3100-0111 Metallurgy สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล นางสาวณชั ชา ขนุ ศิริมา
ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับ สมบตั ิทางกายภาพ ทางเคมี และกลของโลหะ ความสัมพันธร์ ะหว่างความเค้น และความเครยี ดอะตอมของอนภุ าค โครงสร้างโมเลกุล โครงสร้างอสณั ฐาน โครงสรา้ งผลกึ ระบบโครงสร้าง ผลึกดัชนีมลิ เลอร์ ทิศทางและระนาบในผลึก ขอ้ บกพรอ่ งในผลึก การ เปลีย่ นรูปของโลหะ การคืนตัว
การเกดิ ผลึกใหม่ การเติบโต (Grain Growth) โลหะผสม กระบวนการแข็งตัว ของโลหะ โครงสรา้ งจากการแขง็ ตัวของงานหลอ่ เฟส และแผนภาพสมดุล ของ หน่ึงธาตุ สองธาตุ และสามธาตุ การปรับปรุงพฒั นา และควบคุมโครงสรา้ งของ โลหะชนิดตา่ งๆ เหล็กหลอ่ โลหะทไ่ี มใ่ ชเ่ หล็ก และโลหะผสม ปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกับการเตรียมชนิ้ งานและทดสอบความแข็ง การตรวจสอบโครงสรา้ งมหภาคและจุลภาค
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 20 รายการ -1 มาเรยี น -2 * มาสาย = หลังเช็คช่ือ 20 * ขาดเรียน 60 ปลายภาค 100 คะแนนเก็บระหวา่ งเรยี น รวม
โลหะวทิ ยาศาสตร์ + เทคโนโลยขี องการศึกษา รวมไปถึงสว่ นผสมทางเคมี โครงสร้าง และลักษณะของ โลหะทอ่ี ยู่ในสภาพแวดล้อมทแ่ี ตกต่างกัน
โลหะวทิ ยากรรมวธิ ีการผลติ ศึกษาเกี่ยวกับการแยกโลหะต่างๆออกจากสินแร่ นามาแปร สภาพให้เปน็ ผลผลิตทนี่ ามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น กรรมวิธีการ ผลิตเหลก็ ดิบ เหลก็ กล้าเป็นตน้
โลหะวทิ ยาทางกล ศึกษาเกี่ยวกบั การแปรรูป หรือการขึน้ รูป ซึง่ มผี ลตอ่ วงการ อุตสาหกรรมการผลิต
โลหะวทิ ยากายภาพ ศึกษาเก่ียวกบั สมบัตขิ องโลหะ อโลหะ ระดับโครงสร้างผลกึ โครงสร้างจลุ ภาค การเปล่ียนเฟส องคป์ ระกอบทางเคมี ความรอ้ น ส่งิ แลดล้อม และปจั จัยที่กระทบตอ่ โครงสรา้ งและ สมบตั ิของโลหะ
Properties of Materials คอื .... ลักษณะเฉพาะตวั ของวสั ดุท่แี สดงวา่ วัสดหุ นึง่ เหมือนหรือแตกตา่ งจากอีกวสั ดุ หนึ่ง เชน่ อะลูมเิ นียมมีลักษณะเปน็ ของแขง็ สีขาว คลา้ ยเงนิ นาความร้อน และไฟฟ้าได้ดี
Properties of Materials ประกอบด้วย สมบตั ทิ างกายภาพ สมบัตทิ างเคมี สมบตั ิทางกล
Physical Properties คือ... สมบัติทว่ั ๆไป ของวสั ดทุ ่ีสามารถตรวจสอบไดโ้ ดยไม่มกี าร เปลยี่ นแปลงองค์ประกอบของวัสดุ เช่น สี กลนิ่ สถานะ ความหนาแนน่ จดุ เดอื ด การนาไฟฟ้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของนา้
Chemical Properties คือ... สมบัตทิ ี่กลา่ วถึงความสามารถของสารในการเกิเป็นสารใหม่ โดย เกิดปฏกิ ริ ิยาทางเคมกี บั สารอ่นื เช่น เหล็กทง้ิ ไว้ในอากาศช้ืนทาปฏกิ ิรยิ าเกดิ สนมิ
การเปล่ยี นแปลงทางเคมขี องโลหะ เกดิ สนมิ
Mechanical Properties คือ... พฤตกิ รรมของวัสดซุ ึ่งตอบสนองตอ่ แรงกระทา เช่น ความแขง็ แรง ความแข็ง การยดื ตัว
• σ ซิกม่า หมายถึง แรง F ตอ่ หนว่ ย ความเครยี ด ε แอบซลิ ่อน หมายถึงอตั ราสว่ น ระหวา่ งขนาดของวสั ดุทีเ่ ปลี่ยนไป ∆l กับ พื้นที่ A ในเน้อื สสารและวสั ดุ ขนาดเดิม ������0 •σ = ������ • ε = ������ − ������0 = ∆������ ������ ������0 ������0
คอื ... โลหะ และโลหะผสม ประกอบดว้ ย เหลก็ กลา้ อลูมเิ นยี ม แมงกานสี สังกะสี เหล็กหล่อ เปน็ ตน้ โดยท่วั ไปนาไฟฟา้ และความรอ้ น คอ่ นขา้ งดี มีความแขง็ แรงสูง เหนียว และขึ้นรูปได้ดี ส่วนมากใช้กบั งาน โครงสรา้ งหรืองานท่รี บั แรงต่างๆ โดยมากมกั มกี ารใชเ้ ป็นโลหะผสม เนือ่ งจากมสี มบัตดิ กี วา่ โลหะบรสิ ทุ ธิ์
คอื ... วัสดุประเภทนี้ โดยมากจะมสี มบตั ิแขง็ เปราะ ฉนวนไฟฟ้า การใช้ งานเช่น ฉนวนไฟฟ้าและความร้อน วสั ดุทนไฟ ทนอณุ หภูมสิ ูง
คือ... วัสดปุ ระเภทนี้ผลิตโดยการนาโมเลกุลของสารสงั เคราะห์มา เช่อื มต่อกนั เป็นโมเลกลุ ขนาดใหญ่ เช่น ยาง พลาสตกิ กาว สมบัติ โดยทัว่ ไปคอื การนาความร้อน ความแข็งแรงตา่ ไมเ่ หมาะใช้งานทม่ี ี อุณหภูมสิ ูง
คอื ... วสั ดุประเภทนีเ้ ชน่ ซิลิกอน จะมีความเปราะสูง นิยมใชก้ บั งาน อิเล็กทรอนิกสค์ อมพิวเตอร์ และการสือ่ สาร เนื่องจากความสามารถใน การนาไฟฟ้า สามารถควบคมุ ได้ นิยมนามาผลิตแผงวงจร
คือ... วัสดุประเภทน้ไี ดจ้ ากการนาวสั ดุมากกว่า 2 ชนดิ ทม่ี สี มบัติแตกตา่ ง กนั มาขึ้นรูปรวมกัน โดยได้วสั ดใุ หม่ท่แี ตกต่างจากเดมิ เช่น คอนกรีต ไม้อัด ใยแกว้ สมบตั ทิ ไี่ ด้เช่น น้าหนักเบา แขง็ แรง เหนียว ทนความ รอ้ น
โลหะกลมุ่ เหล็ก โลหะ โลหะนอกกลุ่มเหลก็ เหล็กกลา้ เหลก็ หล่อ ทองแดง เงนิ อลูมิเนยี ม
1. โครงสร้างอะตอม 2. โครงสรา้ งผลกึ 3. โครงสร้างท่ีผ่านกล้องจุลทรรศน์ 4. โครงสรา้ งของวสั ดุท่ีมองเหน็ ด้วยตาเปลา่
อะตอมเปน็ ส่งิ ที่เล็กที่สดุ ของธาตุ ประกอบดว้ ย Electrons อิเล็กทรอน มีขัว้ ลบ Protons โปรตอน มีขัว้ บวก Neutrons นวิ ตรอน มขี วั้ กลาง
ธาตุตา่ งๆทม่ี รี ูปรา่ งนั้นเกิดการรวมตวั ของอะตอม โดยมแี รงยึดเหน่ยี ว ซึง่ กนั และกัน Ionic Bonding Covalent Bonding Metallic Bonding
เปน็ การยึดเหนยี่ วอะตอมของธาตใุ หอ้ ยู่รวมกัน โดยท่ีอะตอมของธาตุ หนึ่งให้อิเลก็ ตรอนและอะตอมของอีกธาตหุ นึง่ รบั อิเล็กตรอน โดยอะตอม ที่ให้หรอื สูญเสียอิเล็กตรอนกลายเปน็ ไอออนบวก เพราะมโี ปรตอน มากกว่าอิเลก็ ตรอน สว่ นอะตอมที่รบั อิเล็กตรอนก็จะกลายเปน็ ไออนลบ เพราะมีอเิ ล็กตรอนมากกว่าโปรตอน ไออนทงั้ สองมีประจุต่างกันจึงเกิด แรงดึงดูดทางไฟฟ้ายึดเหนีย่ วอะตอมท้งั สองเขา้ ด้วยกัน
เปน็ พันธะเคมที ่มี กี ารใช้อเิ ล็กตรอนร่วมกันระหวา่ งอะตอมท่ีอยู่ ใกลก้ ัน มักจะเกิดกบั อโลหะ
เปน็ แรงยึดเหน่ยี วทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในโลหะ มีอะตอมอดั แน่นและอยู่ชิด ตดิ กันมาก ทาใหอ้ เิ ลก็ ตรอนตัวนอกสุดสามารถดึงดูดกับนิวเครยี สของ อะตอมอน่ื ขา้ งเคียง
ธาตุ (Element) สารบริสทุ ธิ์เนื้อเดียวล้วนทไี่ ม่สามารถ แยกสสารให้เกิดใหม่ต่อไปได้อีกด้วยทางเคมี ธาตุแต่ละ ชนิดจะประกอบดว้ ยอะตอมท่ีเหมอื นกนั
1. ใหน้ ักเรยี น ค้นหาสมบัตทิ างกายภาพ ของธาตุต่างๆมา 10 ชนดิ (จบั ฉลาก) 2. โดยมีเนื้อหาดังน้ี ชอ่ื ธาตุ(ไทย)+(อังกฤษ)........ ลกั ษณะ........... มีสี......นาความร้อน/ไฟฟา้ หรือไม่ มีจุดเดอื ด....... จุดหลอมเหลว......... ส่งทา้ ยคาบ ขอ้ มูล 20 คะแนน
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: