตล่ ะช้ัน 25 25 30 30 28 28 83 83
8 ร้อยละของนักเรยี นชน้ั ม.1-3 ทีม่ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ระดับดีข้ึนไป ปกี ารศึกษา 2565 การปอ้ งกนั การทจุ ริต 75.9 95.18 ประวตั ศิ าสตร์ 73.49 ภาคเรยี นที่ 2 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 60.24 ภาคเรยี นที่ 1 วทิ ยาการคานวณ 59.03 วทิ ยาศาสตร์ 63.85 คณติ ศาสตร์เพ่มิ เตมิ 65.06 คณิตศาสตร์ 57.83 ภาษาพาเพลิน 69.87 ภาษาไทย 65.06 59.03 55.42 44.57 42.16 57.83 37.34 48.19 36.14 0 20 40 60 80 100
9 3). ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับช้ันประถมศกึ ษา 1-6 ปีการศกึ ษา 2565 (ระดับดี) จำนวน ความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น / ระดับคณุ ภาพ นกั เรียน ทง้ั หมด จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ ระดับช้ัน 33 ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน ดีเยย่ี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ป.1 31 ป.2 33 18 14 0 1 54.55 42.42 0 3.03 ป.3 37 ป.4 20 6 5 0 64.51 19.35 19.14 0 40 ป.5 0 21 12 0 0 63.63 36.37 0 28 23 6 7 1 61.16 16.21 18.91 2.70 ป.6 202 39 0 0 1 97.50 0 0 2.50 รวม 4 11 11 2 14.28 39.28 39.28 9.14 104 58 35 5 51.48 28.71 17.32 2.47 การอา่ นคิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ป1- ป.6 ปีการศกึ ษา 2565 170 ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน รวม 150 ป.6 130 ป.5 110 ป.4 90 ป.3 70 ป.2 50 ป.1 30 10 จานวน ( คน ) รอ้ ยละ -10 ทัง้ หมด ดีเยีย่ ม ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน / ระดบั คุณภาพ นักเรียน จานวน
10 4). ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษา 1-3 ปกี ารศกึ ษา 2565 (ระดับด)ี จำนวน ความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น / ระดับคณุ ภาพ นักเรยี น ทั้งหมด จำนวน ( คน ) ร้อยละ ระดับชั้น 25 ดีเยยี่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น ม.1 30 ม.2 24 0 0 1 96 0 0 4 28 ม.3 20 8 0 2 66.66 26.66 0 6.66 83 รวม 20 4 4 0 71.42 14.28 14.28 0 64 12 4 3 77.10 14.45 4.81 3.61 การอ่านคิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ม1- ม.3 ปีการศกึ ษา 2565 120% รวม ม.3 100% ม.2 ม.1 80% ดเี ย่ียม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน 60% จานวน ( คน ) จานวน ร้อยละ 40% 20% 0% ทง้ั หมด นักเรียน 1.4.2. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test :RT ) ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 1 1) ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รยี น ประจำปีการศกึ ษา 2565 1.1.คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ปกี ารศึกษา 2564 - 2565 เปรียบเทียบระดับตา่ งๆ ระดบั โรงเรยี น การอา่ นออกเสียง การอ่านรูเ้ ร่ือง รวม 2 สมรรถนะ ระดบั เขตพื้นท่ี ระดับประเทศ 83.85 92.00 87.92 80.09 73.95 77.02 77.38 77.19 77.28
11 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรียน(Reading Test:RT)ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 100 การอ่านร้เู รือ่ ง รวม 2 สมรรถนะ 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 การอา่ นออกเสียง ระดบั โรงเรยี น ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดบั ประเทศ 1.4.3 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test :RT ) ป. 1 ปกี ารศึกษา 2563-2564 1) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน ประจำปกี ารศกึ ษา 2565 1.1. เปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รยี น (RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 และร้อยละของผลต่างระหว่างปกี ารศึกษา 2564 – 2565 สมรรถนะ ปกี ารศกึ ษา 2564 ปกี ารศกึ ษา ร้อยละของผลต่าง 2565 ระหว่างปกี ารศึกษา การอา่ นออกเสยี ง 79.4 83.85 การอ่านรู้เร่ือง 80.07 +4.45 รวม 2 สมรรถนะ 79.74 92.00 +11.93 87.92 +8.08 เปรยี บเทียบผลการประเมนิ (RT) ปกี ารศกึ ษา 2564-2565 100 83.85 92 87.92 90 79.4 80.07 79.74 80 ปกี ารศกึ ษา 2564 4.45 11.93 8.08 70 ร้อยละของผลต่างระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 60 50 40 30 20 10 0 ปกี ารศึกษา 2563 การอ่านออกเสียง การอ่านร้เู ร่ือง รวม 2 สมรรถนะ
12 1.4.4 ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 ปีการศกึ ษา 2565 จำนวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพ ระดับช้ัน จำนวนนักเรียนท้ังหมด กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ผ่าน ไมผ่ า่ น จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 33 32 96.97 1 3.03 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 31 31 100 0 0 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 33 33 100 0 -0 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 37 36 92.29 1 7.71 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 40 39 97.50 1 2.50 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 28 26 92.85 2 7.15 ผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปีการศกึ ษา 2565 250 200 150 100 50 0 รวม ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 จานวนนกั เรียนทั้งหมด จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดับคณุ ภาพ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ผ่าน จานวน จานวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดับคณุ ภาพ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ผา่ น รอ้ ยละ จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดับคณุ ภาพ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ไมผ่ ่าน จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ไม่ผ่าน รอ้ ยละ
13 1.4.5 ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 ปีการศึกษา 2565 จำนวน จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดับคุณภาพ นักเรียน ระดบั ชน้ั ท้งั หมด กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ผ่าน ไมผ่ ่าน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 25 24 96 1 4 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 30 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 28 28 93.33 2 6.67 83 รวม 28 100 0 0 80 96.38 3 3.62 ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 ปกี ารศึกษา 2565 120 100 80 60 40 20 0 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 รวม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวนนักเรยี นทัง้ หมด จานวน/รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ผา่ น จานวน จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดบั คุณภาพ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ผ่าน รอ้ ยละ จานวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคณุ ภาพ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ไม่ผ่าน จานวน จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดับคณุ ภาพ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ไม่ผ่าน ร้อยละ
1.4.6 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน จำนวน นกั เรียน ระดบั ช้ัน นักเรยี น ที่ผ่าน ความสามารถใน ความส กา ทง้ั หมด เกณฑ์ การสือ่ สาร จำนวน ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ 32 31 ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ี่ 1 33 32 32 96.97 33 36 ช้ันประถมศกึ ษาปี่ที่ 2 31 31 31 100 39 26 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ ี่ 3 33 33 33 100 ชั้นประถมศึกษาปี่ท่ี 4 37 36 36 92.29 ชั้นประถมศึกษาปท่ี ี่ 5 40 39 39 97.50 ช้ันประถมศกึ ษาปี่ที่ 6 28 26 26 92.85 รวม 202 197 197 97.52 197 สมรรถนะสาคญั ของผ ปกี ารศ 250 200 150 100 50 0 1234567
14 - 6 ปกี ารศึกษา 2565 จำนวน/ร้อยละของนักเรียนที่ “ผ่านเกณฑ”์ (สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 5 ดา้ น) สามารถใน ความสามารถในการ ความสามารถใน ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี ารคดิ แก้ปัญหา การใชท้ ักษะชีวติ จำนวน ร้อยละ 32 96.97 รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ 31 100 33 100 96.97 32 96.97 32 96.97 36 92.29 39 97.50 100 31 100 31 100 26 92.85 100 33 100 33 100 197 97.52 92.29 36 92.29 36 92.29 97.50 39 97.50 39 97.50 92.85 26 92.85 26 92.85 97.52 197 97.52 197 97.52 ผู้เรยี น 5 ด้าน ช้นั ป.1-ป.6 ชน้ั ประถมศกึ ษาป่ีท่ี 1 ศึกษา 2565 ชนั้ ประถมศกึ ษาป่ีท่ี 2 ชนั้ ประถมศกึ ษาป่ีท่ี 3 8 9 10 11 12 ชนั้ ประถมศกึ ษาป่ีท่ี 4 ชน้ั ประถมศกึ ษาป่ีท่ี 5 ชนั้ ประถมศกึ ษาป่ีท่ี 6 รวม
1.4.7 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 - จำนวน จำนวน นกั เรียน ระดบั ชนั้ นกั เรยี น ทีผ่ า่ น ความสามารถใน ความส ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ี่ 1 กา ทงั้ หมด เกณฑ์ การสื่อสาร จำนวน ทัง้ หมด จำนวน ร้อยละ 24 25 24 24 96 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ ่ี 2 30 28 28 93.33 28 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปี่ที่ 3 28 28 28 100 28 รวม 83 80 80 96.38 80 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ระ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการส่ือสาร 0 20 40 รวม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ ี่ 3
15 3 ปีการศึกษา 2565 จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นท่ี “ผา่ นเกณฑ์” (สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 5 ด้าน) สามารถใน ความสามารถในการ ความสามารถใน ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี ารคิด แกป้ ัญหา การใชท้ ักษะชีวิต จำนวน ร้อยละ 24 96 ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ 28 93.33 96 24 96 24 96 28 100 93.33 28 93.33 28 93.33 80 96.38 100 28 100 28 100 96.38 80 96.38 80 96.38 ะดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 ปีการศกึ ษา 2565 60 80 100 120 ชน้ั มัธยมศึกษาป่ีท่ี 2 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ ี่ 1
16 5). คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รียน 5.1 รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทมี่ ผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 – ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ จำนวน ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ / ระดับคุณภาพ ระดบั ชน้ั นกั เรียน จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ ทงั้ หมด ดีเยยี่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน ดเี ยีย่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน ป.1 33 32 0 0 1 96.97 0 0 3.03 ป.2 31 23 8 0 0 74.19 25.81 0 0 ป.3 33 24 9 0 0 72.72 27.28 0 0 ป.4 37 17 14 0 1 45.94 37.83 0 2.70 ป.5 40 18 21 0 1 45 52.5 0 2.5 ป.6 28 5 21 0 2 17.85 75.00 0 7.14 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ป.6 ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ป.5 ป.4 100% ป.3 90% ป.2 80% ป.1 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
17 5.2 รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นท่ีมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จำแนกตามระดบั คุณภาพ จำนวนนักเรยี น ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ / ระดับคุณภาพ จำนวน ( คน ) ร้อยละ ระดับ ทั้งหมด ดีเย่ียม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน ช้นั ม.1 25 15 9 0 1 60 36 0 4 ม.2 30 22 6 0 2 73.33 20 0 6.67 ม.3 28 24 2 2 0 85.71 7.14 7.14 0 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ม.3 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1- ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ม.2 ม.1 100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
18 1.5. ผลการทดสอบระดบั ชาติของผเู้ รียน 1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานผ้เู รียนระดับชาติ (NT) ประจำปกี ารศึกษา 2565 ดา้ น คะแนนเฉลี่ยร้อยละ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ คะแนนเฉล่ียร้อยละของ ของโรงเรียน ของระดับเขตพืน้ ที่ ระดับประเทศ ดา้ นคณติ ศาสตร์ 45.14 44.10 49.12 ด้านภาษาไทย 50.07 51.63 55.86 เฉลีย่ ทั้ง 2 ด้าน 47.61 47.88 52.50 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 45.14 44.1 49.12 50.07 51.63 55.86 47.61 47.88 52.5 ด้านคณติ ศาสตร์ ดา้ นภาษาไทย เฉล่ียทัง้ 2 ดา้ น คะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ร้อยละของระดบั เขตพ้ืนท่ี คะแนนเฉล่ียร้อยละของระดับประเทศ 2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ประจำปีการศกึ ษา 2564-2565 2.1) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐาน ผู้เรียนระดบั ชาติ (NT)และ ร้อยละผลตา่ งระหวา่ งปีการศึกษา 2563-2565 ความสามารถ ปี 2563 ปี 2564 ผลต่าง 2563-2564 ปี 2565 ผลต่าง 2564-2565 ดา้ นภาษา 60.60 42.44 -18.16 50.07 +7.63 25.80 -13.4 45.14 +20.06 ดา้ นคำนวณ 39.20 34.12 -15.78 47.61 +13.49 รวมเฉลีย่ ท้ัง 2 ดา้ น 49.90
19 เปรียบเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานระดับชาติ (NT) ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2563-2565 80 60.6 60 42.44 ปี 2563 40 ปี 2564 20 50.07 ปี 2565 0 39.2 25.8 ด้านภาษา 45.14 49.9 34.12 47.61 ดา้ นคานวณ รวมเฉล่ยี ทั้ง 2 ดา้ น 3) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานผู้เรยี นระดับชาติ (O-NET) 3.1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2565 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 46.94 21.56 31.72 28.32 คะแนนเฉลยี่ ระดบั จงั หวดั 53.49 26.61 37.97 33.33 คะแนนเฉลีย่ สงั กดั สพฐ.ท้ังหมด 52.80 26.52 37.90 33.57 คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ 53.89 28.06 39.34 37.62 แผนภมู แิ สดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) 100 ปีการศกึ ษา 2565 ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 90 80 70 46.94 53.49 60 52.8 53.89 50 21.56 40 26.61 26.52 30 28.06 31.72 20 37.97 37.9 39.34 28.32 33.33 33.57 37.62 10 0 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรยี น คะแนนเฉล่ียระดับจังหวดั คะแนนเฉลี่ย สงั กัด สพฐ.ทั้งหมด คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ
20 3.2) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563-2565 ระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6 ผลตา่ ง ผลตา่ ง รายวิชา ปี 2563 ปี 2564 2563- ปี 2565 2564- 2564 2565 ภาษาไทย 61.56 43.43 -18.13 46.96 +3.53 ภาษาอังกฤษ 36.25 26.42 -9.83 28.32 +1.90 คณติ ศาสตร์ 30 32.53 +2.53 21.56 -10.97 วทิ ยาศาสตร์ 46.29 33.41 -12.88 31.72 -1.69 รวมเฉลีย่ 43.52 33.94 -9.57 32.14 -1.80 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563-2565 ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 6 100 61.56 90 43.43 80 70 46.96 60 36.25 50 26.42 40 28.32 30 30 20 32.53 10 21.56 0 46.29 ภาษาไทย 33.41 31.72 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
21 3.3) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2565 ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ระดบั /รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 42.81 22.10 28.29 25.27 คะแนนเฉลยี่ ระดบั จงั หวดั คะแนนเฉลยี่ สงั กัด สพฐ.ทัง้ หมด 52.69 23.69 32.98 30.10 คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ 53.91 24.66 33.67 31.75 52.95 24.39 33.32 35.05 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2564 ระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 100 90 80 70 60 42.81 52.69 50 53.91 52.95 40 22.1 30 23.69 24.66 20 24.39 28.29 32.98 33.67 33.32 25.27 30.1 31.75 35.05 10 0 คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น คะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวัด คะแนนเฉลีย่ สงั กดั สพฐ.ทงั้ หมด คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ
22 3.4) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563-2565 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 รายวิชา ปี 2563 ปี 2564 ผลต่าง ปี 2565 ผลตา่ ง 2563-2564 2564-2565 ภาษาไทย 50.25 38.4 -11.85 42.81 +4.41 ภาษาอังกฤษ 28.88 26.56 -2.32 25.27 -1.29 คณิตศาสตร์ 19.8 19.27 -0.53 22.10 +2.83 วิทยาศาสตร์ 29.1 28.09 -0.01 28.29 +0.20 37.36 28.08 -3.67 36.79 +1.53 รวมเฉลยี่ เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563-2565 ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 100 50.25 90 38.4 80 70 42.81 60 28.88 50 26.56 40 25.27 30 19.8 20 19.27 10 22.1 0 29.1 28.09 ภาษาไทย 28.29 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ปี 2563 ปี 2564 ปี 2564
23 1.6 ข้อมูลการใช้แหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 จำนวนนกั เรยี นท่ีใชแ้ หล่งเรียนรู้ในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2565 แหลง่ /ช้ัน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 หอ้ งสมุด 32 31 33 36 39 28 24 28 28 แปลงเกษตร 32 31 33 36 39 28 24 28 28 หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 32 31 33 36 39 28 24 28 28 จานวนนักเรียนท่ใี ช้แหล่งเรยี นรใู้ นโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2565 39 36 32 33 31 28 28 28 39 36 24 312 31 33 28 28 28 24 32 31 33 36 39 28 24 28 28 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ห้องสมุด แปลงเกษตร หอ้ งคอมพวิ เตอร์
24 จำนวนนกั เรยี นทใี่ ช้แหลง่ เรียนร้นู อกโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2565 แหล่ง/ชั้น ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 32 31 33 36 39 26 24 28 28 สหกรณ์หมบู่ ้าน 32 31 33 36 39 26 24 28 28 32 31 33 36 39 26 24 28 28 วดั ประจำหมู่บ้าน ศนู ยเ์ ศรษฐกจิ พอเพียง 32 31 33 36 39 26 34 28 28 หมู่บา้ น ค่ายลกู เสอื จานวนนักเรยี นทใ่ี ช้แหลง่ เรียนรนู้ อกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2565 39 36 32 31 33 39 28 28 36 26 34 32 31 33 28 28 36 39 26 24 28 28 26 24 32 31 33 32 31 33 36 39 26 24 28 28 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 สหกรณ์หมบู่ า้ น วัดประจาหมบู่ า้ น ศนู ยเ์ ศรษฐกจิ พอเพียงหมบู่ ้าน คา่ ยลูกเสือ
25 1.7. ข้อมูลงบประมาณ รายรับ จำนวน/บาท รายจ่าย จำนวน/บาท เงินงบประมาณ 5,915,760 5,915,760 งบดำเนนิ การ 674,300 เงินนอกงบประมาณ 674,300 6,590,060 เงินอ่ืนๆ(ระบุ) 6,590,060 เงนิ เดือน-คา่ จา้ ง รวมรายรับ งบพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา งบอื่นๆ(ระบ)ุ รวมรายจ่าย งบดำเนนิ การ คิดเป็นร้อยละ - ของรายรบั เงนิ เดอื น เงนิ ค่าจา้ ง คดิ เป็นร้อยละ …………89,76…………….. ของรายรับ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คดิ เป็นร้อยละ …10,24. ของรายรับ 1.8. ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม 1) ดา้ นสภาพภมู ิศาสตร์ เปน็ ที่ราบลมุ่ นำ้ ไมท่ ว่ มขงั บริเวณโดยรอบโรงเรยี นเป็นบา้ นเรือนของ ชุมชนและทุง่ นา 2) ด้านประชากร มีจำนวนประมาณ 1,200 คน สว่ นใหญ่ จบการศกึ ษาระดับตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี อาชีพหลักของชมุ ชน คือ อาชีพทำนา เกษตรกรรม การเล้ียงสัตว์ ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ มฐี านะทาง เศรษฐกิจไมค่ ่อยดี รายได้โดยเฉลย่ี ต่อครอบครัวประมาณ 15,000 –25,000 บาทต่อปี ประเพณแี ละ ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถน่ิ ทเี่ ป็นที่รจู้ ักโดยทัว่ ไป คือ รำตรด , กนั ตรึม 3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น มเี ขตบริการ 5 หม่บู า้ น มีปราชญช์ าวบา้ นและแหลง่ เรียนรู้ใน ชมุ ชน ได้แก่ การทอผ้าพน้ื เมือง งานจักรสาน การทำขนมพ้ืนบ้านในเทศกาลประเพณีและวฒั นธรรมของท้องถน่ิ ตา่ งๆ การเลี้ยงสัตว์ ปลูกผัก การเล้ียงไก่ การเล้ียงสุกร และเล้ียงปลาธรรมชาติ ประชากรดำรงชีวติ ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากน้ียังมีวดั บัวถนน ซึ่งเป็นแหล่งเรียนร้ดู ้านคุณธรรมจรยิ ธรรม และได้รับการ สนบั สนุนงบประมาณบางส่วนจากองค์การบริหารสว่ นตำบลสงู เนิน และยังได้รบั การสนบั สนุนจากสถานีอนามัย ตำบลสูงเนินในการตรวจสขุ ภาพอนามัยนักเรียนเป็นประจำ ผู้ปกครองในชุมชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน เมื่อหมด ฤดูทำนาต้องอพยพไปขายแรงงานในเมืองหลวงหรือต่างจงั หวัด นักเรียนต้องอาศยั อยู่กบั ปูย่ ่า ตายาย นักเรียน บางคนกต็ ิดตามผปู้ กครองไปด้วย
26 1.9. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2564) โรงเรยี น บา้ นบัวถนน ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบส่ี (พ.ศ. 2559 – 2564) เม่ือวันที่ 16 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 สรุปดังนี้ ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน จดุ เนน้ ผู้เรียนมีความสามารถและทกั ษะในการอ่าน เขียน การสอื่ สาร การคิดคำนวณ ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วัด สรปุ ผลการประเมนิ √ √ ๑.มีการระบุเป้าหมายคณุ ภาพของผเู้ รียน o ปรบั ปรงุ ( ๐-๓ ข้อ) √ ๒.มีการระบวุ ธิ ีการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ o พอใช้ ( ๔ ข้อ) √ ตามเป้าหมายการพัฒนาผ้เู รียน √ ดี ( ๕ ข้อ) √ ๓.มผี ลสัมฤทธ์ิของผู้เรยี นตามเปา้ หมายการพัฒนาผู้เรียน ๔.มีการนำผลประเมินคณุ ภาพของผเู้ รียนมาพัฒนาผูเ้ รยี น ดา้ นผลสัมฤทธ์ิใหส้ ูงขนึ้ ๕.มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อผทู้ ี่ เก่ียวข้อง ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงข้ึน สถานศึกษาควรระบุขอ้ มูลในรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในประเด็นจดุ เน้นผู้เรียนมี ความสามารถและทักษะในการอา่ น การเขียน การคิดคำนวณ ควรระบเุ ปา้ หมายเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพให้ ชัดเจน เชน่ ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๘๕ ในทกั ษะการอ่าน การเขียน การคดิ คำนวณระดับดีขึ้นไป เปน็ ต้น ควรระบุ วิธกี ารพฒั นาคุณภาพของผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบให้ได้คณุ ภาพตามเป้าหมาย เช่น จัดทำโครงการส่งเสริมทกั ษะ ในการอ่าน โครงการรกั การอ่าน โครงการรกั ภาษาไทย กจิ กรรมท่องคำคลอ้ งจอง กิจกรรมลายมอื สวย กิจกรรมการเขยี นส่ือความได้ เปน็ ตน้ ควรระบุวธิ ปี ระเมินโครงการหรอื ประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนวา่ ใช้เคร่อื งมืออะไร ผลประเมนิ เปน็ ไปตามเป้าหมายหรอื ไม่ สถานศกึ ษาควรนำผลการประเมนิ แสดงข้อมลู หลกั ฐานในรปู แบบตาราง แผนภมู ิ กราฟ หรอื ข้อความใหช้ ดั เจนวา่ ผลการดำเนินงานบรรลุเปา้ หมายหรอื ไม่ มีประเด็นใดท่ีควนนำไปวางแผนพัฒนาในปีการศึกษาต่อไป นอกจากน้ีควรระบุการเผยแพรผ่ ลงานต่อ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน หนว่ ยงานต้นสังกดั วา่ ดำเนินการอยา่ งไร เชน่ สมุดรายงานผล การเรียนของผเู้ รยี น จุลสาร เอกสาร กลุ่มไลน์ เฟซบุ๊ก เป็นต้น
27 มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ จดุ เน้น การบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบเพื่อขับเคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษา ผลการพจิ ารณา ตวั ช้ีวดั สรปุ ผลการประเมิน √ ๑.มีการวางแผนการดำเนินการในแตล่ ะปีการศึกษา √ ๒.มีการนำผลการดำเนินการไปใชด้ ำเนินการ o ปรับปรงุ ( ๐-๓ ข้อ) √ ๓.มีการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิของการดำเนนิ การตามแผน o พอใช้ ( ๔ ข้อ) √ ๔.มีการนำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรบั ปรุงแก้ไขในปี √ ดี ( ๕ ข้อ) การศึกษาต่อไป √ ๕.มีการนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาใหผ้ มู้ ี ส่วนไดส้ ว่ นเสยี ได้รับทราบ ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดับสูงข้ึน สถานศกึ ษาควรระบุข้อมูลในรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ดา้ นการบรหิ ารและการจัดการท่ีเนน้ เครอื ข่ายความรว่ มมือการมสี ่วนร่วมในการบรหิ ารวา่ มีการดำเนินการอย่างไร เชน่ มกี ารจัดทำแผนพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีอย่างเหมาะสมทีส่ อดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา เป็นต้น สถานศึกษาควรระบวุ ิธกี ารดำเนินการตามแผนหรือระบุโครงการทดี ำเนนิ การวา่ มีอะไรที่จะนำไปสู่การพฒั นา ตามจดุ เนน้ เชน่ โครงการนิเทศภายในโครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา โครงการพฒั นาบคุ ลากรใหม้ ี ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21โครงการการพัฒนาเพม่ิ ประสิทธิภาพองค์กรดว้ ยสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ โครงการ พฒั นาสภาพแวดล้อมใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้ เปน็ ต้น และควรระบุข้อมูลใน SAR ที่เกี่ยวข้องกับวิธปี ระเมินผลและ ผลการดำเนินงานหรือผลประเมนิ โครงการเม่ือเปรียบเทยี บกบั คา่ เป้าหมายวา่ บรรลเุ ป้าหมายหรอื ไม่ นอกจากนี้ควรระบปุ ระเดน็ ท่ีจะต้องนำไปปรบั ปรุงแก้ไขในปกี ารศึกษาต่อไปหรือประเด็นท่เี ปน็ ข้อเสนอแนะ และควรระบวุ ิธนี ำเสนอผลการดำเนนิ งานหรอื ผลการบริหารจัดการใหผ้ ู้ทเี ก่ียวข้องทราบวา่ ดำเนนิ การอยา่ งไร เช่น รายงานในทีป่ ระชมุ เผยแพร่ทางเวบ็ ไซด์ จดหมายขา่ ว แผน่ พบั วารสาร กลุ่มไลนผ์ ู้ปกครอง เป็นต้น
28 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ จดุ เนน้ ครจู ัดการเรียนการสอนเน้นการปฏบิ ัติ ผ่านกระบวนการคิด ปฏบิ ตั ิจริง ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วดั สรปุ ผลการประเมนิ √ √ ๑.ครูมีการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ครบทุกรายวิชาทุกชั้นปี o ปรบั ปรุง ( ๐-๓ ข้อ) √ ๒.ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการ o พอใช้ ( ๔ ข้อ) √ เรยี นรโู้ ดยใชส้ ื่อเทคโนโลยีสารสยเทศและแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อ้ือ √ ดี ( ๕ ข้อ) √ ต่อการเรียนรู้ ๓.มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอน อย่างเป็นระบบ ๔.มีการนำผลประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ ตรูอย่างเปน็ ระบบ ๕.มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพื่อพฒั นา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดับสูงขึ้น สถานศกึ ษาควรระบุขอ้ มลู ในรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในประเด็นท่ีเปน็ จุดเนน้ เกีย่ วกับ การจดั การเรียนการสอนเน้นการปฏบิ ัติ ผ่านกระบวนการคดิ ปฏิบัตจิ รงิ เพื่อยกระดับให้สูงข้ึน ท้ังน้ี สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนร้ผู า่ นกระบวนการคดิ ในรูปแบบการสอนสง่ เสริมทักษะการคิด คิดเปน็ คดิ ได้ มีวิธีการอยา่ งไร ได้แก่ ผลติ สือ่ การสอนหรือการจดั ประสบการณ์เรียนรู้ไดค้ ิดแกป้ ัญหา คิดสอดแทรกใน ปัญหาเป็น เชน่ การเรียนร้เู รื่อง COVID-19 ครูอาจใชเ้ ทคนคิ พัฒนาทางสมองดว้ ยการต้ังคำถามใหค้ ดิ ๕ ประการ เชน่ ใช้คำถาม ชวนคิดในสถานการณ์การกระตุ้นให้ขบคดิ การสะท้อนคดิ การคิดต่อยอด และการ ประเมินความคิดเพ่ือการเรยี นรู้ เป็นตน้ ควรระบวุ ิธกี ารวดั ผล ประเมนิ ผลว่ามีวธิ ีการอย่างไร เชน่ การพูดคยุ สนทนา การสัมภาษณ์ สารสงั เกต การสำรวจการตรวจผลงานเป็นตน้ นอกจากน้คี วรแสดงผลการประเมินว่า เป็นอยา่ งไร บรรลเุ ปา้ หมายหรอื ไม่ มปี ัญหาหรือมีข้อเสนอแนะที่สามารถนำไปปรบั ปรงุ พฒั นาการจดั การ เรยี นรูใ้ นครง้ั ตอ่ ไป อย่างไร และระบกุ จิ กรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ หรือกจิ กรรมชมุ ชนแหง่การเรียนร้ทู าง วิชาชีพ (PLC) ของครูว่ามีการดำเนินการอย่างไร มีผลท่เี กิดจากการดำเนินการทน่ี ำไปปรับปรุงการจัดการ เรยี นการสอนเรื่องใด อย่างไร รวมท้ังการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น หรือครูตอ่ ผเู้ ก่ียวข้องทราบว่า ดำเนินการอย่างไร เชน่ รายงานในทีป่ ระชุม เผยแพร่ทางเวบ็ ไซต์ จดหมายข่าว แผ่นพบั วารสาร กลมุ่ ไลน์ ผปู้ กครอง เป็นตน้ ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม สถานศึกษาควรระบุขอ้ มูลในรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ให้มคี วามสมบูรณย์ งิ่ ขึ้น โดยควรระบุ วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย เอกลกั ษณ์ ค่านิยมของสถานศึกษา ใหค้ รบถว้ นและสมบูรณ์ยงิ่ ขนึ้ และควรจัดทำ บทสรปุ ผบู้ ริหารให้มีสาระสำคญั ครบถว้ น เชน่ ระบุผลการดำเนนิ งานที่เปน็ จดุ เดน่ จุดท่ีควรพัฒนา ข้อเสนอแนะให้ครบทุกมาตรฐาน ระบุหลักฐานสนับสนนุ ผลการดำเนินงานและแผนพัฒนาเพอ่ื ใหไ้ ด้มาตรฐาน ที่สูงข้ึน เปน็ ต้น นอกจากน้ีควรระบขุ ้อมูลพน้ื ฐานเกย่ี วกบั สถานศกึ ษา ได้แก่ ทต่ี ้ัง ประวัติโดยสังเขป การ จัดการศกึ ษา สภาพชมุ ชน เศรษฐกิจและสังคม ข้อมลู แหล่งการเรียนรภู้ ายในและภายนอนสถานศึกษา ข้อมูล โครงสร้างการบรหิ ารของสถานศกึ ษา ข้อมูลบุคลากรจำนวนครูที่รับผดิ ชอบการจัดการเรียนการสอนในแต่ละ
29 ระดับ ได้แกร่ ะดับปฐมวัย ระดบั ประถมศึกษาและระดับมัธยมศกึ ษา โดยแยกจำนวนแต่ละระดบั ใหช้ ดั เจน สถานศกึ ษาควรระบุโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาทุกระดับการศกึ ษา ข้อมลู อาคารสถานท่ี ขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้ ข้อมูลรอ้ ยละข้องผสู้ ำเร็จการศึกษาแตล่ ะระดับ ขอ้ มูลวันเรยี นทส่ี ถานศึกษาจัดการเรยี นการสอนจรงิ นอกจากนค้ี วรระบุขอ้ มูลผลการดำเนินงานของแต่ละมาตรฐานย้อนหลัง ๓ ปกี ารศึกษาว่ามีแนวโน้มการพัฒนา เป็นอยา่ งไร ควรนำเสนอข้อมูล ผลการดำเนนิ งานทีส่ ามารถเปน็ แบบอย่างทด่ี ี(Best Practices) หรือ นวตั กรรม (Innovation) ถา้ มี ของแต่ละมาตรฐาน ตลอดจนผลสำเรจ็ ของการดำเนินงานและรางวลั ท่ีได้รบั สถานศึกษาควรระบุผลประเมินความพงึ พอใจของผูเ้ กี่ยวข้องในแต่ละมาตรฐานวา่ อยใู่ นระดบั ใด ให้ขอ้ มลู ดงั กลา่ วปรากฏอยู่ในรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ดว้ ยเช่นกนั
30 ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั ข้นั พ้ืนฐาน ปีการศกึ ษา 2565 มาตรฐาน ระดับคุณภาพ แปลผล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 3 ดี 3 ดี 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี น 4 ดีเลศิ 4 ดีเลิศ 1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียน 4 ดีเลิศ 4 ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 4 ดเี ลิศ 2.1 มเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพของผเู้ รยี นรอบด้าน ตามหลักสตู ร สถานศกึ ษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี 5 ยอดเยี่ยม 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้อย่าง 4 ดเี ลิศ มีคณุ ภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการ 5 ยอดเย่ยี ม จัดการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั 4 ดีเลศิ 4 ดเี ลิศ 3.1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้ 3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ 4 ดีเลิศ 3.3 มกี ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 4 ดีเลศิ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น 4 ดีเลศิ 3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรับปรงุ 4 ดีเลิศ การจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา 4 ดีเลิศ
31 ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐาน ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มาตรฐาน ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดี ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ดเี ลิศ ดเี ลศิ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ระดับคณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพัฒนา สถานศกึ ษาได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผเู้ รียนจำนวน 2 ดา้ น ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้ จัด กิจกรรมให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ มีความสามารถในการ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทักษะการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชพี สำหรับด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียนมุง่ เน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามทีส่ ถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะ ทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย 2. ผลท่ีเกดิ จากการพัฒนา ผู้เรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษากำหนด มีความสามารถในการอา่ น เขียน การคดิ คำนวณ คิดวเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา มีความสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมคี วามรู้พื้นฐานมเี จตคติทด่ี ีต่องานอาชพี มีคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดี ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย ยอมรับท่จี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และความหลากหลาย มสี ุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 3. ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง - หลักสตู รสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน - แผนการสอน - ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ - บันทกึ การใชเ้ ทคโนโลยี - ภาพถา่ ยกจิ กรรม
32 4. แผนพัฒนาเพือ่ ยกระดับคุณภาพใหส้ ูงขึ้น 1) พฒั นาทกั ษะในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ 2) พัฒนาการคดิ จำแนก แยกแยะ ใครค่ รวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผล ประกอบการตัดสนิ ใจ มกี ารอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาอยา่ งมเี หตุผล 3) พฒั นาความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ทง้ั ด้วยตนเองและการทำงานเปน็ ทีม เช่อื มโยงองค์ ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ 4) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอื่ พัฒนาตนเอง และสังคมในดา้ นการเรียนรู้ การส่อื สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ 5) พัฒนาการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รสถานศึกษาจากพ้นื ฐานเดมิ ในดา้ นความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ กระบวนการต่าง ๆ 6) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีความกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐานในการจดั การ เจตคติท่ีดีพร้อมทจี่ ะศกึ ษาต่อในระดับช้ันทส่ี งู ขนึ้ มีพฤติกรรมเปน็ ผูท้ ม่ี คี ุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา 7) กิจกรรมสรา้ งค่านยิ มและจิตสำนกึ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถ่นิ เห็นคณุ ค่าของ ความเปน็ ไทย มีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภมู ิปัญญาไทย 8) กจิ กรรมพฒั นาให้นักเรียน มกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอยา่ ง เหมาะสมในแต่ละชว่ งวัย มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลิศ 1. กระบวนการพฒั นา วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจำปี ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรเข้ารับการพัฒนาตนเองให้มีความชำนาญด้านวิชาการ และจัดครูเข้า สอนตรงตามสาขาวชิ าเอก จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2. ผลท่ีเกิดจากการพัฒนา ความสำเร็จด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ได้แก่ โรงเรียนมีผลสำเร็จตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่โรงเรยี นกำหนดชดั เจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชมุ ชน มีระบบการ บริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยา กร ทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยมีส่วนในการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นาและรว่ มกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา มีการ บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ครูและบุคลากรมีความชำนาญในการจัดการเรียนรู้ พัฒนางานและการ เรียนรขู้ องผู้เรยี น จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนนุ
33 การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน พัฒนาบริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ มหี อ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอรเ์ พื่อใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรอู้ ย่างเหมาะสม 3. ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา - แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี - แผนการนิเทศ - รายงานการพฒั นาตนเอง - แผนการสอน - รายงานโครงการ 4. แผนพฒั นาเพือ่ ยกระดับคุณภาพใหส้ งู ขน้ึ - โครงการประกนั คุณภาพทางการศกึ ษา - โครงการนเิ ทศภายใน - การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา - โครงการศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ - กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรยี น - กิจกรรมระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น - โครงการพฒั นาครพู ฒั นาครูส่คู รูมืออาชีพ - โครงการจดั สภาพแวดล้อมให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา จัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย ส่งเสริมให้ ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพ่ือ นำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา เปิดโอกาส ให้ นักเรียนมีสว่ นรว่ ม ครรู ู้จกั ผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล ดำเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกนั แลกเปล่ียนเรยี นรู้ และนำผลที่ได้มาปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ ครูจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตาม แผน ครูผลติ นวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกท้งั ปรบั โครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรูล้ ดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุป ความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการ มอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆทั้งภายในห้องเรียนและนอก ห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและ ประสิทธิภาพของส่อื การสอนท่ใี ช้ครูทกุ คนทำงานวิจยั ในช้นั เรยี น ปีการศึกษาละ 1 เรือ่ ง
34 2. ผลทเี่ กิดจากการพัฒนา ภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมชุมนุม ให้นักเรียนเลือกตาม ความถนัดและความสนใจผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง การบันทึกการใชส้ ่ือ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรู้ เอกสารการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนมีการบริหารจัดการช้ัน เรียนเชิงบวกโดยครูมวี ิจัยชัน้ เรียนและนำผลไปแก้ไขปัญหาจริงครมู ีการแลกเปล่ียนเรยี นร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อน กลับเพื่อพฒั นาผ้เู รยี น 3. ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมินตนเอง - หลกั สูตรสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน - แผนการสอน - บันทกึ การใช้สือ่ /นวัตกรรม - งานวิจยั ในชน้ั เรยี น - รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน - การวเิ คราะห์ผู้เรียนรายบุคคล - ภาพถา่ ยกิจกรรม 4. แผนพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพใหส้ งู ข้นึ - โครงการปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษา - กจิ กรรมการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน - โครงการพัฒนาการใชส้ อื่ เทคโนโลยี สหู่ ้องเรยี น สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอย่ใู นระดบั ดเี ลิศ จากผลการดำเนินงานโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาประสบผลสำเร็จตามท่ตี ้ังเป้าหมายไวใ้ นแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมินสรปุ วา่ ได้ระดบั ดีเลศิ ทั้งนี้ เพราะ สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน มีระบบบริหารจัดการ คุณภาพของสถานศึกษา ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ จัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสังคมทเี่ อื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุน การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ผเู้ รียนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดบั ดี คอ่ นข้างดีมาก ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่เอ้ือต่อการ เรียนรู้ มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา ผู้เรียน มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู
35 สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองโดยภาพรวมระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน อยใู่ นระดับ ดีเลศิ จดุ เดน่ ของสถานศึกษา จดุ ท่คี วรพฒั นาของสถานศึกษา 1. ดา้ นคุณภาพของผู้เรยี น 1. ดา้ นคณุ ภาพของผ้เู รียน สถานศกึ ษามีการวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธทิ์ างการ - การจัดกจิ กรรมที่มงุ่ เนน้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ เรยี นและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดย ยงั ขาดการปฏบิ ัติทตี่ อ่ เนือ่ งจริงจงั ใชข้ ้อมลู ฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเปา้ หมายคณุ ภาพ - การยกระดับผลสัมฤทธ์แิ ต่ละกลุ่มสาระประสบ นกั เรยี นให้พัฒนาสงู ข้นึ จดั กิจกรรมการเรียนการ ผลสำเรจ็ ในระดับหน่ึง นกั เรยี นส่วนใหญย่ งั ตอ้ ง สอนเนน้ การปฏบิ ตั ิ เน้นทักษะในการอ่าน การ ไดร้ บั การพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธ์ิระดับชาติของ เขียน และการคดิ คำนวณ ส่งเสริมผู้เรยี นใหพ้ ัฒนา นกั เรยี นมีแนวโนม้ เปลยี่ นแปลงพฒั นาข้ึนโดยรวม เตม็ ศกั ยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรูภ้ ายในได้อยา่ ง แต่ไม่ผา่ นเกณฑ์ในบางกล่มุ สาระการเรียนรู้ จงึ เหมาะสม มีสื่อดา้ นเทคโนโลยที ีท่ นั สมยั ผู้เรยี นมี ต้องมุง่ เนน้ พัฒนาต่อไป สขุ ภาพกาย สุขภาพจิต ดี กล้าแสดงออก และ - การจัดกจิ กรรมด้านการอ่าน การเขยี น สามารถอย่รู ว่ มกับผูอ้ ืน่ อย่างมีความสขุ คำนวณให้กับนักเรยี น เปรยี บเทยี บ ความก้าวหนา้ และการพฒั นาของนักเรียนเป็น รายบุคคล 2. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนมีเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ - โรงเรียนควรจัดให้มีห้องปฏิบัติการที่เพียงพอ ทก่ี ำหนดไวช้ ดั เจน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของ และเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้มีการนิเทศ โรงเรียนตามความต้องการของชมุ ชน ตดิ ตามที่ชดั เจน วัตถุประสงค์ของแผนการจดั การศกึ ษาของชาติ นโยบายของรฐั บาลและตน้ สังกดั ทันตอ่ การ -. สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือของผ้มู ีส่วน เปลี่ยนแปลงของสังคม พฒั นางานวชิ าการเนน้ เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาทม่ี ีความเขม้ แข็ง คณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้าน ตามหลกั สูตรสถานศึกษา มสี ว่ นรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และส่งเสริมสนบั สนนุ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ี และขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา ความชำนาญการพิเศษ ตรงตามความต้องการ ใหเ้ ปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ 3. ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอน 3. ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอน ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ครูมีความตงั้ ใจ มุง่ มั่นพฒั นาการสอน โดยจัด ควรใชก้ ระบวนการวิจัยอยา่ งเปน็ รปู ธรรมและ กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นร้โู ดยการคดิ ไดป้ ฏบิ ตั จิ ริง ตอ่ เนือ่ ง ให้ผ้เู รียนมสี ่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง จากแหลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ผู้เรยี นแสวงหาความรู้ กำหนดเนือ้ หาสาระ กิจกรรมทสี่ อดคลอ้ งกับความ จากสือ่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง ผูเ้ รยี นมี สนใจและความถนดั เปน็ รายบคุ คลอยา่ ง เป็น รปู ธรรมท้ังระบบ
36 สว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่เี อื้อ ตอ่ การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นาในอนาคต 1. การจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู เี่ น้นการพัฒนาผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลใหช้ ัดเจนข้นึ 2. การส่งเสรมิ ใหค้ รูเห็นความสำคัญของการจัดการเรยี นรูโ้ ดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ การจดั ทำวิจัยในชัน้ เรียนเพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นใหส้ ามารถเรยี นรู้ได้เตม็ ศกั ยภาพ 3. การพฒั นาบคุ ลากรโดยสง่ เขา้ รบั การอบรม แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ตดิ ตามผลการ นำไปใช้และผลที่เกิดกบั ผ้เู รียนอยา่ งต่อเน่ือง 4. การพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน ความต้องการการช่วยเหลือ 1. ควรจดั สรรครใู หต้ รงตามเอกท่ีโรงเรียนตอ้ งการ 2. การพฒั นาครูผู้สอนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทีส่ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 3. การสรา้ งข้อสอบท่สี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรตู้ ามแนวทางของการประเมิน NT O-NET
37 ส่วนท่ี 4 ภาคผนวก คำสง่ั โรงเรียนบา้ นบวั ถนน ท่ี ๕๕ / ๒๕๖๖ เรอ่ื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจัดทำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ดว้ ย กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้กำหนดหลักเกณฑ์และแนว ปฏบิ ัตกิ ารดำเนินงานการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา เพ่ือให้การดำเนนิ งานการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษาเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยตามหลักเกณฑ์ แนวปฏิบตั ขิ องกฎกระทรวง โรงเรยี น บา้ นบวั ถนนจงึ แต่งต้ังคณะกรรมการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ดงั น้ี ๑. นายจรญั วารนิ ทร์ ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๒. นางสาวศภุ ากร พันธศ์ รี ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ ๓. นายสหสั ชัย อไุ รรักษ์ ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๔. นางสาวชนญั ชดิ า หวงั ทรพั ย์ ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๕. นางสุจินตจ์ ิตต์ บุญสุวรรณ ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๖. นางอคั รเวศย์ เพชรทองช่วย ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๗. นางศิรวิ รรณ สบุ ินรมั ย์ ตำแหน่ง ครู กรรมการ ๘. นางสาวกติ ตญิ า เชือ้ มาก ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๙. นางสาวจนั ทนา สตั ตารัมย์ ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๑๐. นายยศธร สุนทรรกั ษา ตำแหน่ง ครู กรรมการ ๑๑. นางสาวกชนภิ า แกว้ ไธสง ตำแหน่ง ครู กรรมการ ๑๒. นางสาวพกิ ุลทอง พวงเงนิ ตำแหน่ง ครู กรรมการ ๑๓. นางมณโฑ แกว้ สอน ตำแหนง่ ครู กรรมการ ๑๔. นางเยาวรตั น์ นาชัย ตำแหน่ง ครู กรรมการและเลขานุการ ๑๕. นางแสงอรณุ จงทวี ตำแหน่ง ครู กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ ๑๖. นางสาวนลินี สัตตารัมย์ ตำแหน่ง เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
38 ขอใหค้ ณะกรรมการท่ีได้รับการแต่งตัง้ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ที่ไดร้ ับมอบหมายด้วยความวริ ยิ ะ อุตสาหะ ทงั้ น้ี เพ่ือบังเกดิ ประโยชนแ์ ก่ทางราชการ และรายงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรมั ย์ เขต ๒ ต่อไป ทง้ั น้ี ตัง้ แตว่ ันท่ี ๑ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สง่ั ณ วนั ที่ ๑ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ( นายจรัญ วารินทร์ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นบวั ถนน
39 ประกาศโรงเรียนบ้านบัวถนน เรื่อง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา --------------------------------------------------- โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษท่ีสองที่กำหนดเปา้ หมายและยุทธศาสตร์ในการพฒั นาคุณภาพ คนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน คุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จำเป็นต้องปรับปรุง มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานใหส้ อดคล้องกัน จึงใหย้ กเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองให้ใช้มาตรฐาน การศึกษาระดับปฐมวัยเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา ลงวนั ท่ี ๒ มนี าคม ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ไดก้ ำหนดการจดั ระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศึกษา โดยยึดหลกั ทส่ี ำคัญข้อหนึ่ง คอื มีการ กำหนดมาตรฐานการศกึ ษา และจดั ระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาโดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผนและ มาตรฐานการศึกษา และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้อง ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรับรองการประกัน คุณภาพภายนอก ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๙ (๓) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๔๘ แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ มาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานในการประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๖๒ เมื่อวันศุกร์ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านบัวถนน จึง ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและมาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกัน คุณภาพภายในของโรงเรียนบ้านบัวถนน ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล และติดตามตรวจสอบ คณุ ภาพการศกึ ษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนฉ้ี บบั นี้ ทงั้ น้ี ใหใ้ ช้กบั สถานศึกษาท่เี ปิดสอนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานของโรงเรียน บา้ นบวั ถนน ต่อไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (นายจรัญ วารินทร์) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบัวถนน
40 มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบ้านบัวถนน เรอ่ื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ขน้ั พ้ืนฐาน ฉบบั ลงวนั ท่ี ๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ----------------------------------------- มาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจำนวน ๓ มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น ๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น เขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ ๒) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความ คิดเห็นและแก้ปัญหา ๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ๔) มคี วามก้าวหนา้ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ๕) มี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ๖) มคี วามร้พู ื้นฐาน และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น ๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด ๒) ความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรับท่จี ะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและความหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ๒.๑ การมีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพของผเู้ รยี นรอบด้าน ตามหลักสตู รสถานศึกษา และทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นร้อู ย่างมคี ุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ๓.๑ จัดการเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหลง่ เรียนรูท้ เี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
41 ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรียน ๓.๕ มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัด การเรยี นรู้
42 ประกาศโรงเรียนบา้ นบวั ถนน เรื่อง การกำหนดค่าเปา้ หมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๙ การจดั ระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักสำคัญในข้อ (๓) มกี ารกำหนดมาตรฐาน การศกึ ษา และจัดระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา ทุกระดับและประเภทการศึกษา และมาตรตา ๔๘ ให้ หนว่ ยงานต้นสงั กัดและสถานศึกษาจดั ให้มีระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นสว่ นหนึง่ ของการบริหารการศึกษาทตี่ อ้ งดำเนนิ การอยา่ งต่อเนื่อง โดยมีการ จดั ทำรายงานประจำปเี สนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กัด หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่อื นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา และเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ ประกาศ กระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั ระดับการข้นั พน้ื ฐาน เมื่อวนั ท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ ประกอบกับมนี โยบายให้ปฏิรูประบบการประเมนิ และการประกันคุณภาพภายในและ ภายนอกทุกระดบั ก่อนมกี ารประเมินคุณภาพในรอบต่อไป โรงเรยี นบ้านบัวถนน จงึ ปรบั มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และ การมสี ่วนรว่ มของผ้เู กยี่ วข้อง ทั้งบุคลากรทกุ คนในโรงเรยี น ผู้ปกครอง และประชาชนในชมุ ชนให้เหมาะสม และสอดคล้องกันเพ่ือนำไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนบา้ นบวั ถนน มคี ณุ ภาพและได้ มาตรฐาน โรงเรียนจงึ ได้กำหนดคา่ เป้าหมายการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั และระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี ประกาศ ณ วันที่ ๘ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (นายจรญั วารนิ ทร์) ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นบัวถนน
43 การกำหนดคา่ เปา้ หมาย แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนบา้ นบัวถนน เรอ่ื ง การกำหนดคา่ เป้าหมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ มาตรฐานการศึกษา ระดับคณุ ภาพ การแปรผล มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผูเ้ รียน ๗๔.๗๐ ดี ๑.๑. ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น ๗๐ ดี ๑) มคี วามสามารถใน การอา่ น การเขียน การสอื่ สารและ การคดิ คำนวณ ๒) มีความสามารถใน การคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ น ๗๐ ดี ความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา ๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ๖๘ พอใช้ ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๗๐ ดี ๗๐ ดี ๕) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ๗๕ ดี ๖) ความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ตี ่องานอาชพี ๑.๒. คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผ้เู รียน ๗๕ ดี ๑) การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ๒) ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย ๘๐ ดเี ลศิ ๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๘๐ ดเี ลิศ ๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจติ สังคม ๘๐ ดเี ลศิ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๗๖.๖๗ ดี ๒.๑. การมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ๗๕ ดี ๒.๒. มรี ะบบการบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ๗๕ ดี ๒.๓. ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคุณภาพของผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู ร สถานศึกษาและ ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ๗๕ ดี ๒.๔. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ๘๐ ดเี ลิศ ๒.๕. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ ๗๕ ดี ๒.๖. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและ การจัดการ ๘๐ ดเี ลิศ เรยี นรู้ ๗๕ ดี มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ๗๕ ดี ๓.๑. จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และการปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ ใชใ้ นชวี ิตได้ ดี ๗๕ ดี ๓.๒. ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ แหลง่ เรยี นรู้ทเ่ี ออื้ ต่อการเรยี นรู้ ๗๕ ดี ๓.๓. มกี ารบริหารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก ๗๕ ๓.๔. การตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผูเ้ รียน ดี ๓.๕. มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การ ๗๕ จดั การเรยี นรู้
44 การใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านบวั ถนน ตำบลสูงเนนิ อำเภอกระสัง สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต ๒ ............................................. ข้าพเจ้า นายพนิ สุบนิ รมั ย์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ได้พจิ ารณารายงานการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนบา้ นบัวถนน มมี ติเห็นชอบให้ใช้รายงานการ ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพอื่ ใช้รายงานผลการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาเสนอ ตอ่ หน่วยงานตน้ สังกดั และเปิดเผยตอ่ สาธารณชน รวมท้งั นำมาใชว้ างแผนการดำเนนิ งานและใชเ้ ปน็ แนวทางใน การจดั การศึกษาใหเ้ กิดประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลต่อไป ( ลงช่ือ ) ( นายพนิ สุบนิ รมั ย์ ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรยี นบา้ นบัวถนน
Search