เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจดั การอาชีพอ.สุ ณชั ชา ขุนศิริมา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมีบทบาทมาก เชน่ มีการใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการทางาน ใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตเพ่ือสืบคน้ ขอ้ มูล หรือรบั สง่ ขอ้ มูลระหวา่ งกนั ตลอดใชโ่ ทรศพั ทเ์ คร่ืองท่ี (mobile phone) หรือโทรศพั ทม์ ือถือในการ ติดตอ่ ส่ือสารองคก์ รทงั้ ภาครัฐและเอกชนไดน้ าเทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่ือสารเขา้ มาใชง้ านในทุกระดบั ชนั้ ของ องคก์ ร
เทคโนโลยีสารสนเทศ คาวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology: IT ) เรียกยอ่ วา่ \"ไอที\"ประกอบดว้ ยคาวา่ \" เทคโนโลยี\" และคาวา่ \"สารสนเทศ\" นามาร่วนกนั เป็น\"เทคโนโลยี สารสนเทศ\" และคาวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ( Information and Communication Technology: ICT ) หรือเรียกยอ่ วา่ \"ไอซีที\"ประกอบดว้ ย คาท่ีมีความหมายดงั น้ี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี( Technology ) หมายถึง การนา ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตรม์ าประยุกตใ์ นการพฒั นาเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ อุปกรณ์ วิธีการและกระบวนการ
สารสนเทศ สารสนเทศ( Information ) หมายถึง ผลลพั ธท์ ่ีเกดจากการนาขอ้ มูลมาผา่ นกระบวนการตา่ งๆ อยา่ งมีระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนาความรูท้ างดา้ น วิทยาศาสตรม์ าประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือสรา้ งหรือจดั การสารสนเทศอยา่ งเป็น ระบบและรวดเร็ว โดยอาศยั เทคโนโลยีทางดา้ นคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ตามแผน่ แมบ่ ท เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมายถึง เทคโนโลยีเก่ียวขอ้ งกบั ขา่ วสารขอ้ มูล และการส่ือสารนับตงั้ แตก่ าร สรา้ ง การนามาวิเคราะหห์ รือการประมวลผล
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เป็นระบบท่ีชว่ ยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ระบบสารสนเทศประกอบดว้ ย 1. ฮารด์ แวร์ ( hardware ) หมายถึง ตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณต์ อ่ พว่ งตา่ งๆ เชน่ คียบ์ อรด์ ( keyboard ) เมาส์ ( mouse ) จอภาพ ( monitor ) เป็นตน้ รวมทงั้ อุปกรณ์ ส่ือสารสาหรบั เช่ือมโยงคอมพิวเตอรเ์ ขา้ เป็นเครือขา่ ย เชน่ โมเด็ม ( modem ) และ สายสญั ญาณ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 2 ชอฟตแ์ วร์ ( soflware ) หมายถึง โปรแกรมหรือ ชุดคาส่งั ( instruction ) ท่ีใชค่ วบคุมการทางานของ เคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณต์ อ่ พว่ งตา่ งๆ ชุดคาสง่ั จะถูก แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คือ
ชอฟต์แวร์ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ ( system software ) หมายถึง ชุดคาสง่ั ท่ีทาหนา้ ท่ีควบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ละ อปุ กรณต์ อ่ พว่ งตา่ งๆ และทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลางระหวา่ งผูใ้ ชก้ บั คอมพิวเตอร์ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบแบง่ ออกเป็น
ซอฟต์ แวร์ ระบบ 1) ระบบปฏิบตั ิการ ( Operating System: OS ) เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีทาหนา้ ท่ีควบคุมการทางานของ อปุ กรณแ์ ละซอฟตแ์ วรท์ งั้ หมดภายในคอมพิวเตอร์ ตวั อยา่ ง ระบบปฏิบตั ิการ เชน่ วินโดวส(์ Windowns ) ลิ นุกซ์ ( Linux ) และ แมคโอเอส ( Mac OS )
ซอฟต์ แวร์ ระบบ 2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utilities program ) เป็นโปรแกรมท่ีชว่ ยเสริมการทางานของ คอมพิวเตอร์ หรือชว่ ยเสริมการทางานอ่ืนๆใหม้ ี ความสามารถใชว่ านไดส้ ะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน
ซอฟต์ แวร์ ระบบ 3)โปรแกรมขบั อุปกรณ์ หรือดีไวซไ์ ดรฟ์ เวอร์ ( device driver ) เป็นโปรแกรมท่ีชว่ ยในการติดตง้ั ระบบเพ่ือใหค้ อมพิวเตอรส์ ามารถติดตอ่ หรือใชง่ านอุปกรณ์ ตา่ งๆ
ซอฟต์ แวร์ ระบบ4) โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมท่ีทาหนา้ ท่ีแปล โปรแกรมท่ีเขียนข้ึนดว้ ยภาษาคอมพิวเตอรร์ ะดบั สูงใหเ้ ป็นรหสั ท่ี อยูใ่ นรูปแบบท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอรส์ ามารถทางานได้ เชน่ ตวั แปลภาษาจาวา ตวั แปลภาษาซี
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 3 ขอ้ มลู (data) ขอ้ มูลจะถูกรวบรวมและป้อนเขา้ สูเ่ คร่ือง คอมพิวเตอรโ์ ดยผา่ นอปุ กรณข์ องหน่วยรบั เขา้ เชน่ คียบ์ อรด์ เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner) ขอ้ มูลตอ้ งมีโครงสรา้ งในการ จดั เก็บท่ีเป็นระบบเพ่ือการสืบคน้ ท่ีรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ขอ้ มูล จะถูกจดั เก็บอยูใ่ นหน่วยความจา (memory unit) กอ่ นท่ี จะถูกยา้ ยไปเก็บท่ีหน่วยเก็บขอ้ มูล (storage unit) เชน่ ฮารด์ ดิสก์ และแผน่ ซีดี (Compact Disc: CD)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 4 บุคลากร (people)บุคลากรเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ท่ีสุด ของระบบสารสนเทศ ในท่ีน้ีหมายถึงบุคลากรท่ีเป็นผูใ้ ชร้ ะบบ สารสนเทศ บุคลากรท่ีเป็นผูพ้ ฒั นาระบบสารสนเทศ จะตอ้ งมีความรู้ ความสามารถในการพฒั นาระบบสารสนเทศใหม้ ีประสิทธิภาพให้ สามารถทางานไดต้ ามความตอ้ งการของผูใ้ ชใ้ ชง้ า่ ยและสะดวก สว่ น ผูใ้ ชต้ อ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมีความสามารถในการใชง้ านระบบ สารสนเทศและการส่ือสารตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งจึงจะเกิดสารสนเทศ ท่ ีเป็ นประโยชน์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 5 ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน (procedure) ระบบสารสนเทศ ตอ้ งมีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานท่ีเป็นลาดบั ขน้ั ชดั เจน เพ่ือใหผ้ ูใ้ ช้ สามารถเขา้ ใจไดง้ า่ ย และดาเนินงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ทงั้ ใน สถานการณป์ กติและสถานการณฉ์ ุกเฉิน เชน่ ขน้ั ตอนการบนั ทึก ขอ้ มูล ขนั้ ตอนการทาสาเนาขอ้ มูล ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิเม่ือขอ้ มูล ไดร้ บั ความเสียหาย หรือเม่ือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณต์ า่ งๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขนั้ ตอนตา่ งๆ เหลา่ น้ีควรไดร้ บั การรวบรวมและ จดั ทาใหเ้ ป็นรูปเลม่
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบนั ทาใหใ้ นแตล่ ะวนั มี การผลิตขอ้ มูลข้ึนมาจานวนมาก ขอ้ มูลบางสว่ นจะถูกนามา ประมวลผลเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นดา้ นตา่ งๆ ตวั อยา่ งเชน่ ขอ้ มูลจาก เว็บไซตท์ ่ีมีจานวนเพ่ิมข้ึนอยา่ งรวดเร็วในแตล่ ะวนั ซ่ึงสามารถใช้ ประโยชนจ์ ากขอ้ มูลเหลา่ น้ีไดเ้ พียงคน้ หาขอ้ ความ รูปภาพ หรือวีดิทศั น์ ท่ีตรงกบั ความสนใจเทา่ นั้น แตไ่ มส่ ามารถนาขอ้ มูลเหลา่ น้ีมา ประมวลผลและแสดงความรูท้ ่ีแฝงอยูไ่ ดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิผล
ข้อมลู DATAขอ้ มูล (data) คือ ส่ืงท่ีใชอ้ ธิบายคุณลกั ษณะของวตั ถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบนั ทึกจาการสงั เกต การทดลอง หรือ การสารวจดว้ ยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง เชน่ บนั ทึกไวเ้ ป็น ตวั เลข ขอ้ ความ รูปภาพ และสญั ลกั ษณ์
ลักษณะของข้อมูลท่ดี ี มีคากลา่ วเก่ียวกบั การประมวลผลขอ้ มูลไวอ้ ยา่ งน่าฟงั วา่ ถา้ ขอ้ มูลเขา้ เป็นขยะ ส่ืงทีออกมาก็จะเป็นขยะดว้ ย (Garbage In , Garbage Out) ซ่ึงหมายความวา่ ถา้ ขอ้ มูลท่ี นาไปประมวลผลเป็นขอ้ มูลท่ีดอ้ ยคุณภาพ ผลลพั ธท์ ่อี อกมาก็ ยอ่ มดอ้ ยคุณภาพไปดว้ ย ดงั น้ันเราควรจะตระหนกั ถึง ความสาคญั ของการเก็บขอ้ มูล รวมถึงการประมวลผลขอ้ มลู เบ้ืองตน้ ดว้ ย
ลักษณะของข้อมูลท่ดี ี 1. ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู เป็นลกั ษณะสาคญั ย่ิงของขอ้ มูล ถา้ ขอ้ มูลไมถ่ ูกตอ้ งแลว้ เราจะไมส่ ามารถไดผ้ ลลพั ธท์ ่ีถูกตอ้ งไดเ้ ลย ซ่ึงประเด็นน้ีเป็นเร่ืองสาคญั ท่ีเกิดข้ึนโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกบั ขอ้ มูลท่ี มี ขนาดใหญ่ และไมม่ ีการตรวจสอบ เชน่ ขอ้ มูลในโลก อินเทอร์เน็ต ซ่ึงจาเป็นตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบกอ่ นนามาใชเ้ สมอ
ลักษณะของข้อมูลท่ดี ี 2. ความสมบรู ณค์ รบถว้ นในการนาไปใชง้ าน ขอ้ มูลบาง ประเภทหากไมค่ รบถว้ น จดั เป็นขอ้ มูลท่ีดอ้ ยคุณภาพไดเ้ ชน่ กนั เชน่ ขอ้ มูลประวตั ิคนไข้ หากไมม่ ีหมูเลือดของคนไข้ จะไมส่ ามารถใชไ้ ด้ ในกรณีท่ีผูร้ อ้ งขอขอ้ มูลตอ้ งการขอ้ มูลหมูเ่ ลือดของคนไข้ หรือ ขอ้ มูลท่ีอยูข่ องลูกคา้ ท่ีกรอกผา่ นแบบฟอรม์ ถา้ มีช่ือและนามสกุล โดยไมม่ ีขอ้ มูลบา้ นเลขท่ี ถนน แขวง/ตาบล เขต/หรือจงั หวดั ขอ้ มูล เหลา่ น้ันก็ไมส่ ามารถนามาใชไ้ ดเ้ ชน่ กนั
ลักษณะของข้อมูลท่ดี ี 3. ความถกู ตอ้ งตามเวลา ในบางกรณีขอ้ มูลผูกอยูก่ บั เง่ือนไขของเวลา ซ่ึง ถา้ ผิดจากเง่ือนไขของเวลาไปแลว้ ขอ้ มูลน้ันอาจลดคุณภาพลงไป หรือ แมก้ ระทง่ั ไมส่ ามารถใชไ้ ด้ เชน่ ขอ้ มูลการใหย้ าของคนไขใ้ นโรงพยาบาล ในทางการแพทยแ์ ลว้ ขอ้ มูลน้ีจะตอ้ งถูกใสเ่ ขา้ ไปในฐานขอ้ มูลท่ีคนไขไ้ ดร้ บั ยาเพ่ือใหแ้ พทยค์ น อ่ืนๆ ไดท้ ราบวา่ คนไขไ้ ดร้ ับยาชนิดน้ีเขา้ ไปแลว้ แต่ ขอ้ มูลเร่ืองการใหย้ าของคนไขน้ ้ี อาจไมจ่ าเป็นตอ้ งไดร้ ับการปรบั ทนั ที สาหรบั แผนกการเงิน เพราะแผนกการเงินจะคิดเงินก็ตอ่ เม่ือญาติคนไข้ มาตรวจสอบ หรือคนไขก้ าลงั ออกจากโรงพยาบาล
ลักษณะของข้อมูลท่ดี ี 4. ความสอดคลอ้ งกนั ของขอ้ มลู ในกรณีท่ีขอ้ มูลมาจากหลายแหลง่ จะเกิด ปัญหาคน้ ในเร่ืองของความสอดคลอ้ งกนั ของขอ้ มูล เชน่ ในบริษทั แหง่ หน่ึงซ่ึงเก็บ ขอ้ มูลท่ีอยูล่ ูกคา้ หากตอ้ งการนาขอ้ มูลไปควบรวมกบั บริษทั อีกแหง่ หน่ึงซ่ึงมีขอ้ มูล ของลูกคา้ อยู่ เชน่ กนั แตข่ อ้ มูลในการจดั สง่ เอกสารของบริษทั แหง่ แรก เป็นท่ีอยูท่ ่ี พกั อาศยั ของลูกคา้ ในขณะท่ีขอ้ มูลในบริษทั ท่ีสองเป็นท่ีอยูข่ องสถานท่ีทางานลูกคา้ ขอ้ มูลจากทง้ั สองบริษทั น้ีเป็นขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งสอดคลอ้ งตามเวลาทงั้ คู่ แตถ่ า้ ตอ้ งการ เก็บขอ้ มูลท่ีอยูล่ ูกคา้ เพียงท่ีอยูเ่ ดียว ก็จะเกิดปัญหาข้ึนได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: