ไม่ท่ัวถึง ดังนั้น ควรมีการเตรียมความพร้อมเพ่ือพัฒนาเมืองไปสู่การเป็นเมืองท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้เหมาะสมกับบทบาทความสาคัญของเมืองโดยยึดอัตลักษณ์โดดเด่นของเมือง ให้ความสาคัญกับ การก่อสร้างอาคารและโครงสร้างพื้นฐานให้เหมาะสมกับการดารงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนา ทักษะฝีมือแรงงานให้เออื้ ตอ่ อาชพี ทเ่ี ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม และพัฒนาเครอ่ื งมอื และกลไกทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสริม แรงจงู ใจให้เกิดการผลติ และบริโภคท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อมอย่างจรงิ จงั ๓.๖.๓ ความมน่ั คงทางดา้ นอาหาร นา้ และพลงั งาน การเพิ่มข้ึนของจานวนประชากรโลก การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นท่ีเกษตรกรรมและป่าไม้ลดลง และคุณภาพดินเสื่อมโทรม จะทาให้อุปสงค์และอุปทานของอาหาร น้า และพลังงานขาดความสมดุล ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ การดารงชีวิตของประชาชน ประกอบกบั ที่ผา่ นมาการจดั การดา้ นอาหาร น้า และพลังงานเป็นแบบแยกส่วน ทาให้การจัดการดา้ นหนึ่งแต่ส่งผลกระทบอีกดา้ นหน่งึ ดงั นั้น จึงควรคานึงถึงการจัดการประเด็นด้านอาหาร น้า และพลังงานอย่างเป็นองค์รวมเพื่อให้เกิดความม่ันคง บนพื้นฐานการจัดให้มีปริมาณที่พอเพียงกับ ความต้องการ การจัดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้และมีราคาที่เหมาะสมเมื่อเทียบกับค่าครองชีพและ รายได้ข้ันต่า และการสรา้ งหลักประกนั หรือภมู คิ ้มุ กนั เพ่อื รบั มือกับสถานการณ์ไม่คาดคิดอย่างมเี สถยี รภาพ ๓.๖.๔ ธรรมาภบิ าลสงิ่ แวดลอ้ ม เป็นหลักการบริหารจัดการที่คานึงถึงองค์ประกอบหลักของธรรมาภิบาล ๖ หลักที่สาคัญคือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักการรับผิดชอบ และหลักความ ค้มุ ค่า ควบคู่กับการให้ความสาคญั ต่อการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในกระบวนการพัฒนา กจิ กรรมใดๆ ที่อาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ ชมุ ชนและสิ่งแวดล้อมได้ ซง่ึ การนาหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอ้ มมาใช้ จะช่วยป้องกันปัญหา อุปสรรคต่อการดาเนินงาน การสร้างความตระหนักในการรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม รวมถงึ เปน็ การสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ดังนน้ั หลกั ธรรมาภิบาลส่ิงแวดล้อมจึงชว่ ยใหก้ ารบรหิ ารงานและ พัฒนาองค์กรมีศักยภาพ มีความโปร่งใส เป็นธรรม ได้รับการยอมรับและไว้วางใจจากทุกภาคส่วน และ มีประสิทธิภาพ จนเกิดความย่งั ยืน ๓.๖.๕ การพัฒนาระบบขอ้ มลู ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีในระดับโลก ภูมิภาค และ ภายในประเทศ จะเป็นแรงกดดันต่อการกาหนดทิศทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้สามารถรองรับกับสถานการณ์การเปล่ียนแปลงได้ โดยเฉพาะการวางระบบข้อมูลท่ีดีและมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้การวางแผน การกาหนดนโยบาย/ยุทธศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความถูกต้องและแม่นยา โดยเฉพาะการมีตัวชี้วัดและเป้าหมายท่ีชัดเจน รวมท้ังสามารถใช้ประโยชน์ ในการประเมินความคมุ้ คา่ ระหวา่ งทุนทรัพยากรธรรมชาติ ทุนเศรษฐกิจ และทุนทางสังคมทีจ่ ะนามาพัฒนา โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การพัฒนา ๘๓
ระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเป็นเรื่องที่มีความสาคัญอย่างยิ่งและควรมี ศูนย์ข้อมูลเพื่อวางระบบฐานข้อมูลกลางที่มีระบบเชื่อมโยงข้อมูลตั้งแต่ระดับตาบลจนถึงระดับประเทศ และมีการพัฒนาอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องเพ่ือความทันสมัย รวมถึงข้อมูลของภาคเอกชน ตลอดจน เปดิ โอกาสให้ประชาชนสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลไดส้ ะดวก งา่ ย และรวดเรว็ ๓.๖.๖ การวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรมด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การวิจัยและพัฒนาเป็นปัจจัยเชิงยุทธศาสตร์สาคัญที่จะเอ้ือต่อการจัดการทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในการสนับสนุนการสร้างความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ของสังคมท่ีดี โดยจะช่วยยกระดับผลิตภาพการผลิต และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งยกระดับรายได้ของประชาชนและประเทศ ขณะท่ีทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมไดร้ บั การดแู ลและจัดการอยา่ งเหมาะสม ดังนัน้ การสง่ เสรมิ สังคมให้เป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม จาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้และงบประมาณเพ่อื การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดสินค้าและบริการท่ีใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มผลิตภาพการผลิตและเพ่ิมมูลค่าของสินค้า เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เกิดการจ้างงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Jobs) และให้ประเทศก้าวสู่การเป็นประเทศท่ีมีรายได้สงู โดยการวจิ ัยและพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ เช่น การพัฒนาพลังงานหมุนเวียน การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการน้า การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การลดและจัดการของเสีย การลดการใชท้ รัพยากร เทคโนโลยีชวี ภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี เป็นตน้ ๓.๖.๗ การสร้างความเปน็ ห้นุ สว่ นเพ่ือสรา้ งพฤติกรรมท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม การเข้าสู่สังคมดิจิทัลจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีการดารงชีวิต การมีความ เหล่ือมล้าในสังคมสูง จะทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่มีประสิทธิภาพและสร้างมลพิษต่อ สิ่งแวดล้อม ผู้คนในสังคมขาดความรู้สึกการเป็นเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และพ่ึงพิง ภาครัฐเป็นหลัก ประกอบกับภาครัฐยังขาดนโยบายและมาตรการที่เป็นแรงจูงใจท้ังทางตรงและทางอ้อม ขาดการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานในการส่งเสริมพฤตกิ รรมท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมท้ังปัจจัยดา้ นการเมอื ง สังคม วัฒนธรรม และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยยังไม่เอ้ืออานวยต่อการปรับพฤติกรรม ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ดังน้ัน ในอนาคตจึงควรให้ความสาคัญกับการสร้างความตระหนักให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ด้วยการสร้างความเป็นหุ้นส่วนให้ทุกภาคส่วนมีความเข้าใจ เรียนรู้ เช่ือใจ และมีความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน รวมท้ังการกาหนดภาระรับผิดชอบ (Accountability) ของ ทุกภาคส่วนใหม้ ีบทบาทและหน้าที่ร่วมกันกบั ภาครัฐในการใชป้ ระโยชนแ์ ละบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มของประเทศ ตง้ั แตก่ ารเข้ามามสี ่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น ร่วมตดั สินใจ ร่วมดาเนินการ ร่วมรับผลที่เกิดข้ึน และร่วมติดตามตรวจสอบการดาเนินการ ซ่ึงจะส่งผลให้การใช้ประโยชน์และดูแลรักษา ๘๔
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของประเทศเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โปรง่ ใส และเป็นธรรม นาประเทศ ไปสู่การพฒั นาทีย่ ัง่ ยืนอย่างแท้จรงิ ๓.๖.๘ สรา้ งความเข้มแขง็ เพื่อรับมือกบั ประเดน็ ความร่วมมอื ระหว่างประเทศด้านสิง่ แวดล้อม การเชื่อมต่อท่ีไร้พรมแดน การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ความตระหนักถึงผลกระทบ จากการ เป็นพลเมืองโลกที่อยู่ในระบบนิเวศของโลกเดียวกันท่ีจะต้องรับมือกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปญั หามลพิษข้ามแดน และการใชท้ รพั ยากรระหวา่ งประเทศรว่ มกนั ซ่ึงจะทาใหเ้ กดิ กฎ กตกิ าและความร่วมมอื ระหว่างประเทศท้ังในระดบั ภมู ิภาค และระดบั โลกทม่ี คี วามเขม้ ขน้ มากข้ึน ดังน้ัน ประเทศไทยควรมีบทบาท ในการร่วมมือกับนานาประเทศ โดยต้องเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อม พัฒนาฐานข้อมูลกลางท่ีเก่ียวข้อง กับข้อตกลงและความร่วมมือระหว่างประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสนับสนุน การศึกษาวิจัยท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือเตรียมรับมือและเพิ่มขีดความสามารถในด้านกฎ กติกาและความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศทเ่ี ป็นเชิงรุก ๘๕
๘๖
บทที่ ๔ นโยบายและแผนการส่งเสรมิ และรักษา คุณภาพสิง่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
บทท่ี ๔ นโยบายและแผนการสง่ เสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ได้วาง แนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในระยะ ๒๐ ปีข้างหน้า ให้รองรับกับ ประเด็นที่เป็นแนวโน้มและประเด็นเกิดใหม่ของโลกและภูมิภาค และรับมือกับภาพฉายอนาคตท่ีมีโอกาส จะเกิดข้ึน รวมทั้งประเด็นท่ีควรให้ความสาคัญในอนาคต โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการพัฒนาท่ียั่งยืน หลักการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศหรือองค์รวม หลักการมีส่วนร่วมของ ประชาชน หลักธรรมาภิบาล หลักการเป็นหุ้นส่วนของรัฐ-เอกชน สิทธิมนุษยชน และการใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ฯลฯ รวมทั้งให้ความสาคัญต่อการขับเคลื่อนให้เป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนา ท่ีย่ังยืน การจัดการแบบบูรณาการและเชิงพื้นที่ การพัฒนาศักยภาพของทุกภาคส่วนเพ่ือให้เกิด การปรับเปล่ียนการดาเนินกิจกรรมและพฤติกรรมการดาเนินชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ การขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมบนความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ บนฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) ท้ังน้ี เพื่อให้สามารถคงไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับ การดารงชีวิตของคนทั้งในรุ่นปัจจุบันและรุ่นถัดไป และตอบสนองการพัฒนาประเทศในการก้าวข้ามไปสู่ ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว และมีการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยสาระสาคัญของนโยบายและแผนการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ประกอบด้วย กรอบแนวคิด วิสัยทัศน์ เปา้ ประสงค์ นโยบาย ตัวชี้วดั และแนวนโยบาย ซึ่งมรี ายละเอียดดงั น้ี ๔.๑ กรอบแนวคิด การกาหนดนโยบายได้นาหลักคดิ ที่สาคัญซงึ่ เป็นแนวทางท่จี ะนาไปสคู่ วามยัง่ ยนื มาเปน็ กรอบแนวคิด ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า จั ด ท า น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ รั ก ษ า คุ ณ ภ า พ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ห่ ง ช า ติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ โดยมี ๓ แนวคิดสาคญั คือ ๔.๑.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ช้ีถึงแนวทางการดารงอยู่และ การปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับทั้งการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อกระแสโลก บนพื้นฐานของความพอประมาณ มีเหตุผล และมีการเตรียมความพร้อมท่ีเหมาะสมกับสภาพของแต่ละบุคคลหรือบริบทในสังคมไว้เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกัน ดังนั้น ในการจัดทานโยบายและแผนฯ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๖๗๙ จึงได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเป็นกรอบแนวคิด โดยคานึงถึงการวางแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘๗
อย่างสมดุล ท่ีมุ่งเน้นการวางรากฐานของสังคมให้พ่ึงตนเองได้และเกิดความมั่นคง สามารถต่อยอด สู่การพัฒนาเศรษฐกิจที่สร้างความเจริญเติบโตใหก้ ับประเทศอย่างมั่งค่งั โดยให้มีการใชป้ ระโยชน์ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างพอประมาณและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่เพอื่ ลดการพ่ึงพิงจากภายนอกประเทศหรือ นอกพื้นที่ บนพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพของประชาชนให้มีความรู้ มีศักยภาพ เกิดความตระหนักและ จิตสานกึ ในการรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม โดยภาครฐั ทาหน้าทส่ี นับสนุนและกากบั ดูแลการจดั สรรการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ทาลายความสมดุลของระบบนิเวศ ควบคุมการดาเนินกิจกรรมท่ีปล่อยมลพิษ สู่สิ่งแวดล้อมเพ่ือไม่ทาให้คุณภาพส่ิงแวดล้อมเสื่อมโทรมจนทาลายระบบนิเวศและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ของประชาชน และเพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อยา่ งยั่งยืน ๔.๑.๒ กระบวนทัศน์ใหม่เพ่ือการพัฒนาท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม การกาหนดแนวทางการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้มีการปรับ กระบวนทัศน์ใหม่ ประกอบด้วย ๔ กระบวนทัศน์คือ ๑) กระบวนทัศน์การมองระบบเศรษฐกิจ สังคม และ ส่งิ แวดลอ้ มแบบเป็นองค์รวมเพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับระบบของธรรมชาติ แทนการมองแบบแยกสว่ นท่ีไม่คานงึ ถึง ผลกระทบต่ออีกระบบหน่ึง ๒) กระบวนทัศน์การมองกระบวนการผลิตและการบริโภค และการจัดการ ของเสียเป็นระบบครบวงจร (Closed - loop Thinking) ตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “จากอู่สู่อู่” (Cradle to Cradle) แทนการมองแบบเส้นตรง (Linear Thinking) ๓) กระบวนทัศน์การมองโลก ภูมิภาค ประเทศ และท้องถิ่น อย่างเชื่อมโยงกันและแสดงความรับผิดชอบต่อการเป็นพลเมืองโลก แทนการมองแบบ แยกส่วน และ ๔) ปรับกระบวนทัศน์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของภาครัฐให้เกิด ความยืดหยุ่นตามลักษณะพื้นที่และปัญหา เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการรับมือกับความเสี่ยง และบูรณาการ การทางานตามประเด็นหรอื วาระ (Agenda - based Approach) โดยให้ความสาคัญกับการสร้างความรว่ มมือ ระหวา่ งภาครฐั ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ชุมชนและประชาชน ๔.๑.๓ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพและส่งผล กระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อย (Decoupling Conceptual Framework) เป็นรูปแบบการมองความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของ ๓ ระบบ ระหว่างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต และสถานภาพของทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงในอดีตการพัฒนาในแต่ละระบบไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยเป็นการ พัฒนาแบบการแลกเปล่ียนที่มีได้ประโยชน์ก็อาจต้องมีการเสียประโยชน์ (Trade off) ดังนั้น จึงได้นา รูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานการใช้ทรัพยากรท่ีมีประสิทธิภาพ และส่งผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อมน้อย มาเป็นแนวคิดในการกาหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม โดยมุ่งเน้นให้เกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างม่ันคง และยั่งยืน ดว้ ยการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและการบริการ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างรูปแบบการใช้ พลังงาน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดผลลัพธ์สุดท้ายที่ทาให้ คุณภาพชวี ติ ของประชาชนดีขน้ึ และประเทศมีความมัน่ คง ม่ังคงั่ และยงั่ ยนื ๘๘
๔.๒ วิสยั ทัศน์ ประเทศไทยมฐี านทรัพยากรธรรมชาตทิ สี่ มดลุ และยั่งยนื และเป็นสังคมท่เี ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม ๔.๓ เปา้ หมายรวม ๔.๓.๑ ประเทศไทยมีการพฒั นาเศรษฐกจิ สังคมและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งบูรณาการบนพื้นฐานของการ พฒั นาทย่ี งั่ ยืน โดยเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมสามารถสง่ เสริมและสนับสนนุ ซ่ึงกันและกัน เพื่อความอยดู่ ีมีสุข ของประชาชน และประเทศไทยมีภูมิคุ้มกันต่อความเสี่ยงจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ ภัยธรรมชาติ ๔.๓.๒ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีขีดความสามารถและร่วมมือกันในการ บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมอยา่ งมีประสิทธิภาพและเปน็ ธรรม ๔.๓.๓ ประเทศไทยมีบทบาทร่วมสร้างสรรค์เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมกับ ประชาคมโลก ๔.๔ นโยบาย แนวทางในการสง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มในระยะ ๒๐ ปีขา้ งหนา้ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ได้มุ่งเน้นให้ความสาคัญเรื่อง การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและ เป็นธรรม และมีการจัดการทส่ี มดุลเพ่อื สรา้ งความมัน่ คงทางอาหาร นา้ และพลงั งาน สาหรบั เป็นต้นทนุ ของ ภาคการผลิตและบริโภคในการดาเนินธุรกิจและการดารงชีพ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ภาคเศรษฐกิจและสังคม คานึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและลดการเกิดของเสียให้น้อยท่ีสุด สร้างระบบหมุนเวียนวัสดุเพ่ือให้ การจัดการส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพ รวมทั้งคานึงถึงการจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อมตามลักษณะของพ้ืนท่ีให้มี ความเหมาะสมและย่ังยืน ตลอดจนสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ขณะเดียวกัน ให้ความสาคัญตอ่ การพฒั นาปัจจัยพ้ืนฐานเชิงยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมเป็นเชิงรุก มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงขึ้น โดยยกระดับเคร่ืองมือและกลไก ทั้งด้านกฎหมาย เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ ฐานข้อมูลและองค์ความรู้ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม และการสร้างความเป็นหุน้ ส่วนของทุกภาคสว่ นในการร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ต้ังแต่ระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก โดยได้กาหนดเป็น ๔ นโยบายหลัก และมี ๑๒ นโยบายย่อย ซึ่งแต่ละนโยบายมคี วามสัมพันธ์และสอดประสานกันเพื่อมุ่งให้เกดิ การจัดการในระบบเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม ทผี่ สมผสานกลมกลืนกบั ระบบธรรมชาตอิ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ มคี วามสมดุลและยง่ั ยืน ดังรูปท่ี ๔ ทั้งน้ี ได้แสดงแผนผังความเช่ือมโยงสถานการณ์ และประเด็นปัญหาท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ ต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในอนาคตกับการกาหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ดงั รูปท่ี ๕ และตารางสรุปนโยบายหลัก นโยบายย่อย และตัวชว้ี ัด ของแต่ละนโยบาย ดังตารางที่ ๒ ๘๙
วาระการปฏิรปู ท่สี าคัญและเรง่ ดว่ น (27 วาระ) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี ระดับโลก ระดับภูมิภาค ระดบั ประเทศ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม อนุรกั ษ์ ใช้ ขยะ นา้ อากาศ สารเคมี และฟื้นฟู ประโยชน์ ความมน่ั คง อาหาร ระดับ เมือง อตุ สาหกรรม น้า พลงั งาน พืน้ ที่ ท่องเทยี่ ว ศิลปกรรม ความเปน็ หุ้นส่วนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์ คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ มดี เพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั สรา้ งการเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคมอยดู่ ีมีสุข รูปที่ ๔ ความสมั พนั ธแ์ ละเช่อื มโยงของการกาหนดนโยบาย ๙๐
แนวโน้มปรมิ าณลดลงและเส่อื มโทรมลง สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม แนวโนม้ ดีข้นึ - การเ - พน้ื ทีป่ า่ ไม้ รอ้ ยละ ๓๑.๖ ของพื้นทปี่ ระเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๘) - พืน้ ท่ปี า่ ชายเลน ๑.๕๓ ล้านไร่ (พ.ศ. ๒๕๕๗) การเพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ ชนดิ พันธุ์สตั วแ์ ละพนั ธ์พุ ืช - ปรมิ าณฝนุ่ ละอองขนาด ๒.๕ ไมครอน มแี นวโนม้ เฉล่ียเพิ่มข้ึนในชว่ ง - การใชพ้ ลงั งานทดแทนสูงขึ้นอย่างตอ่ เนอ่ื ง ความเ สญู พนั ธ์ุ ๑๔ ชนิด ถูกคกุ คาม ๑,๐๖๕ ชนดิ (พ.ศ. ๒๕๔๘) พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ - ประสิทธิภาพการใช้พลังงานเทา่ กบั ๘.๙๖ KTOE/ ไม่เทา่ - พ้ืนทีด่ นิ ที่เส่อื มโทรม ร้อยละ ๕๖.๘ ของพ้ืนท่ีประเทศ - ปรมิ าณก๊าซโอโซนเกนิ ค่ามาตรฐานในหลายพืน้ ที่ พันลา้ นบาท - เทคโ (พ.ศ. ๒๕๕๘) และมคี วามเหลื่อมลาํ้ ในการถือครองทดี่ ิน - แหลง่ นํา้ ผิวดินทมี่ คี ณุ ภาพอยใู่ นเกณฑด์ ี จาํ นวนลดลง ในขณะท่ี เกณฑ์ - ปริมาณฝนุ่ ละอองขนาด ๑๐ ไมครอน มแี นวโนม้ เฉล่ีย พลังงา - ปรมิ าณการเก็บกกั นํา้ ไมเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการ พอใช้ และเส่อื มโทรมและเสือ่ มโทรมมาก จาํ นวนเพิม่ ข้นึ ในชว่ ง ลดลง ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๘ สงิ่ แวด - มลู ค่าผลผลิตแร่สงู ข้ึน ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๙ และ พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๘ - ก๊าซ NO2 SO2 และ CO อยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน - เศรษ ผลกระทบการประกอบกิจการเหมืองกับพื้นท่ขี า้ งเคยี ง - แหลง่ นํา้ บาดาลบางแหง่ ประสบปญั หาการรกุ ลํ้าของนาํ้ เคม็ และ - คณุ ภาพนํา้ ทะเลอย่ใู นเกณฑด์ ีเพมิ่ มากข้นึ อยู่ในเกณฑ์ และก - การผลติ พลังงานเชิงพาณิชย์ข้ันตน้ ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๘ การปนเปื้อนมลพิษจากกจิ กรรมต่างๆ เส่อื มโทรมถึงเสอื่ มโทรมมากลดลง ความผ เพ่มิ ขน้ึ เฉลย่ี ร้อยละ ๓.๕๙ ต่อปี และการใช้พลงั งานเชิงพาณิชย์ขัน้ สดุ ท้าย - ปัญหาขยะตกคา้ ง และปรมิ าณขยะทเี่ กิดข้นึ มเี พิ่มมากขนึ้ อัตราการเกิดขยะ - พื้นทสี่ เี ขยี วในเมืองเพิม่ ขน้ึ เพิ่มข้นึ เฉลยี่ รอ้ ยละ ๓.๒๗ ตอ่ ปี ต่อคน ๑.๑๔ Kg/คน/วัน รวมทัง้ ปัญหาของเสียอนั ตราย - สิง่ แวดลอ้ มธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มศิลปกรรมเส่อื มโทรม ประเด็นท่ีควรใหค้ วามสาํ คัญในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมในอกี ๒๐ปีขา้ งหน้า วิสัยทัศน์ พ.ศ. ๒๕๗๙ แนวคดิ ท่ีใชเ้ ป็นกรอบในการจัดทํา ๑. การผลิตและการบรโิ ภคที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ประเทศไทยมฐี าน ๑. น้อมนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มา ๒. เมืองที่เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ีส่ มดลุ ของสังคมให้พึง่ ตนเองไดแ้ ละเกดิ ความมั่นคง สาม ๓. ความม่นั คงทางอาหาร นา้ํ และพลังงาน และยั่งยนื และเป็นสงั คมที่ ๒. การปรบั กระบวนทัศน์ใหม่เพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒน ๔. ธรรมาภิบาลส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดล้อมแบบเปน็ องคร์ วม ๕. พัฒนาระบบขอ้ มูลด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม ทอ้ งถ่นิ อย่างเชือ่ มโยงกนั และการบริหารจัดการ ๖. การวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ๓. การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมบนฐานการใช้ท ๗. การเป็นหุน้ สว่ นเพอ่ื การสรา้ งพฤตกิ รรมทเ่ี ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม ทางเศรษฐกจิ บนพืน้ ฐานการใชท้ รพั ยากรธรรมชา ๘. การสรา้ งความเขม้ แขง็ เพอื่ รับมือกบั ประเด็นความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม เป้าประสงค์ นโยบาย ๑. จดั การฐานทรพั ยากรธรรมชาติ ๒. สร้างการเตบิ โตที่เปน็ มิตรกับส อย่างม่นั คงเพ่ือความสมดลุ เปน็ ธรรม และย่ังยืน เพ่ือความมงั่ คัง่ และย่งั ย มที รพั ยากรธรรมชาตทิ ่สี ามารถรักษาความสมดุลของระบบนเิ วศ และเป็นฐาน ประชาชนอย่ใู นสภาพแวดลอ้ มทมี่ ีคณุ ภาพ และมีคว ในการรกั ษาความมนั่ คงทางอาหาร นํ้า และพลังงาน การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ที่เป็นมิตรก นโยบาย ่ยอย ๑.๑ อนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู และใช้ประโยชนฐ์ านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งสมดุล ย่ังยนื และเป็นธรรม ๒.๑ สร้างระบบเศรษฐสังคมทีเ่ กือ้ กูลและเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ๑.๑.๑ การจดั การทรพั ยากรป่าไม้ ดว้ ยการจัดทาํ แนวเขตปา่ การปกป้องค้มุ ครองและรักษาพนื้ ทป่ี ่า การเช่อื มปา่ เป็นผืนใหญ่ ๒.๑.๑ การจัดการวสั ดุและขยะ ดว้ ยการพัฒนาการออกแบบและเลอื กใชว้ ัตถดุ บิ ท่เี การจัดต้งั ปา่ ชุมชนยั่งยืน และการพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ จากกระบวนการผลิตและบรโิ ภค ส่งเสริมการนาํ ขยะกลบั มาใช้ใหม่ สง่ เสรมิ ๑.๑.๒ การจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ ดว้ ยการอนรุ กั ษแ์ ละคมุ้ ครองพน้ื ทีแ่ ละพนั ธกุ รรมพชื และสัตว์ แบง่ ปนั และเพมิ่ ประสิทธภิ าพการกํากบั ดูแล ๒.๑.๒ การจัดการคุณภาพนา้ํ ดว้ ยการรักษาวัฏจกั รของนาํ้ ให้สามารถบําบดั ดว้ ยตัว การใชป้ ระโยชน์อยา่ งเทา่ เทียมและเป็นธรรม และการเพิม่ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ บนฐานทรพั ยากรชีวภาพ ในน้าํ จากการดําเนินกิจกรรม สง่ เสริมให้มกี ารบาํ บัดน้าํ เสียทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ๑.๑.๓ การจดั การทรัพยากรดิน และทีด่ นิ ดว้ ยการอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟแู ละพฒั นาคุณภาพดนิ การวางแผนการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน คณุ ภาพนํา้ ท่มี ปี ระสิทธิภาพ ๒.๑.๓ การจดั การคณุ ภาพอากาศ ด้วยการพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรย ใหเ้ หมาะสม การบงั คับใชก้ ฎหมายผังเมอื งทุกระดับ และการพฒั นากลไกเคร่ืองมือการบริหารจัดการทด่ี ิน มลพษิ อากาศจากภาคการผลติ และการคมนาคม สร้างความเขม้ แข็งของควา ๑.๑.๔ การจัดการทรพั ยากรนํา้ และน้ําบาดาล ด้วยการพฒั นาระบบจัดการน้ําอปุ โภคบรโิ ภค การจัดการนาํ้ ท่วมนํ้าแล้ง ๒.๑.๔ การจดั การความเสย่ี งจากสารเคมี ด้วยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารเคมเี พ สารเคมีท่ถี กู วธิ แี ละปลอดภัย รวมท้งั ลดและเลกิ การใชส้ ารเคมที ่ีมีความเสี่ยง การพัฒนาระบบคาดการณ์อุทกวทิ ยา สรา้ งความเขม้ แขง็ แก่ทุกภาคสว่ นในการมสี ่วนรว่ มจัดการทรัพยากรนํา้ และ ผลิตภณั ฑใ์ หป้ ลอดภยั ตอ่ สุขภาพและส่ิงแวดล้อม และส่งเสรมิ การจัดตง้ั หอ้ ง พฒั นาโครงสร้างและองคก์ รบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ํา ๒.๒ ยกระดบั การพฒั นาคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มตามลักษณะพืน้ ท่ี ๑.๑.๕ การจัดการทรัพยากรธรณี ด้วยการกาํ หนดพืน้ ท่หี รือชนิดแรท่ สี่ มควรสงวน กาํ หนดเขตแร่เพ่ือการทําเหมือง จดั ทํา ๒.๒.๑ การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มเมอื ง ด้วยการจดั ระเบยี บการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินและกา ฐานข้อมูลพื้นทศ่ี กั ยภาพแร่ของประเทศ ควบคมุ และกํากบั ดแู ลการบริหารจดั การเหมืองแร่ และพัฒนาและอนุรกั ษ์ กับส่งิ แวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานให้รองรบั การดําเนินชวี ติ และสงั คมผ แหลง่ เรยี นรูธ้ รณีวิทยาและซากดึกดาํ บรรพ์ มาตรฐานและรปู แบบของเมอื งทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม ๑.๑.๖ การจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ด้วยการพัฒนาพื้นที่ทางทะเลและชายฝ่ังใหเ้ กิดความย่งั ยนื อนรุ ักษแ์ ละฟืน้ ฟู ๒.๒.๒ การจัดการสิง่ แวดล้อมแหลง่ ท่องเที่ยว ดว้ ยการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วทเี่ ปน็ มิต ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง เพ่ิมประสิทธิภาพระบบการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบทางทะเล ส่งเสรมิ การทาํ ในพื้นทบ่ี รหิ ารจัดการการท่องเท่ยี วอยา่ งย่ังยืน และจดั การส่ิงแวดลอ้ มในแห ประมงท่คี าํ นงึ ถึงความสมดลุ และเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใช้มาตรการทางกฎหมาย ๒.๒.๓ การจัดการส่ิงแวดลอ้ มพ้ืนท่อี ุตสาหกรรม ดว้ ยการกําหนดเขตและควบคุมกา ๑.๒ จัดการทรพั ยากรธรรมชาติเพ่ือความมนั่ คงทางอาหาร น้าํ และพลังงาน กระบวนการผลติ ทเี่ ชอ่ื มตอ่ กนั สรา้ งระบบกลไกและเครือขา่ ยการตรวจสอบ ๑.๒.๑ การจัดให้มีอาหาร นา้ํ และพลงั งานอย่างเพียงพอ ด้วยการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตลดการสูญเสียและการจัดการ เหตฉุ ุกเฉนิ ในระดบั พนื้ ที่ และสนบั สนุนการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเว อย่างเปน็ ระบบและเป็นองคร์ วม สรา้ งความสมดุลของนํา้ ภาคการผลติ ที่คํานึงถงึ ผลกระทบดา้ นการใชพ้ ลงั งานและ ๒.๒.๔ การจัดการส่งิ แวดล้อมธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมศลิ ปกรรม ด้วยการฟ้ืนฟแู ล การเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ่ดี ิน จัดสรรพื้นทีส่ าํ หรบั พืชอาหารและพชื พลังงานอยา่ งเหมาะสม เพม่ิ ศักยภาพ จัดการตามมาตรฐาน เร่งจดั ทาํ ทะเบยี นแหล่งมรดกทางธรรมชาติและทางวฒั การจดั การพลังงานพร้อมทงั้ กาํ กับกิจการพลงั งานอย่างมธี รรมาภบิ าล และยกระดับการจดั การสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมศลิ ปกรรม ๑.๒.๒ การเข้าถึงอาหาร นาํ้ และพลังงานอย่างเปน็ ธรรม ด้วยการพฒั นาระบบกระจายอาหาร นํา้ และพลังงานใหท้ ว่ั ถงึ ๒.๓ สรา้ งภูมิคมุ้ กนั ต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และส่งเสรมิ การพฒั นาแ ในราคาทเ่ี ทา่ เทยี มกัน และพัฒนากลไกเพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการเข้าถงึ อาหาร น้าํ และพลังงาน ๒.๓.๑ การปรับตวั เพื่อสร้างความพร้อมในการรับมอื ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอ ๑.๒.๓ การรกั ษาเสถียรภาพทางอาหาร นา้ํ และพลังงาน ด้วยการสนับสนนุ การจัดการทรพั ยากรปา่ ไม้ ดิน น้าํ ประมง และ ความตระหนกั รแู้ ละความเขา้ ใจ ส่งเสริมการวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีและฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยัง่ ยืน ลดความเปราะบางต่อปัจจยั เส่ียงจากภูมอิ ากาศและความผันผวนของตลาด ตอ่ ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และพฒั นาระบบและกลไก พรอ้ มทง้ั สรา้ งกลไกสนับสนนุ เงินทนุ และทรัพยากร พฒั นาระบบสวัสดกิ ารและตาขา่ ยรองรบั ทางสังคมเม่ือเกิดวกิ ฤต ๒.๓.๒ การลดกา๊ ซเรอื นกระจกและส่งเสรมิ การเตบิ โตที่ปล่อยคารบ์ อนต่ํา ด้วยการข ดา้ นอาหาร สง่ เสรมิ การวิจยั เทคโนโลยีพลังงานทางเลือกและเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลงั งาน สง่ เสริมใหม้ รี ะบบการ ความตระหนกั และพฒั นาศกั ยภาพ เพ่ิมประสิทธภิ าพการใช้เคร่ืองมือและกลไก พ ตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพอาหารและนา้ํ ครอบคลมุ ทุกพ้ืนที่ พฒั นาฐานข้อมูลเพอื่ จัดทาํ ดัชนีความมน่ั คงทาง อาหาร น้าํ และพลงั งาน และส่งเสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาแนวทางปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศต่อภาคการเกษตร ทรพั ยากรนํ้า และพลงั งาน รปู ท่ี ๕ แผนผงั ความเช่อื มโยงสถานการณ์ และประเด็นปัญหาท่คี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ อย่างมนี ยั ต่อการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติแ ๙๑
ประเด็นทีค่ าดวา่ หรอื อาจจะเกดิ ข้นึ และมีนยั สาํ คญั ต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มในอีก ๒๐ ปีขา้ งหน้า ความเป็ นมิตร กับส่งิ แ วดล้ อม เขา้ ส่สู ังคมสงู อายุ การยา้ ยถ่นิ ฐานของประชากรมรี ปู แบบที่ซับซ้อนขน้ึ - ทรัพยากรธรรมชาตเิ สื่อมโทรม ความแปรปรวนของสภาพภูมอิ ากาศ ภาพท่ี ๒ ภาพที่ ๑ พม่ิ ข้นึ ของความเปน็ เมืองของสังคม รูปแบบวิถีการดํารงชวี ิตแบบบรโิ ภคนยิ ม มี ทีร่ นุ แรงและมคี วามถเี่ พ่ิมข้นึ ยากตอ่ การคาดการณ์ ปญั หามลพษิ ขา้ วหอมมะลิ ผกั กางมุ้ง เป็นปัจเจกบุคคลสูง ใช้เวลาอยใู่ นโลกดิจทิ ัลมากขนึ้ สงั คมยังคงมีความ กระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อมและสขุ ภาพ รปู แบบการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน าเทยี มกัน และความเสยี่ งที่จะเกดิ โรคไม่ตดิ ต่อมากขึ้นและการเกดิ โรคอบุ ตั ใิ หม่ เปล่ยี นแปลงไปอยา่ งมาก ระดบั น้ําทะเลสูงขึ้นและการรุกลาํ้ ของนาํ้ เค็ม ภาพท่ี ๓ โนโลยีมีการพฒั นาอยา่ งกา้ วกระโดด เชน่ เทคโนโลยดี ิจิทัล ชวี ภาพ วสั ดุ การเกษตร - ประชาชนมกี ารเคลื่อนไหวเรยี กรอ้ งสิทธิมากข้นึ องค์กรต่างๆ เปิดเผย ผกั ตบชวา าน สง่ ผลต่อระบบเศรษฐกจิ และสังคม และการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ ข้อมูลและมีความโปร่งใสมากขึน้ การถ่ายโอนภารกจิ จากสว่ นกลาง ดลอ้ ม รวมท้ังการถ่ายทอดเทคโนโลยภี ายใตเ้ งื่อนไขผลประโยชน์ สูท่ ้องถน่ิ มากข้ึน มีการพฒั นากระบวนการยุตธิ รรมด้านส่ิงแวดล้อม ษฐกจิ ของทวีปเอเชียมีการเจรญิ เติบโตสงู ขนึ้ มาก มกี ารรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ - ความตอ้ งการใชพ้ ลังงานมากขึ้น สดั ส่วนของพลงั งานหมุนเวียน การพฒั นาเสน้ ทางโลจสิ ติกเพอื่ การคา้ ปัญหาการแยง่ ชงิ ทรัพยากรธรรมชาติ มี สงู ข้นึ และยงั คงพงึ่ พงิ เชือ้ เพลิงฟอสซิลจากตา่ งประเทศ ผนั ผวนของราคาหรอื ขาดแคลนสนิ คา้ ในตลาดโลก ความไร้ พ ร มแ ดน การ กร ะจายความเป็ น เมือง านโยบายและแผนการสง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ เป้าหมายรวมของนโยบายและแผนฯ าใช้ในการวางแนวทางการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งสมดุลท่มี ุง่ เนน้ การวางรากฐาน ๑. ประเทศไทยสามารถพฒั นาเศรษฐกิจสังคมและส่งิ แวดล้อมอย่างบรู ณาการบนพนื้ ฐานของการพฒั นา มารถตอ่ ยอดสู่การพฒั นาเศรษฐกิจท่สี ร้างความเจรญิ เติบโตให้กับประเทศอย่างม่งั คัง่ ทย่ี ัง่ ยืนโดยเศรษฐกิจและส่ิงแวดลอ้ มสามารถพฒั นาไปพรอ้ มกนั เพ่ือความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชน และ นาท่ีเป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มอย่างเข้มขน้ และจริงจัง มี ๔ กระบวนทศั น์คือ การมองระบบ ประเทศไทยมีภมู ิคมุ้ กันความเสี่ยงจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั ธรรมชาติ ม การมองกระบวนการผลติ และการบรโิ ภคเป็นระบบครบวงจร การมองโลก ภูมิภาค ประเทศ และ ๒. หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนมขี ดี ความสามารถและร่วมมือกนั ในการบริหารจดั การ รใหเ้ กดิ ความยดื หยนุ่ ตามลกั ษณะพืน้ ที่และปัญหา ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเปน็ ธรรม ทรัพยากรธรรมชาติที่มปี ระสิทธภิ าพและส่งผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมน้อย โดยมุ่งเนน้ ใหเ้ กิดการเพิ่มมลู คา่ ๓. ประเทศไทยมบี ทบาทร่วมสรา้ งสรรค์เศรษฐกิจและสงั คมท่ีเป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ มกับประชาคมโลก าตอิ ยา่ งมัน่ คงและยง่ั ยนื ส่ิงแวดล้อม ๓. ยกระดบั มาตรการในการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ ๔. สร้างความเปน็ หุ้นสว่ นในการบรหิ ารจัดการทรัพยากร- ยืน และส่งิ แวดล้อม ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วามปลอดภยั ต่อสุขภาพบนฐาน มเี ครอ่ื งมือและกลไกที่เพม่ิ สมรรถนะให้การบรหิ ารจดั การทรัพยากร-ธรรมชาติ ทกุ ภาคส่วนมบี ทบาทในการรว่ มดแู ลรกั ษา และใช้ประโยชน์ กับสิ่งแวดลอ้ ม และสงิ่ แวดล้อมมีประสทิ ธิภาพเป็นเชิงรุก และสนับสนุน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มของประเทศ ในลกั ษณะ ความเปน็ เจ้าของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมรว่ มกนั การพัฒนาและขบั เคลอ่ื นประเทศใหม้ ีการเติบโตทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม ๔.๑ พัฒนาองคค์ วามร้แู ละกจิ กรรมเพือ่ สรา้ งสังคมทเี่ ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม ลดปรมิ าณการเกิดขยะ ๓.๑ พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมดา้ นสง่ิ แวดล้อม ๔.๑.๑ สรา้ งจติ สํานึกด้านส่งิ แวดลอ้ มและการเป็นพลเมืองโลกกบั ทกุ ภาคสว่ น มการกาํ จดั ขยะและของเสียอันตรายทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ๓.๑.๑ ปรับปรงุ กฎหมายเก่ียวกับทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ๔.๑.๒ สง่ เสรมิ ให้มีการจดั การด้านการศึกษาสง่ิ แวดลอ้ มอย่างเป็นระบบ ๓.๑.๒ พฒั นากฎหมายใหม้ คี วามเหมาะสมและทนั สมยั ๔.๑.๓ สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ตลอดชวี ิตให้เชื่อมต่อการศกึ ษาในระบบ วเองไดต้ ามธรรมชาติ ลดความเขม้ ขน้ ของมลสาร ๓.๑.๓ พัฒนากระบวนการยตุ ิธรรมดา้ นส่ิงแวดล้อม พ ดแู ลรักษาคณุ ภาพนํ้าทะเล สรา้ งระบบติดตาม ๓.๒ ส่งเสรมิ และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรใ์ นการจดั การ กับการเรยี นรู้ทางสังคมใหเ้ ช่อื มโยงกับวถิ ีชีวิต ๔.๑.๔ พฒั นารูปแบบการปลกู ฝังความรู้แบบองค์รวมเชงิ นิเวศ และ ยากาศและแหล่งกําเนดิ ลดปริมาณการปล่อย ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ามร่วมมือระหวา่ งประเทศดา้ นมลพษิ ขา้ มแดน ๓.๒.๑ ส่งเสริมการใช้เครอ่ื งมือทางเศรษฐศาสตร์เพือ่ ส่ิงแวดลอ้ มและนวตั กรรมท่เี ปน็ มิตร สรา้ งผ้นู ําสิง่ แวดล้อมรุน่ ใหมใ่ นทุกภาคสว่ น พ่ือควบคมุ สารเคมีตลอดวงจรชีวิต ส่งเสริมการใช้ ๔.๑.๕ รณรงค์และสง่ เสริมการตลาดเพ่ือสงั คมอยา่ งมีคณุ ค่า งสูง เพม่ิ ประสิทธิภาพการกาํ กบั ดแู ลสนิ คา้ และ กับสง่ิ แวดลอ้ ม ๔.๑.๖ ผลักดันการสร้างสงั คมท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มในระดับนโยบาย งปฏบิ ัตกิ ารทีท่ ันสมัยและเป็นมาตรฐานสากล ๓.๒.๒ ผลกั ดันการใชเ้ ครื่องมอื ทางเศรษฐศาสตรแ์ บบผสมผสาน ๔.๒ เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ และการมีส่วนร่วมให้กบั ทกุ ภาคส่วน ๓.๒.๓ ผลกั ดนั ให้มีการใชเ้ ครื่องมอื เชงิ นโยบายเพ่ือการตดั สินใจในการพัฒนาพ้นื ทข่ี นาดใหญ่ ารขยายตัวของเมือง พฒั นาเมอื งในรูปแบบทีเ่ ป็นมิตร ๓.๒.๔ ปรบั ปรงุ และเพมิ่ ประสิทธิภาพกองทุนเพื่อการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ อยา่ งบูรณาการ ผูส้ งู อายุ เพิ่มพ้นื ทสี่ เี ขียวในเมอื ง และพัฒนา ๔.๒.๑ พัฒนาระบบงบประมาณของภาครัฐ ในการจัดสรรงบประมาณใหก้ บั และสง่ิ แวดล้อม ตรกับสิ่งแวดล้อม สนบั สนนุ ผู้ประกอบการและชมุ ชน ๓.๒.๕ ปรับปรงุ กฎระเบยี บในการกํากับดแู ลของภาคการเงิน โครงการท่เี ป็นประโยชนแ์ ละเกิดผลลพั ธใ์ นหลายมติ โิ ดยเฉพาะมติ ดิ ้าน หล่งท่องเทยี่ วอยา่ งยงั่ ยนื ๓.๓ พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู และตวั ชว้ี ัด ส่ิงแวดลอ้ มทคี่ าบเกย่ี วกบั มติ อิ ืน่ ๆ ารใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ พัฒนากลมุ่ อุตสาหกรรมท่ีมี ๓.๓.๑ สรา้ งระบบขอ้ มูลทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมอยา่ งบูรณาการ ๔.๒.๒ สนบั สนุนการจัดซอื้ จดั จา้ งสินค้าและบรกิ ารทเี่ ปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อม บทเี่ ขม้ แข็ง สรา้ งระบบควบคุมความเสย่ี งและระงบั ๓.๓.๒ ส่งเสริมให้มหี น่วยงานคลังสมอง (Think Tank) ด้านส่ิงแวดล้อม ๔.๒.๓ สง่ เสริมการจ้างงานสเี ขยี วในภาคธุรกจิ เอกชน วศ ๓.๓.๓ เรง่ จดั ทาํ บญั ชผี ลกระทบสิ่งแวดลอ้ มรายผลติ ภัณฑ์และบรกิ าร ๔.๒.๔ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการสร้างความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมของภาคธุรกจิ ละอนุรกั ษ์ รวมถึงกาํ กบั การใช้ที่ดนิ โดยรอบ บริหาร ๓.๓.๔ พัฒนาระบบการจัดเกบ็ ขอ้ มลู งบประมาณของภาครัฐในการดําเนินการเพ่ือส่งิ แวดลอ้ ม ๔.๒.๕ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งและสนับสนนุ การมสี ว่ นรว่ มในการจัดการ ฒนธรรมของชาติ สร้างกลไกการมีส่วนร่วม ๓.๓.๕ พฒั นาตวั ชี้วัดด้านสิ่งแวดลอ้ มท่ีแสดงถงึ ความเช่ือมโยงระหวา่ งมติ ิ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมของทุกภาคสว่ น ๔.๓ เพ่ิมขีดความสามารถการพัฒนาความร่วมมอื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มระหว่าง แบบคารบ์ อนตํ่า สงิ่ แวดล้อมกบั มิตเิ ศรษฐกจิ และมติ สิ งั คม ประเทศเชงิ รกุ อากาศและภยั ธรรมชาติ ดว้ ยการยกระดบั ฐาน ๓.๓.๖ ส่งเสรมิ การสร้างข้อมลู ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มเพือ่ รายงานอยา่ งเป็นระบบ ๔.๓.๑ การสรา้ งความเปน็ หุน้ ส่วนการพัฒนาและต่อยอดความรว่ มมือใน นข้อมลู กลาง ขับเคลอ่ื นการดําเนนิ งานด้านการปรับตัว ๓.๔ วจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมที่เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม อนุภมู ิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศ กการตดิ ตามตรวจสอบการดาํ เนินงาน ๓.๔.๑ สง่ เสริมการวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่เปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งมี ๔.๓.๒ เสริมสร้างศกั ยภาพของประเทศดา้ นพนั ธกรณรี ะหวา่ งประเทศ ขับเคล่อื นการดําเนินงานลดกา๊ ซเรือนกระจก สร้าง ๔.๓.๓ เสริมสร้างบทบาทความร่วมมือในระดบั ภมู ิภาค เพอ่ื รว่ มกันปอ้ งกนั และ พัฒนาระบบการตรวจวัด การรายงาน และการทวนสอบ ยุทธศาสตร์ แกไ้ ขปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมข้ามแดน ๓.๔.๒ สนับสนนุ การลงทนุ และเพ่ิมระดบั การอดุ หนนุ ด้านการวิจัยและพฒั นาเทคโนโลยี ๔.๓.๔ พฒั นาองคค์ วามรดู้ ้านความตกลงระหว่างประเทศ ด้วยการสนบั สนุนการ ศกึ ษาวจิ ยั และสร้างความเขา้ ใจเกยี่ วกบั พนั ธกรณีระหว่างประเทศด้าน และนวตั กรรมที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ มกบั ความตกลงการค้าทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั สิง่ แวดล้อม ๓.๔.๓ สร้างความเชอื่ มโยงของห่วงโซ่อปุ ทานการวิจัยและพัฒนาในภาครัฐ เอกชน และ ภาคประชาสงั คมให้เกิดการทํางานร่วมกนั ๓.๔.๔ สง่ เสรมิ ให้เกดิ สภาพแวดล้อมในการแขง่ ขนั ทางการค้าอยา่ งเป็นธรรม ๓.๔.๕ พัฒนาศกั ยภาพของประเทศใหเ้ ปน็ ผ้สู ่งออกสนิ คา้ และเทคโนโลยี และสงิ่ แวดล้อมในอนาคตกับการกําหนดนโยบายและแผนการส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๙๑
ตารางท่ี ๒ นโยบายหลัก นโยบายยอ่ ย และตวั ช้ีวดั นโยบายหลกั นโยบายยอ่ ย ตัวชีว้ ดั ๑. จัดการฐานทรพั ยากร ๑.๑ อนุรกั ษ์ ฟ้ืนฟู และ ใชป้ ระโยชน์ นโยบายท่ี ๑ ธรรมชาตอิ ย่างมน่ั คงเพ่ือ ฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ๑.๑ มีพ้ืนทีป่ ่าไมร้ อ้ ยละ ๔๐ ความสมดลุ เป็นธรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ ของพ้นื ท่ีประเทศ และยั่งยนื อยา่ งสมดลุ ยั่งยืนและเปน็ ๑.๒ ดัชนีบัญชกี ารเปล่ยี นแปลง เปา้ ประสงค์ ธรรม สถานภาพพนั ธพ์ุ ืชและ มีทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ มี ๖ ประเดน็ หลัก ๒๗ แนวนโยบาย พนั ธ์ุสตั ว์ที่เส่ยี งต่อการ ความหลากหลายทาง ๑.๑.๑ การจัดการทรพั ยากรปา่ ไม้ ถูกคุกคาม (ลดลง) ชวี ภาพที่อุดมสมบรู ณแ์ ละ ๑.๑.๒ การจดั การความ ๑.๓ สัดส่วนที่ดินทมี่ กี าร คงความสมดลุ ของระบบ หลากหลายทางชวี ภาพ ใชป้ ระโยชนไ์ ม่เหมาะสม นเิ วศ และเปน็ ฐานในการ ๑.๑.๓ การจดั การทรัพยากรดิน กับศักยภาพและสมรรถนะ สร้างความมั่นคงทาง และทด่ี ิน ของทดี่ นิ (ลดลง) อาหาร น้า และพลังงาน ๑.๑.๔ การจดั การทรพั ยากรนา้ ๑.๔ ทกุ ครัวเรือนมีนา้ ดืม่ และน้าบาดาล ทีป่ ลอดภยั และมีราคา ๑.๑.๕ การจดั การทรัพยากรธรณี ทส่ี ามารถหาซอื้ ได้ ๑.๑.๖ การจดั การทรัพยากรทาง ๑.๕ มีการจาแนกเขตพ้ืนที่ ทะเลและชายฝง่ั ศกั ยภาพแร่ และเขตแหล่ง ๑.๒ จัดการทรพั ยากรธรรมชาติ แร่เพอ่ื การทาเหมอื งของแร่ เพอ่ื ความม่นั คงทางอาหาร ทีส่ าคญั ครอบคลุมท้ัง น้า และพลงั งาน ประเทศ มี ๓ ประเด็นหลกั ๑๒ แนวนโยบาย ๑.๖ อัตราการจบั สตั ว์นา้ ตอ่ การ ๑.๒.๑ การจดั ใหม้ อี าหาร น้า และ ลงแรงประมงทะเลใน ๑ พลงั งานอย่างเพียงพอ ชว่ั โมง ในน่านน้าไทย ๑.๒.๒ การเข้าถงึ อาหาร นา้ และ (เพมิ่ ข้ึน) พลงั งานอยา่ งท่ัวถึงและ ๑.๗ ดชั นคี วามมนั่ คงทางอาหาร เทา่ เทยี มกัน (ระดบั ดขี ้ึน) ๑.๒.๓ การรกั ษาเสถยี รภาพทาง ๑.๘ ดชั นีความม่ันคงทางน้า อาหาร น้า และพลังงาน (ระดับดีข้นึ ) ๑.๙ ดชั นีความมน่ั คงทาง พลังงาน (ระดับดีข้ึน) ๑.๑๐ สดั ส่วนการใชท้ รพั ยากรน้า ต่อ GDP (ลดลง) ๙๓
ตารางที่ ๒ นโยบายหลกั นโยบายยอ่ ย และตวั ชี้วดั (ตอ่ ) นโยบายหลัก นโยบายย่อย ตัวชีว้ ดั ๑. จดั การฐานทรพั ยากร นโยบายท่ี ๑ (ต่อ) ธรรมชาตอิ ยา่ งมัน่ คงเพอ่ื ๑.๑๑ สดั ส่วนการใชพ้ ลังงานตอ่ ความสมดลุ เป็นธรรม GDP (ลดลงอย่างน้อย และย่งั ยนื (ตอ่ ) รอ้ ยละ ๓๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๙ เมื่อเทียบกบั ปี พ.ศ. ๒๕๕๓) ๑.๑๒ สดั สว่ นพ้ืนทเี่ กษตรกรรม ยง่ั ยนื ตอ่ พนื้ ท่เี กษตรกรรม ทงั้ ประเทศ (เพม่ิ ขึ้น) ๒. สร้างการเติบโตท่ีเปน็ มติ ร ๒.๑ สร้างระบบเศรษฐสงั คมที่ นโยบายที่ ๒ กับสง่ิ แวดล้อมเพอื่ ความ เกอ้ื กูล และเปน็ มติ ร ๒.๑ ปรมิ าณการบรโิ ภค มั่งคง่ั และย่ังยนื กบั สิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรในประเทศตอ่ เปา้ ประสงค์ มี ๔ ประเดน็ หลัก ๑๗ แนวนโยบาย GDP (ลดลง) ประชาชนอย่ใู น ๒.๑.๑ การจดั การวสั ดุและขยะ ๒.๒ สดั สว่ นการนาขยะกลบั มา สภาพแวดล้อมทีม่ คี ณุ ภาพ ๒.๑.๒ การจดั การคณุ ภาพน้า ใช้ประโยชนใ์ หม่ (เพิ่มขนึ้ ) และมีความปลอดภยั ตอ่ ๒.๑.๓ การจดั การคณุ ภาพอากาศ ๒.๓ ปริมาณขยะทีเ่ ข้าระบบกาจดั สขุ ภาพบนฐานการเตบิ โต ๒.๑.๔ การจัดการความเส่ยี งจาก ข้นั สดุ ท้าย (ตนั ) (ลดลง) ทางเศรษฐกิจทเี่ ปน็ มิตรกับ สารเคมี ๒.๔ คุณภาพน้าในแหล่งน้า ส่งิ แวดล้อม ๒.๒ ยกระดับการพัฒนาคณุ ภาพ ผิวดนิ และแหลง่ นา้ ทะเล สิ่งแวดล้อมตามลักษณะพืน้ ท่ี อยู่ในเกณฑ์ดี (เพ่ิมข้ึน) มี ๔ ประเดน็ หลกั ๑๗ แนวนโยบาย ๒.๕ ดชั นีของปรากฏการณ์ ๒.๒.๑ การจัดการส่งิ แวดลอ้ มเมือง ยโู ทรฟเิ คชนั่ (ลดลง) ๒.๒.๒ การจัดการส่ิงแวดล้อม ๒.๖ ความหนาแนน่ ของขยะ พลาสตกิ ในทะเลต่อตาราง แหลง่ ท่องเที่ยว ๒.๒.๓ การจัดการสิ่งแวดล้อมพน้ื ที่ กิโลเมตร (ลดลง) ๒.๗ ค่าฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ อุตสาหกรรม (PM2.5 และ PM10) อยูใ่ น ๒.๒.๔ การจดั การสง่ิ แวดล้อม เกณฑ์มาตรฐาน (เพ่มิ ขนึ้ ) ธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม ศิลปกรรม ๙๔
ตารางท่ี ๒ นโยบายหลัก นโยบายยอ่ ย และตัวชว้ี ดั (ต่อ) นโยบายหลกั นโยบายย่อย ตัวชวี้ ดั ๒. สรา้ งการเติบโตท่ีเป็นมติ ร ๒.๓ สร้างภมู คิ ุ้มกนั ตอ่ การ นโยบายที่ ๒ (ตอ่ ) กบั ส่งิ แวดล้อมเพือ่ ความ เปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ๒.๘ มีกลไกและระบบบริหาร มัง่ คั่งและย่ังยนื (ตอ่ ) และส่งเสริมการพัฒนาแบบ จดั การสารเคมขี องประเทศ คารบ์ อนต่า ท่คี ุ้มครองสขุ ภาพและความ มี ๒ ประเด็นหลัก ๘ แนวนโยบาย ปลอดภยั ของประชาชนและ ๒.๓.๑ การปรบั ตวั เพอื่ สร้างความ ส่งิ แวดล้อม พรอ้ มในการรบั มือตอ่ การ ๒.๙ จานวนเมืองท่เี ป็นมติ รกับ เปล่ยี นแปลงสภาพ สงิ่ แวดล้อม (เพม่ิ ข้ึน) ภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ ๒.๑๐ สัดสว่ นพ้ืนทีส่ เี ขียวในเมอื ง ๒.๓.๒ การลดกา๊ ซเรอื นกระจก เปน็ ไปตามเกณฑข์ อง และการส่งเสรมิ การเตบิ โต องคก์ ารอนามัยโลก ทปี่ ลอ่ ยคารบ์ อนตา่ (๙ ตารางเมตรต่อคน) ๒.๑๑ สดั สว่ นการใช้พลงั งาน หมุนเวยี นต่อการใชพ้ ลงั งาน ขั้นสดุ ทา้ ย (รอ้ ยละ ๓๐) ๒.๑๒ สดั สว่ นของส่งิ แวดล้อม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ศิลปกรรมทม่ี กี ารบริหาร จดั การส่งิ แวดล้อมบรเิ วณ โดยรอบ (เพิม่ ข้นึ ) ๒.๑๓ ปรมิ าณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกลดลง ร้อยละ ๒๐ - ๒๕ จากปรมิ าณ การปลอ่ ยในกรณปี กติ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ๒.๑๔ จานวนประชากรที่เสียชวี ติ สูญหาย และไดร้ ับผลกระทบ จากภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน (ลดลง) ๙๕
ตารางที่ ๒ นโยบายหลัก นโยบายยอ่ ย และตวั ช้วี ัด (ตอ่ ) นโยบายหลัก นโยบายย่อย ตวั ชีว้ ดั ๓. ยกระดับมาตรการในการ ๓.๑ พฒั นาและปรบั ปรงุ กฎหมาย นโยบายที่ ๓ บรหิ ารจดั การ และกระบวนการยตุ ิธรรม ๓.๑ ดชั นีธรรมาภิบาลเพ่อื ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม สิง่ แวดล้อม (ระดับดีขึ้น) สงิ่ แวดล้อม มี ๓ แนวนโยบาย ๓.๒ ดชั นผี ลิตภณั ฑ์มวลรวม เป้าประสงค์ ๓.๒ ส่งเสรมิ และเพม่ิ ภายในประเทศที่เป็นมิตร มีเครอื่ งมอื และกลไกทเี่ พม่ิ ประสทิ ธิภาพการใช้เครอื่ งมือ กบั สิ่งแวดล้อม (Green สมรรถนะใหก้ ารบริหาร ทางเศรษฐศาสตร์ในการ GDP) (ระดบั ดีขนึ้ ) จัดการทรพั ยากรธรรมชาติ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ๓.๓ งบประมาณภาครฐั เพ่ือการ และสิ่งแวดลอ้ มมี และส่งิ แวดลอ้ ม จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ประสิทธิภาพ เปน็ มี ๕ แนวนโยบาย และสิ่งแวดล้อม (เพ่ิมขึ้น) เชงิ รกุ และสนบั สนุนการ ๓.๓ พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลและ ๓.๔ รายไดจ้ ากภาษีและ พฒั นาและขับเคล่อื น ตวั ชวี้ ัด คา่ ธรรมเนียมทรัพยากร ประเทศให้มีการเตบิ โตที่ มี ๖ แนวนโยบาย เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม ๓.๔ วิจัยและพฒั นาเทคโนโลยี ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (เพ่ิมขน้ึ ) และนวัตกรรม ๓.๕ งบประมาณการวจิ ัยและ ที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม พฒั นาเทคโนโลยแี ละ มี ๕ แนวนโยบาย นวตั กรรมทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม (เพม่ิ ขึ้น) ๔. สรา้ งความเปน็ หุน้ ส่วนใน ๔.๑ พฒั นาองคค์ วามรู้และ นโยบายท่ี ๔ การบริหารจดั การ กิจกรรมเพ่อื สร้างสงั คมที่ ๔.๑ มกี ารดาเนนิ การเก่ยี วกับ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม การศึกษาเรอ่ื งการพัฒนา สิง่ แวดลอ้ ม มี ๖ แนวนโยบาย อยา่ งย่ังยืน และการเปน็ เป้าประสงค์ ๔.๒ เสริมสร้างความเข้มแขง็ และ พลเมืองโลก ทุกภาคส่วนมีบทบาทใน การมสี ่วนรว่ มใหก้ บั ทกุ ภาค ๔.๒ จานวนองค์กรภาคประชา การรว่ มดแู ลรกั ษา และใช้ ส่วนอย่างบูรณาการ สังคมที่เขา้ มามีบทบาท ประโยชนท์ รัพยากร มี ๕ แนวนโยบาย อยา่ งเข้มข้นในการดูแล ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ๔.๓ เพ่ิมขีดความสามารถการพฒั นา รักษาทรัพยากรธรรมชาติ ของประเทศในลกั ษณะ ความเปน็ เจ้าของ ความรว่ มมอื ดา้ นส่งิ แวดล้อม และส่งิ แวดลอ้ ม (เพิ่มขึน้ ) ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดลอ้ มร่วมกัน ระหวา่ งประเทศเชงิ รกุ ๔.๓ จานวนการจา้ งงานสีเขียว มี ๔ แนวนโยบาย (Green Jobs) (เพิ่มขนึ้ ) ๙๖
ตารางท่ี ๒ นโยบายหลัก นโยบายยอ่ ย และตวั ชว้ี ดั (ตอ่ ) นโยบาย นโยบายย่อย ตวั ชี้วัด นโยบายท่ี ๔ (ตอ่ ) ๔. สรา้ งความเปน็ หุ้นส่วน ๔.๔ สัดส่วนปรมิ าณการจดั ซ้ือจดั ในการบรหิ ารจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติและ จ้างสนิ คา้ และบรกิ ารทเ่ี ป็น ส่ิงแวดลอ้ ม (ต่อ) มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม (เพิ่มข้ึน) ๔.๕ จานวนของส่ือทผี่ ลิต รายการหรือขอ้ มลู เพอ่ื เผยแพร่และใหค้ วามร้เู ร่ือง สิ่งแวดล้อม (เพม่ิ ข้นึ ) ๔.๖ การดาเนินงานในประเทศท่ี ตอบสนองตอ่ ความตกลง พหภุ าคีดา้ นสงิ่ แวดล้อม (MEAs) (เพม่ิ ขนึ้ ) ๔.๗ สดั สว่ นของตวั ชวี้ ดั การ พฒั นาทยี่ ั่งยนื ดา้ น ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ มทีบ่ รรลตุ าม เป้าหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยนื (เพม่ิ ข้นึ ) ๙๗
๙๘
นโยบายท่ี ๑ จดั การฐานทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งม่ันคงเพ่อื ความสมดุล เป็นธรรม เป้าปร สงค์: มที รัพยากรธรรมชาติ ล ควา ล ยั่งยืน ตวั ชีว้ ดั นโยบายท่ี ๑ ๑.๑ มีพื้นทป่ี า่ ไม้ร้อยละ ๔๐ ของพ้นื ที่ประเทศ ๑.๒ ดชั นีบญั ชกี ารเปลีย่ นแปลงสถานภาพพนั ธุพ์ ืชและพันธส์ุ ตั ว์ท่เี สยี่ งตอ่ การถูกคกุ คาม (Red List Index) (ลดลง) ๑.๓ สดั สว่ นที่ดินทม่ี กี ารใชป้ ระโยชน์ไม่เหมาะสมกบั ศักยภาพและสมรรถนะของทีด่ ิน (ลดลง) ๑.๔ ทุกครวั เรอื นมีน้าดืม่ ทปี่ ลอดภยั และมรี าคาทีส่ ามารถหาซื้อได้ ๑.๕ มีการจ้าแนกเขตพ้นื ทศี่ กั ยภาพแร่ และเขตแหล่งแรเ่ พอื่ การทา้ เหมืองของแรท่ ส่ี า้ คญั ครอบคลุมทง้ั ประเทศ ๑.๖ อัตราการจบั สัตว์น้าต่อการลงแรงประมงทะเล (Catch Per Unit Effort: CPUE) ใน ๑ ชวั่ โมง ในน่านน้าไทย (เพม่ิ ขน้ึ ) นโยบายที่ ๑.๑ อนรุ ักษ์ ฟื้นฟู ล ใช้ปร โยชน์ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ล ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดลุ ยง่ั ยืน ล เปน็ ธรรม คา้ นงึ ถงึ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ ใหส้ ามารถคงความอุดมสมบรู ณ์ และรกั ษาสถานภาพของระบบนเิ วศ รวมทงั้ การเข้าถงึ และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างเปน็ ธรรม บนพนื้ ฐานการมสี ่วนร่วมของประชาชน ๑.๑.๑ การจัดการทรัพยากรป่าไม้ ๑.๑.๔ การจดั การทรพั ยากรนา้ ล น้าบาดาล - ส่งเสรมิ และสนับสนุนการเพ่มิ พ้นื ทีป่ ่าไม้ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมาย - พฒั นาระบบการจดั การน้าอปุ โภคบริโภคแก่ชุมชนใหค้ รอบคลุมทกุ หม่บู ้าน - ปกปอ้ ง คุ้มครอง และรักษาป่าธรรมชาติให้คงความสมดุลทางระบบนิเวศ - สง่ เสริมและฟน้ื ฟูการจดั การพ้นื ทป่ี า่ ไมใ้ นลกั ษณะกลมุ่ ปา่ หรอื ผนื ปา่ แบบมสี ว่ นร่วม รวมถึงเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และแหล่งท่องเที่ยวทีส่ ้าคญั รวมทั้งเพิม่ ความเขม้ ข้นในการเ า้ ระวงั การลกั ลอบค้าสตั ว์ปา่ ทผี่ ดิ ก หมาย การค้าขา้ มชาติ - เพ่มิ ประสิทธิภาพการจัดการนา้ ทว่ มและน้าแล้ง - สนับสนุนการจัดตงั้ ป่าชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยืน - พัฒนาระบบการคาดการณท์ างอทุ กวทิ ยาให้มคี วามแม่นยา้ และสนับสนุนก - สง่ เสรมิ และพฒั นาอตุ สาหกรรมไม้ แผนยทุ ธศำสตร์ทรพั ยากรนา้ ในระดับพ้ืนที่ - เสริมสรา้ งความเข้มแข็งแก่ทกุ ภาคส่วนในการมสี ่วนรว่ มจัดการทรัพยากรน - พัฒนาโครงสร้างและองคก์ รการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ ผวิ ดินและนา้ บา ๑.๑.๒ การจัดการความหลากหลายทางชวี ภาพ ๑.๑.๕ การจดั การทรพั ยากรธรณี - รักษาความสมดุลของระบบนเิ วศความหลากหลายทางชวี ภาพให้ยงั่ ยนื - อนรุ ักษท์ รพั ยากรแร่ โดยพฒั นายุทธศาสตร์ และ/หรอื นโยบายและแผน - อนรุ ักษ์ ปกป้อง และคมุ้ ครองความหลากหลายทางพันธกุ รรมของพืชและสตั ว์ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรแร่ ท้งั ในธรรมชาติและพื้นทีเ่ กษตรกรรม รวมถงึ จุลินทรียแ์ ละชนดิ พันธุอ์ ืน่ ทม่ี ีคุณค่า - จดั ทา้ ฐานขอ้ มลู พ้ืนที่ศักยภาพแร่ของประเทศ ทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และนิเวศวทิ ยา - ควบคุม และก้ากับดแู ลการบริหารจัดการเหมืองแรใ่ ห้เปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อ - ส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชวี ภาพอย่างเท่าเทียม - พัฒนาและอนรุ ักษแ์ หล่งเรียนรู้ธรณีวทิ ยาและซากดึกด้าบรรพข์ องปร และเปน็ ธรรม - สนับสนุนการศกึ ษาวจิ ยั และพัฒนาเพือ่ เสรมิ สรา้ งสมรรถนะและการเพม่ิ มลู คา่ ๑.๑.๖ การจัดการทรัพยากรทางท เล ล ชายฝ่ัง ทางเศรษฐกจิ บนฐานทรัพยากรชวี ภาพ รวมถึงการปรบั ปรงุ พนั ธ์พุ ืชท่ีทนทำน - พัฒนาพื้นท่ที างทะเลและชาย ่ังให้เกิดความยงั่ ยนื ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ - อนุรักษแ์ ละฟน้ื ฟทู รัพยากรทางทะเลและชาย ั่ง - เพ่ิมประสิทธิภาพระบบการเ ้าระวัง ตดิ ตาม และตรวจสอบทางทะเล ๑.๑.๓ การจัดการทรัพยากรดิน ล ทด่ี ิน - ส่งเสรมิ การทา้ ประมงทคี่ า้ นึงถงึ ความสมดุลของทรพั ยากรสัตว์นา้ แล - อนุรกั ษ์ ฟนื้ ฟู ปรับปรุง และพฒั นาคุณภาพดนิ ทเ่ี สอื่ มโทรม - เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชม้ าตรการทางก หมาย รวมทง้ั จดั ท้าพื้นทีอ่ นุรักษ์เ - เพิม่ ประสทิ ธิภาพการวางแผนการใช้ที่ดนิ ให้เหมาะสม ระบบนิเวศทางทะเลและชาย ง่ั ทีส่ า้ คัญ - เรง่ รัดการบงั คบั ใช้ก หมายผังเมืองทุกระดับให้มีประสิทธภิ าพ - พัฒนากลไกและเครอ่ื งมอื การบริหารจัดการทด่ี ินแบบมสี ว่ นร่วม รูปที่ ๖ ผนภาพ สดงความเชื่อมโยงของเปา้ ปร สงค์ ต ๙๙
ามหลากหลายทางชีวภาพที่อดุ มสมบูรณ์ ล คงความสมดลุ ของร บบนิเวศ ล เป็นฐานในการสรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร น้า ล พลังงาน ๑.๗ ดชั นคี วามมั่นคงทางอาหาร (ระดับดขี ้นึ ) ๑.๘ ดัชนคี วามมั่นคงทางน้า (ระดับดีขน้ึ ) ๑.๙ ดัชนีความมั่นคงทางพลงั งาน (ระดับดขี นึ้ ) ๑.๑๐ สัดส่วนการใช้ทรัพยากรนา้ ตอ่ มลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ลดลง) ๑.๑๑ สัดส่วนการใช้พลังงานตอ่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ลดลงอย่างน้อย รอ้ ยละ ๓๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๙ เม่ือเทยี บกบั ปี พ.ศ. ๒๕๕๓) ๑.๑๒ สัดสว่ นพ้ืนท่เี กษตรกรรมยงั่ ยนื ตอ่ พนื้ ท่เี กษตรกรรมทงั้ ประเทศ (เพ่ิมขึน้ ) งแบ่งปัน นโยบายท่ี ๑.๒ จดั การทรพั ยากรธรรมชาตเิ พ่ือความม่ันคงทางอาหาร น้า ล พลังงาน เปน็ การจดั การเชิงประเด็น (Agenda) ทค่ี ำนงึ ถงึ ควำมสมั พนั ธ์ และความเชือ่ มโยงกนั ของประเดน็ ด้านอาหาร น้า และพลังงาน รวมถงึ ความสัมพันธ์กบั มิติเศรษฐกจิ และสงั คม เพ่ือจดั กำรให้เกิดประโยชน์สงู สุด ลดผลกระทบทจี่ ะเกิดข้นึ กบั อีกด้านหนึ่ง และใหม้ ปี รมิ าณและคณุ ภำพ ท่ีดอี ย่างพอเพยี ง สำหรับให้ทกุ คนสำมำรถเข้ำถงึ และใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม และเปน็ ธรรม รวมทั้งมีภูมคิ ุ้มกนั จากวกิ ฤติการณท์ ฉ่ี ับพลัน นและชมุ ชนเมอื ง ๑.๒.๑ การจดั ให้มีอาหาร นา้ ล พลังงานอย่างเพยี งพอ การจัดท้า - เพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิตและการจัดการอย่างเป็นระบบและเปน็ องค์รวม น้า - สรา้ งความสมดลุ ของนา้ ภาคการผลติ าดาล - พฒั นาระบบการจัดสรรพนื้ ท่สี ้าหรับพืชอาหารและพชื พลงั งานอยา่ งเหมาะสม ตามแนวทางการบริหารจดั การที่ดนิ อย่างย่ังยืนแบบมีสว่ นรว่ ม - เพ่ิมศักยภาพการบริหารจดั การพลงั งานท้งั ระบบ และพัฒนาการก้ากับกจิ การพลังงานอย่างเหมาะสมและมีธรรมาภิบาล นแม่บท อมและสขุ ภาพ ๑.๒.๒ การเขา้ ถึงอาหาร นา้ ล พลังงานอย่างทว่ั ถึง ล เท่าเทยี มกัน ระเทศ - พัฒนาระบบกระจายอาหาร น้าและพลังงานให้ทว่ั ถึง - พัฒนากลไกเพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพการเข้าถงึ อาหาร นา้ และพลงั งาน ละระบบนเิ วศ ษเพ่ือคุ้มครอง ๑.๒.๓ การรักษาเสถียรภาพทางอาหาร นา้ ล พลังงาน - สนบั สนนุ การจดั การทรัพยากรป่าไม้ ดิน น้า ประมง และความหลากหลายทางชวี ภาพอย่างยั่งยนื - พฒั นาการเกษตรแบบผสมผสานเพือ่ ความมั่นคงทางอาหาร - พัฒนาระบบสวสั ดิการและตาข่ายรองรบั ทางสงั คม (Social Safety Net) เม่อื เกิดวิกฤตด้านอาหารใหก้ ับกลมุ่ ทต่ี ้องการความช่วยเหลอื และพฒั นาระบบสารสนเทศ และการวางแผนเตือนภยั ดา้ นเกษตรกรรมลว่ งหนา้ - ส่งเสริมการศึกษาวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยเี พื่อพฒั นาพลังงานทางเลอื กทห่ี ลากหลาย - สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้มรี ะบบการตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพอาหาร และคณุ ภาพน้าครอบคลุมทกุ พน้ื ท่ี - พัฒนาฐานข้อมูลเพอื่ จัดท้าดชั นคี วามมน่ั คงทางด้านอาหาร น้าและพลังงาน และสนบั สนุนใหม้ กี ารศึกษาวจิ ัยถึงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความมนั่ คง และการมปี สิ ัมพันธ์ท้ัง ๓ ดา้ นกับระบบนเิ วศสงั คม รวมท้ังพัฒนาการจัดเกบ็ ข้อมลู เพือ่ จัดทา้ ดัชนีทงั้ ๓ ด้าน - สนบั สนุนการศกึ ษาวิจัยและพัฒนาเพือ่ หาแนวทางป้องกนั และลดผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศต่อภาคการเกษตร ทรพั ยากรนา้ และพลงั งาน ตวั ชว้ี ดั นโยบายยอ่ ย ล นวนโยบาย ภายใต้นโยบายท่ี ๑ ๙๘
นโยบายท่ี ๑ จดั การฐานทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างมั่นคงเพ่อื ความสมดลุ เป็นธรรม และย่งั ยืน เปา้ ประสงค:์ มีทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพท่ีอุดมสมบูรณ์และคงความสมดุล ของระบบนเิ วศ และเปน็ ฐานในการสรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร นา้ และพลงั งาน นโยบายจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างม่ันคงเพ่ือความสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน มุ่งเน้นให้เกิดความสมดุลในการอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน โดยสงวนและอนุรักษ์พื้นที่ท่ียังคง มีความอดุ มสมบูรณ์ทางธรรมชาติและมีความหลากหลายทางชวี ภาพสูงไว้เพื่อให้มีระบบนิเวศที่สมดุลต่อไป รวมถึงจัดให้มีระบบการเข้าถึง แบ่งปันและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรม โดยจากัด การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติท่ีไม่เกินอัตราการฟน้ื ฟูเพ่ือความย่ังยืน ซึ่งฐานทรัพยากรธรรมชาติ ดังกล่าวครอบคลุมทุกสาขาคือ ทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรดินและท่ีดิน ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรน้า และทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง รวมทั้งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในลักษณะองค์รวมเพ่ือรักษาความมั่นคงทางด้านอาหาร น้า และพลังงาน โดยนโยบายที่ ๑ ประกอบด้วย ๒ นโยบายย่อย ๔๐ แนวนโยบาย และ ๑๒ ตัวชีว้ ดั ดังน้ี ตัวช้ีวดั นโยบายท่ี ๑ ๑.๑ มีพนื้ ทป่ี า่ ไม้รอ้ ยละ ๔๐ ของพื้นท่ปี ระเทศ ๑.๒ ดัชนีบัญชีการเปล่ียนแปลงสถานภาพพันธุ์พืชและพันธ์ุสัตว์ที่เส่ียงต่อการถูกคุกคาม (Red List Index) (ลดลง) ๑.๓ สัดส่วนทด่ี นิ ทมี่ กี ารใช้ประโยชนไ์ มเ่ หมาะสมกับศกั ยภาพและสมรรถนะของทดี่ นิ (ลดลง) ๑.๔ ทกุ ครวั เรอื นมีนา้ ด่ืมทป่ี ลอดภัยและมีราคาที่สามารถหาซือ้ ได้ ๑.๕ มีการจาแนกเขตพื้นท่ีศักยภาพแร่ และเขตแหล่งแร่เพื่อการทาเหมืองของแร่ท่ีสาคัญ ครอบคลมุ ท้ังประเทศ ๑.๖ อัตราการจับสัตว์น้าต่อการลงแรงประมงทะเล (Catch Per Unit Effort: CPUE) ใน ๑ ชั่วโมง ในนา่ นน้าไทย (เพ่มิ ขนึ้ ) ๑.๗ ดัชนคี วามมั่นคงทางอาหาร (ระดับดขี นึ้ ) ๑.๘ ดัชนคี วามมั่นคงทางน้า (ระดบั ดขี ึน้ ) ๑.๙ ดชั นีความมัน่ คงทางพลงั งาน (ระดับดีข้ึน) ๑.๑๐ สัดส่วนการใชท้ รพั ยากรนา้ ตอ่ มลู คา่ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ (ลดลง) ๑.๑๑ สัดส่วนการใช้พลังงานต่อมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ลดลงอย่างน้อย รอ้ ยละ ๓๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๙ เมื่อเทียบกบั ปี พ.ศ. ๒๕๕๓) ๑.๑๒ สัดสว่ นพ้ืนทีเ่ กษตรกรรมย่ังยืนตอ่ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมทงั้ ประเทศ (เพม่ิ ขน้ึ ) ๑๐๑
นโยบายที่ ๑.๑ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และใช้ประโยชน์ฐานทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งสมดลุ ยงั่ ยนื และเปน็ ธรรม นโยบายการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ฐานทรัพยากรธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล ยั่งยืน และเป็นธรรม ได้คานึงถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพให้สามารถคงความอุดมสมบูรณ์ และรักษาสถานภาพของระบบนิเวศ รวมทั้งแบ่งปันการเข้าถึง และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรม บนพ้ืนฐาน การมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมี ๖ ประเด็นหลักรายสาขาทรัพยากรธรรมชาติ และ ๒๗ แนวนโยบาย (หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ประกอบด้วย กค. กษ. ดศ. ทส. นร. มท. วท. ศร.ชล. อก.) ๑.๑.๑ การจัดการทรพั ยากรปา่ ไม้ ๑.๑.๑.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการเพ่ิมพื้นที่ป่าไม้ให้บรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยจัดทาแนวเขตป่าอนุรักษ์ และป่าเศรษฐกิจให้ครอบคลุมท่ัวทั้งประเทศ ที่ชัดเจนและเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน ไม่ทับซ้อนทั้งในพ้ืนท่ีจริงและในแผนที่ บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของ ประชาชน รวมท้ังพัฒนาเป้าหมายย่อยของพ้ืนท่ีปา่ ไม้ในระดบั ภมู ภิ าคหรือจังหวดั ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย รวมระดับประเทศ ตลอดจนสร้างความร่วมมือในการจัดการชุมชนด้ังเดิมที่อาศัยอยู่ในป่า โดยพัฒนา รูปแบบการอยู่อาศัย และพื้นที่ทากินของชุมชนในพื้นที่ป่าต้นน้าให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง กับ สภาพการณใ์ นแตล่ ะพนื้ ที่ พรอ้ มทง้ั มมี าตรการเยียวยารองรับผไู้ ดร้ บั ผลกระทบทเ่ี หมาะสม ๑.๑.๑.๒ ปกป้อง คุ้มครอง และรักษาป่าธรรมชาติให้คงความ สมดุลทางระบบนิเวศ โดยผลักดันให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดและจริงจังเพื่อลดการบุกรุก ทาลายปา่ หรือการเข้าใชป้ ระโยชน์ที่ผิดกฎหมาย และผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการ เฝ้าระวังและตรวจติดตามทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า การบุกรุกทาลายป่า รวมทั้งการจัดการไฟป่า พร้อมท้ังฟื้นฟูพื้นที่ปา่ ที่ถูกเปล่ียนสภาพไปให้กลับคืนเป็นพ้ืนท่ีป่า หรือพัฒนาเปน็ พืน้ ที่ป่าเศรษฐกิจ โดยให้ มีการจัดรูปแบบที่เหมาะสมเพ่ือเป็นทางเลือกให้กับผู้มีรายได้น้อยหรือไม่มีท่ีดินทากิน พร้อมทั้งสนับสนุน การสรา้ งอาชีพท่ีเหมาะสมเพือ่ มิใหม้ ีการบุกรกุ และลักลอบทาลายป่า ๑.๑.๑.๓ ส่งเสริมและฟ้ืนฟูการจัดการพ้ืนท่ีป่าไม้ในลักษณะ กลุ่มป่าหรือผืนป่า โดยผลักดันให้มีการเชื่อมผืนป่าให้ต่อเนื่องเป็นลักษณะผืนป่าขนาดใหญ่เพื่อรักษา ความสมดลุ ของระบบนิเวศ พร้อมท้ังกาหนดแนวกันชนระหว่างพื้นที่ปา่ อนุรักษ์และป่าสงวนให้ชัดเจน และ แหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งหาอาหารของสัตว์ป่า โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และใช้ประโยชน์จากป่าอย่างย่ังยืน ที่คานึงถึงความเปราะบางของระบบนิเวศ ขีดจากัด และ ศักยภาพในการฟ้ืนตัว รวมทั้งเพ่ิมความเข้มข้นในการเฝ้าระวังการลักลอบค้าสัตว์ป่าท่ีผิดกฎหมายหรือ การลักลอบค้าสัตว์ป่าขา้ มชาติ ๑.๑.๑.๔ สนับสนุนการจดั ตัง้ ปา่ ชุมชนอยา่ งย่ังยืน โดยพัฒนาชมุ ชน โดยรอบพ้ืนท่ีป่าให้เป็นชุมชนเชิงนิเวศเพื่อส่งเสริมให้มีวิถีชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่าง ๑๐๒
กลมกลืนและพึ่งตนเองได้ รวมท้ังเพิ่มบทบาทและหน้าที่ของชุมชนในการดูแลรักษาและการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน โดยภาครัฐสนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายพันธมิตรท้องถ่ินเพ่ือร่วมมือในการ จัดการทรัพยากรป่าไม้ การคุ้มครองและฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม รวมท้ังสร้างแรงจูงใจในการ รักษาวิถีชีวิตเชิงอนุรักษ์และเพ่ิมโอกาสในการสร้างรายได้จากการรักษาระบบนิเวศ เช่น การจ่ายค่าตอบแทน คุณค่าระบบนิเวศหรือการจา่ ยค่าตอบแทนให้กับชุมชนหรือผูด้ แู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ (Payment for Ecosystem Services: PES) ๑.๑.๑.๕ ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ โดยผลักดันให้มี มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือสร้างแรงจูงใจแก่ภาคเอกชนในการดูแลรักษาและพัฒนาป่าเศรษฐกิจหรือ ปลูกสวนป่า จัดหาหรือเพ่ิมพื้นที่ในการทาไม้ได้มากข้ึน โดยสร้างระบบผลตอบแทนเพ่ือให้เกิดความคุ้มค่า ในการลงทุน มกี ารกาหนดราคากลางทีช่ ดั เจนและครบวงจรในการซอ้ื -ขายไม้ที่เปน็ ธรรม รวมทั้งใหม้ ีการจัดตัง้ กองทุนคาร์บอนเพอ่ื ส่งเสริมให้ประชาชนสร้างรายไดจ้ ากการผลิตไม้เปน็ สินค้า ลดการบุกรุกพนื้ ที่ป่าไม้และ การลกั ลอบตัดไมห้ วงหา้ ม ตลอดจนให้มกี ารรบั รองคุณภาพและถน่ิ กาเนดิ ไมต้ ามมาตรฐานสากล ๑.๑.๒ การจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ ๑.๑.๒.๑ รักษาความสมดุลของระบบนิเวศความหลากหลายทาง ชีวภาพให้ยั่งยืน โดยบริหารจัดการ คุ้มครอง และรักษาความเป็นธรรมชาติดั้งเดิมของพ้ืนที่สงวนชีวมณฑล และพื้นที่อนุรักษ์ รวมท้ังห้ามใชป้ ระโยชน์บริเวณพน้ื ที่ตน้ น้าลาธาร (พน้ื ท่ีชั้นคุณภาพลุ่มน้าช้ันที่ ๑ และ ๒) และพ้ืนที่ป่าท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ ยกเว้นใช้สาหรับเป็นที่ศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติ และใช้เพ่ือการศึกษาวิจัย ท่ีสร้างประโยชนใ์ ห้กบั ประเทศไทย ๑.๑.๒.๒ อนุรักษ์ ปกป้อง และคุ้มครองความหลากหลาย ทางพันธุกรรมของพืชและสัตว์ทั้งในธรรมชาติและพ้ืนท่ีเกษตรกรรม รวมถึงจุลินทรีย์และชนิดพันธุ์อื่นที่มี คุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และนิเวศวิทยา โดยพัฒนาหรือปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อตกลง และมาตรการท่ีเกี่ยวข้องกับการกากับดูแลสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือส่ิงมีชีวิตตัดต่อ พันธุกรรม และการคุ้มครองความปลอดภัยทางชีวภาพจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือจากการ เคลื่อนย้ายข้ามแดน รวมท้ังปกป้อง คุ้มครองและฟ้ืนฟูชนิดพันธ์ุพื้นถ่ิน และชนิดพันธุ์ท่ีถูกคุกคามของ ประเทศไทย และการเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์ทรัพยากรพันธุกรรมและทรัพยากรชีวภาพ ตลอดจนอนุรักษ์พันธุกรรมในรูปแบบธนาคารพันธุกรรม โดยจัดทาบัญชีรายการทรัพยากรพันธุกรรมที่มี การใชป้ ระโยชน์ และสร้างฐานข้อมูลท่ีเปน็ ระบบง่ายต่อการเข้าสืบคน้ และกาหนดสปชี ีสเ์ ป้าหมายท่ตี ้องการ อนุรักษ์ เพ่อื ใชเ้ ป็นฐานการพฒั นาของประเทศ ๑.๑.๒.๓ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดยพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรการในการกากับดูแลการเข้าถึง และแบ่งปันผลประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพและพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม รวมถึงจัดทา ฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพให้เป็นระบบและมีกลไกเช่ือมโยงในการเผยแพร่ข้อมูลที่ง่ายต่อการเข้าถึง ๑๐๓
พร้อมทั้งเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ และ พัฒนาเศรษฐกิจบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ โดยผสมผสานองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เข้ากบั เทคโนโลยีสมยั ใหม่ รวมทง้ั สนบั สนนุ ให้มีศนู ยร์ วบรวมองคค์ วามรูเ้ พ่อื ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และมีการ จัดแสดงภาพที่สื่อให้เห็นถึงการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค จงั หวดั และทอ้ งถิน่ ๑.๑.๒.๔ สนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะและการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวภาพ รวมถึงการศึกษาวิจัยเก่ียวกับ การปรับปรุงพันธุ์พืชที่ทนทานตอ่ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการพฒั นาศักยภาพของทรัพยากร ชีวภาพที่มีอยู่ในพื้นที่เพื่อให้เกิดการขยายพันธุ์และสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมทั้งให้ความรู้และ ความเข้าใจถึงประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนแก่ภาครัฐ เอกชน ชุมชนและ ประชาชน เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วม รวมทั้งส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมและ ความหลากหลายทางชีวภาพ และพัฒนาบ่มเพาะวสิ าหกิจชมุ ชน (Community Enterprise) และวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อมเพอ่ื การสรา้ งผลิตภัณฑใ์ หเ้ ข้มแขง็ ๑.๑.๓ การจัดการทรพั ยากรดิน และท่ดี นิ ๑.๑.๓.๑ อนุรักษ์ ฟนื้ ฟู ปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพดินท่ีเสือ่ มโทรม ซ่ึงเป็นปัจจัยพื้นฐานของการพฒั นาที่ย่ังยืน โดยควบคุมและกากับให้มีการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีสอดคล้องกับ สมรรถนะของดินและศักยภาพของพื้นที่ให้เป็นไปตามแผนการใช้ท่ีดินและทิศทางการพฒั นาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ รวมทั้งลดการใช้สารเคมีในพื้นท่ีสูงและพื้นที่ต้นน้าลาธาร (พ้ืนที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้นที่ ๑ และ ๒) ควบคู่กับส่งเสรมิ การทาเกษตรอนิ ทรีย์ และการเลือกปลูกชนิดพืชที่เหมาะสมกบั สภาพความลาดชัน ของพืน้ ท่ี รวมทง้ั ควบคมุ การเพาะเล้ียงสัตวน์ า้ เค็มในพ้ืนท่ีน้าจืด ๑.๑.๓.๒ เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนการใช้ท่ีดินให้เหมาะสม โดยผลักดันให้มีการพัฒนาและปรับปรุงการกาหนดเขตและสัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินท้ังใน ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และระดับลุ่มน้า ให้สอดคล้องกับศักยภาพในการพัฒนาของพื้นที่ สถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมถึงสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม โดยให้เป็นไปตามหลักการ วางผังเมือง หลักการจัดการลุ่มน้า และหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน ผ่านการมีส่วนร่วมเพ่ือให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ และความเท่าเทียมและเป็นธรรมในการใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ ๑.๑.๓.๓ เร่งรัดการบังคับใช้กฎหมายผังเมืองทุกระดับให้ มีประสิทธิภาพเพ่ือให้การใช้ประโยชน์ท่ีดินเป็นไปตามผังเมือง โดยเร่งสารวจ ตรวจสอบและกากับ การใช้ประโยชน์ที่ดินและการถือครองท่ีดินผ่านการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมท้ังพัฒนา รูปแบบ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องในการตดิ ตามตรวจสอบ ควบคู่กับการใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ มาตรการทางกฎหมายเพื่อสร้างแรงจูงใจและบทลงโทษ ตลอดจนสร้างกลไกในการตรวจสอบ พร้อมทั้ง ๑๐๔
กาห นดห ลั กเกณ ฑ์และพัฒ นาฐานข้อมู ลการ ถือค รองที่ ดินของ ชาวต่างชาติแ ล ะนิติบุค คล ต่างชาติ ให้เหมาะสมเพ่อื ใหท้ รัพยากรที่ดนิ ของประเทศมีความมนั่ คง ๑.๑.๓.๔ พัฒนากลไกและเคร่ืองมือการบริหารจัดการที่ดินแบบ มีส่วนร่วม โดยสร้างช่องทาง และรูปแบบการมีส่วนร่วมของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียและภาคเี ครือขา่ ยที่เกย่ี วข้อง ในการติดตาม และตรวจสอบการบริหารจัดการที่ดินเพื่อให้มีการกระจายการถือครองท่ีดินที่เป็นธรรม รวมถึงขยายโอกาสในการเข้าถึงพื้นท่ีทากินของเกษตรกร เช่น ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีที่ดิน และ การจัดตั้งธนาคารท่ีดิน เป็นต้น รวมท้ังพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่ดินและทรัพยากรดิน การถือครองท่ีดิน และราคาประเมินทด่ี นิ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพและทนั สมยั ๑.๑.๔ การจดั การทรัพยากรน้าผวิ ดนิ และน้าบาดาล ๑.๑.๔.๑ พัฒนาระบบการจัดการน้าอุปโภคบริโภคแก่ชุมชนให้ ครอบคลุมทุกหมู่บ้านและชุมชนเมือง รวมถึงเขตเศรษฐกิจพิเศษ และแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ โดยสารวจ และจัดหาแหล่งน้าต้นทุนท้ังน้าผิวดินและน้าบาดาล และพัฒนาระบบประปาให้เพียงพอต่อความจาเป็น พ้ืนฐานและรองรับการขยายตัวของพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจในอนาคต รวมท้ังเพ่ิมประสิทธิภาพระบบประปา หมู่บ้าน โดยจัดหาให้มีแหล่งเก็บกักน้าฝนสาหรับครัวเรือนท่ีห่างไกลจากระบบประปา และจัดหาน้าด่ืม สะอาดท่ีผา่ นเกณฑม์ าตรฐานองค์การอนามยั โลกใหก้ ับโรงเรียนและชมุ ชนอยา่ งทว่ั ถงึ ๑.๑.๔.๒ เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการน้าท่วมและน้าแล้ง โดยการจัดการน้าท่วม ให้เพ่ิมประสิทธิภาพการระบายน้า การผันน้า และจัดหาพ้ืนท่ีแก้มลิงและพื้นท่ี รับน้านองท่ีเหมาะสม พร้อมกับมาตรการสนับสนุนด้านระเบยี บหรอื กฎหมาย และกาหนดหลกั เกณฑ์การชดเชย กรณีการรอนสิทธกิ ารใช้ท่ดี นิ และกรณกี ารผันนา้ เขา้ พน้ื ทีแ่ กม้ ลิงเพอื่ ลดความเสยี หายจากอุทกภยั ขนาดใหญ่ รวมทง้ั พฒั นาระบบทางระบายนา้ และผันน้าในเมืองควบคู่กับการก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ ปอ้ งกันน้าหลาก ล้นจากตลิ่ง บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่วนการจัดการน้าแล้ง ให้เพ่ิมประสิทธิภาพโครงการ แหล่งน้าและระบบชลประทานเดิม พัฒนาและฟ้ืนฟูแหล่งน้าในพื้นท่ีเกษตรน้าฝน การพัฒนาแหล่งเก็บกัก น้าใหม่และระบบกระจายน้า และการพัฒนาระบบผันน้าและระบบเช่ือมโยงแหล่งน้าภายในและระหว่าง ลุ่มน้า รวมถึงลุม่ น้าระหว่างประเทศ ๑.๑.๔.๓ พัฒนาระบบการคาดการณ์ทางอุทกวิทยาให้มี ความแม่นยา โดยพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการวางแผนและตัดสินใจ และจัดทาฐานข้อมูล การคาดการณส์ มดุลนา้ (Water Balance) ท้งั ด้านอุปสงคใ์ นระดบั ล่มุ น้าย่อย และอปุ ทานของนา้ ผิวดินและ น้าใต้ดินเพ่ือใช้ประโยชน์ในการควบคุมและกากับการใช้น้าในแต่ละลุ่มน้าให้เป็นไปตามลาดับความสาคั ญ รวมถึงกาหนดสัดส่วนการใช้น้าในแต่ละกิจกรรมของแต่ละภาคส่วนผ่านกระบวนการความร่วมมือจาก ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียในพนื้ ที่ รวมท้ังสนับสนุนให้มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรน้าในระดับ พื้นท่ี และแผนท่ีน้าบาดาลที่มีความละเอียดสูงท้ังในรายจังหวัด พ้ืนท่ีหาน้ายาก และพ้ืนท่ีที่มีแนวโน้ม ๑๐๕
การขยายตวั ของเมอื งและเขตเศรษฐกิจ โดยบูรณาการร่วมกบั การวางผังเมอื ง และคานึงถงึ หลักความสมดลุ และความค้มุ ค่าของการใชท้ รพั ยากร ๑.๑.๔.๔ เสรมิ สร้างความเข้มแข็งแก่ทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วม จัดการทรัพยากรน้า โดยสนับสนุนองค์กรชุมชน องค์กรลุ่มน้า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเครือข่าย ระหว่างลุ่มน้าท้ังในประเทศและระหว่างประเทศให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้าผิวดินและน้าบาดาล ในพื้นท่ีได้อย่างต่อเน่ือง ส่งเสริมการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรน้าไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งกากับดูแล ติดตามและประเมินผลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกาหนดการจัดสรรและ แบ่งปันการใช้น้าที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละภาคส่วนเพื่อลดความขัดแย้งและให้การจัดสรรน้า เกิดประโยชน์อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ตลอดจนสนับสนุน องคค์ วามรใู้ นการใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสม ผสมผสานกับภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา้ ๑.๑.๔.๕ พัฒนาโครงสร้างและองค์กรการบริหารจัดการทรัพยากร น้าผิวดินและน้าบาดาล เพ่ือทาหน้าที่กาหนดนโยบายและขับเคล่ือนการบริหารจัดการทรัพยากรน้าผิวดิน และน้าบาดาลไปสู่การปฏิบัติ กากับ ดูแล ติดตามและประเมินผล พร้อมทั้งพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบเพ่ือให้สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรน้า และน้าบาดาล ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและทันสมัย รวมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกในการจัดการทรัพยากรน้า และเสริมสร้างความ เข้มแขง็ ขององค์กรลุ่มน้าและองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในการจดั การทรัพยากรน้า ๑.๑.๕ การจัดการทรพั ยากรธรณี ๑.๑.๕.๑ อนุรักษ์ทรัพยากรแร่ โดยพัฒนานโยบายและแผนแม่บท และ/หรือยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่เพ่ือการกาหนดพื้นที่หรือชนิดแร่ที่สมควรสงวน หวงห้าม หรืออนุรักษ์ไว้ และพ้ืนท่ีท่ีมีแหล่งแร่อุดมสมบูรณ์และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงท่ีจะกาหนดให้เป็น เขตแหล่งแรเ่ พ่อื การทาเหมือง พร้อมทั้งคานึงถึงการใชป้ ระโยชนท์ รัพยากรแร่ในระยะยาวและผลกระทบต่อ ความมั่นคงของประเทศ และเพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ให้เหมาะสมและ เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ภายใต้ดลุ ยภาพด้านเศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ๑.๑.๕.๒ จัดทาฐานข้อมูลพื้นที่ศักยภาพแรข่ องประเทศ โดยเร่งรัด ให้มีการสารวจ ศึกษาและวิจัยแหล่งแร่ท่ัวประเทศ รวมถึงจัดทาฐานข้อมูลแร่และพ้ืนที่ที่มีศักยภาพ ในการทาเหมืองของประเทศอย่างเป็นระบบและเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลด้านอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง พร้อมท้ัง เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเข้ามามสี ่วนรว่ ม และเปิดเผยข้อมลู ให้สาธารณชนรับทราบอยา่ งตอ่ เน่ือง ๑.๑.๕.๓ ควบคุม และกากับดูแลการบริหารจัดการเหมืองแร่ ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและชุมชน เพ่ือเป็นกลไกในการติดตาม ตรวจสอบ และกากับดูแลการประกอบกิจการเหมืองแร่ให้คานึงถึงผลกระทบ จากการพัฒนาทรัพยากรแร่ต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของชุมชน และดาเนินการฟ้ืนฟูพ้ืนที่หลังจาก ปิดเหมอื ง รวมทง้ั พฒั นาเครอ่ื งมือทางเศรษฐศาสตร์และมาตรการจูงใจเพอ่ื ส่งเสริมความรบั ผิดชอบต่อสังคม ๑๐๖
ของผู้ประกอบการให้สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้ ตลอดจนเร่งสร้างมาตรการควบคุมดูแล และชดเชย ค่าเสยี หายตามหลกั การผูก้ ่อมลพิษเปน็ ผจู้ ่าย ๑.๑.๕.๔ พัฒนาและอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยาและ ซากดึกดาบรรพ์ของประเทศ โดยส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยเชิงลึก และถ่ายทอดสู่การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โดยผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมท้ังส่งเสริมให้ประชาชนในพ้ืนท่ีเข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาท ในการจัดการดูแลการใช้ประโยชน์แหล่งท่องเที่ยวทางธรณีวิทยา พร้อมกับส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ให้ ทุกภาคส่วนเข้าใจถึงความสาคัญของแหล่งเรยี นรธู้ รณีวิทยาและซากดึกดาบรรพ์ ๑.๑.๖ การจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง ๑.๑.๖.๑ พัฒนาพ้ืนที่ทางทะเลและชายฝั่งให้เกิดความยงั่ ยืน โดย ผลักดันให้มีการวางแผนเชิงพื้นที่ทางทะเล (Marine Spatial Planning: MSP) และการจัดทาผังทะเลหรือ การแบ่งเขตการใช้ประโยชน์ทางทะเล เพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูพื้นที่ทางทะเลและชายฝั่ง ใหส้ ามารถสร้างความมน่ั คงทางแหล่งพลังงาน ความมั่งคั่งทางการประมง การท่องเทีย่ ว การอุตสาหกรรม และ การคมนาคมขนส่ง และความยัง่ ยนื ของระบบนเิ วศทางทะเล รวมทง้ั จัดการกบั พ้นื ทีท่ ม่ี ีความเส่อื มโทรมจาก การใช้ประโยชน์อย่างเข้มข้นและพื้นที่ชายฝั่งท่ีถูกกัดเซาะ โดยคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมิติเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดล้อม และการมีส่วนรว่ มของชุมชนท้องถิ่น ๑.๑.๖.๒ อนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถ่ิน พร้อมทั้งถ่ายทอดองค์ความรู้และบทเรียนที่มีแนวทางการปฏิบัติ ท่ีดี (Best Practice) ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยเฉพาะการอนุรักษ์ พันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตทางทะเล เช่น ปะการัง หญ้าทะเล และส่ิงมีชีวิตบริเวณชายฝั่งทะเล เป็นต้น ให้เหมาะสมกับพื้นที่ และความสาคัญของระบบนิเวศ รวมท้ังเร่งรัดการกาหนดและประกาศพ้ืนท่ีคุ้มครอง ระบบนิเวศสาคัญทางทะเลและชายฝ่ัง และเร่งฟื้นฟรู ะบบนิเวศทางทะเลที่เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสัตว์น้า พรอ้ มทั้งปกปอ้ งและอนรุ ักษส์ ัตว์ทะเลหายากและชนิดที่ใกล้สญู พนั ธ์ุ และเพิม่ พื้นที่ป่าชายเลน ๑.๑.๖.๓ เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบ ทางทะเล เพ่ือปกป้องทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังจากการถูกคุกคาม หรือใช้ประโยชน์เกินขีดจากัด และ ใช้ประโยชน์พ้ืนที่ไม่เป็นไปตามผังทะเล โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยเพ่ือการจัดทาฐานข้อมูลและ การรายงานอยา่ งต่อเนื่อง พร้อมทั้งให้มกี ารบังคบั ใชก้ ฎหมายอย่างเคร่งครดั โปรง่ ใส และเปน็ ธรรม รวมทั้งสร้าง กลไกการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนชายฝ่ังทะเลอย่างเข้มแข็ง เพ่ือลดข้อขัดแย้งในการจัดการเชิงพื้นท่ี มีการจัดสรรและกาหนดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยชุมชน สามารถเขา้ ถงึ ทรพั ยากรไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ ๑.๑.๖.๔ ส่งเสริมการทาประมงที่คานึงถึงความสมดุลของ ทรัพยากรสัตว์น้า และระบบนิเวศ โดยให้มีการประเมินทรัพยากรประมง (Fisheries Stock Assessment) เพ่ือใช้ในการวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรประมงให้สอดคล้องกับศักยภาพ และสนับสนุนการใช้ ๑๐๗
เครื่องมือประมงที่อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล พร้อมกับจากัดและยกเลิกการใชเ้ ครื่องมือประมงทาลายล้าง ทุกชนิด รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการทาประมงที่ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเล และสนับสนุนบทบาทการมีส่วนร่วมของชุมชนประมงพ้ืนบ้านและเครือข่ายประมงชายฝ่ัง ตลอดจนสร้าง กลไกการเฝ้าระวังการทาประมงที่ผิดกฎหมาย ๑.๑.๖.๕ เพม่ิ ประสิทธิภาพการใชม้ าตรการทางกฎหมาย โดยกากับ และควบคุมไม่ให้มีการใช้ประโยชน์พ้นื ท่ีป่าชายเลนเพอ่ื กิจกรรมท่ีผิดกฎหมาย และให้มีการคุ้มครองระบบนิเวศ ปากแม่น้าท่ีสาคัญเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังอย่างยั่งยืน และบังคับใช้ มาตรการตามประกาศพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝ่ังอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังจัดทาพื้นที่อนุรักษ์เพ่ือ คุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลและชายฝ่ังท่ีสาคัญ ตลอดจนควบคุมดูแลกิจกรรมที่มีผลกระทบรุนแรงต่อระบบ นเิ วศและแหลง่ อาหารของสิ่งมชี ีวิตที่อาศัยบรเิ วณชายฝ่ัง และทีส่ ่งผลใหเ้ กิดการกัดเซาะชายฝั่ง นโยบายท่ี ๑.๒ จัดการทรัพยากรธรรมชาตเิ พอ่ื ความมัน่ คงทางอาหาร น้า และพลงั งาน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือความม่ันคงทางอาหาร น้า และพลังงาน เป็นการจัดการเชิงประเด็น (Agenda) และมองถึงความสัมพนั ธ์และความเช่ือมโยงของประเด็นด้านอาหาร น้า และพลังงาน รวมถึงความสัมพันธ์กับมิติเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลดผลกระทบที่จะเกิดข้ึนกับอีกประเด็นหน่ึง และให้มีปริมาณและคุณภาพที่ดีอย่างพอเพียง สาหรับให้ทุกคน สามารถเข้าถงึ และใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างเหมาะสม และเปน็ ธรรม รวมทั้งมภี มู คิ มุ้ กันจากวกิ ฤตกิ ารณ์ที่เกิดข้ึน อย่างฉับพลัน เช่น ภัยธรรมชาติ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยมี ๓ ประเด็นหลัก ได้แก่ การจัดให้มีอาหาร น้า และพลังงานอย่างเพียงพอ การเข้าถึงอาหาร น้า และพลังงาน อย่างทว่ั ถงึ และเท่าเทยี มกนั และการรกั ษาเสถยี รภาพทางอาหาร นา้ และพลังงาน และมี ๑๓ แนวนโยบาย (หน่วยงานรับผิดชอบ ประกอบด้วย กษ. ทส. นร. พณ. พน. พม. วช. สธ.) ๑.๒.๑ การจัดใหม้ ีอาหาร นา้ และพลงั งานอยา่ งเพียงพอ ๑.๒.๑.๑ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการจัดการอย่างเป็น ระบบและเป็นองค์รวม โดยส่งเสริมกระบวนการเพ่ิมผลผลิต และรูปแบบการจัดการเพ่ือพัฒนาหรือแก้ไข ปัญหาท่ีก่อให้เกิดผลกระทบต่อด้านอ่ืนน้อยท่ีสุด และคานึงถึงการหมุนเวียนทรัพยากรเพื่อใช้ประโยชน์ ร่วมกัน ลดการสูญเสียของอาหาร น้า และพลังงานระหว่างการเก็บเกี่ยวผลผลิตและกระบวนการผลิต รวมถึงรักษาคุณภาพสินค้าเกษตร รวมทั้งกาหนดเขตพ้ืนที่เพื่อการผลิตแบบครบวงจร และการประเมินผล กระทบจากการค้าระหว่างประเทศต่อความม่ันคงของทรัพยากรน้าในประเทศตามแนวคิดเรื่อง น้าเสมือน (Virtual Water Trade) ๑.๒.๑.๒ สร้างความสมดุลของน้าภาคการผลิต โดยจัดการด้าน ความต้องการด้วยการควบคุมการขยายตัวของพื้นที่ที่มีข้อจากัดด้านทรัพยากรน้า จัดการระบบการผลิต ทางการเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและตามมาตรการการอนุรักษ์ดินและน้า พัฒนา แหล่งเก็บกักน้า จัดหาแหล่งน้าให้กับพ้ืนท่ีเกษตรน้าฝนให้เพียงพอต่อการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ๑๐๘
รวมถึงการอุปโภคและบริโภคของชุมชน อนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีชุ่มน้า แหล่งน้าธรรมชาติ ปรับปรุง คันก้ันน้า ฝายทดน้า ประตูระบายน้า ปรับปรุงแหล่งน้าท่ีมีอยู่เดมิ ทางระบายน้า และลาน้าตื้นเขิน รวมทั้ง จัดหาน้าต้นทุนในรูปแบบพิเศษ ไดแ้ ก่ การพฒั นาระบบผันน้าและระบบเชื่อมโยงแหลง่ น้าภายในลุ่มน้าและ ระหว่างลุ่มน้า รวมถึงลุ่มน้าระหว่างประเทศ โดยคานึงถึงผลกระทบด้านการใช้พลังงาน และ การเปลี่ยนแปลงการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ๑.๒.๑.๓ พัฒนาระบบการจัดสรรพ้ืนท่ีสาหรับพืชอาหารและ พืชพลังงานอย่างเหมาะสม ตามแนวทางการบริหารจัดการท่ีดินอย่างยั่งยืน โดยกาหนดโซนพื้นที่ปลูกพืช อาหารและพืชพลังงานให้สมดุลและเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีและความต้องการทางเศรษฐกิจ รวมทั้งสงวน พ้ืนท่ีท่ีมีศักยภาพทางเกษตรกรรมด้วยการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี และส่งเสริมพลังงานทางเลือกด้านอื่น เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพจากสาหร่าย เป็นต้น ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเพ่ือลดปัญหา การแยง่ พนื้ ทีป่ ลูกพชื อาหาร และเกิดความสมดลุ ระหวา่ งราคาพชื อาหารและพชื พลังงาน ๑.๒.๑.๔ เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการพลังงานทั้งระบบ พร้อมทงั้ พัฒนาการกากับกจิ การพลังงานอย่างเหมาะสมและมธี รรมาภิบาล โดยกาหนดทิศทางการผลิตและ การใช้พลังงานอย่างยั่งยืน การแสวงหาแหล่งพลังงานเพ่ิมเติม และการกระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ให้ได้ตามแผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศ การจัดหาพลังงานทดแทน การพัฒนาพลังงาน หมุนเวียน การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และการบริหารความเสี่ยงจากการพึ่งพิงพลังงานจาก ต่างประเทศ รวมทั้งกาหนดโครงสร้างราคาพลังงานท่ีสะท้อนต้นทุนและเป็นธรรมระหว่างผู้ประกอบกิจการ พลังงานและผู้บริโภค โดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ กบั ทรพั ยากรนา้ และทรัพยากรดนิ และที่ดิน ๑.๒.๒ การเข้าถงึ อาหาร น้า และพลงั งานอยา่ งท่วั ถงึ และเท่าเทียมกนั ๑.๒.๒.๑ พัฒนาระบบกระจายอาหาร น้าและพลังงานให้ทั่วถึง โดยส่งเสริมและอานวยความสะดวกด้านการขนส่งให้กระจายครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ ในราคาท่ีเท่าเทียมกัน พัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ พัฒนาแหล่งน้าและ ระบบกระจายน้าทุกขนาดให้เพียงพอต่อการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และการเกษตร รวมทั้งระบบ ส่งน้าท่ีใช้พลังงานต่าไปยังพื้นท่ีเกษตรกรรมและแหล่งน้าดิบเพ่ือการสาธารณูปโภคให้เต็มประสิทธิภาพ ทั้งประเทศ ลดอัตราการสูญเสียน้าในระบบส่ง เพิ่มแหล่งเก็บกักน้าและการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ท่ีเหมาะสมทุกฤดูกาล และส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาอาหารให้ยาวนานขึ้นบนพ้ืนฐาน การใชพ้ ลังงานต่า ตลอดจนพฒั นาระบบสายส่งไฟฟ้าให้ครอบคลมุ ทุกครัวเรือน หรือพัฒนาแหล่งผลติ ไฟฟ้า ขนาดเล็กในพื้นทีห่ ่างไกล ๑.๒.๒.๒ พัฒนากลไกเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการเข้าถึงอาหาร น้า และพลังงาน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงอาหาร น้า และพลังงานได้อย่างเพียงพอ ลดความเส่ียงที่เกิดจากความผันผวนของราคาสินค้า และป้องกันการกักตุนสินค้า รวมท้ังพัฒนาระบบ การกระจายน้า และสินคา้ อย่างทั่วถึง พรอ้ มทัง้ ควบคุมราคาที่เหมาะสม ๑๐๙
๑.๒.๓ การรกั ษาเสถียรภาพทางอาหาร นา้ และพลงั งาน ๑.๒.๓.๑ สนับสนุนการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ดิน น้า ประมง และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างย่ังยืน โดยจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างบูรณาการเพื่อสงวนรักษา พื้นที่ต้นน้าลาธารและความหลากหลายทางชีวภาพให้สมดุล และให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง การอนรุ ักษ์ดนิ และน้าเพอื่ พัฒนารูปแบบการทาการเกษตรกรรมที่ยั่งยนื โดยใหม้ ีการใช้สารเคมีอยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย และใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมในกระบวนการผลิต รวมท้ังสร้างระบบ การเฝา้ ระวังและติดตามเพ่ือลดการสญู เสยี ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ และสง่ เสริมการค้มุ ครองพันธพุ์ ืช และพันธสุ์ ตั ว์ดั้งเดมิ เพ่อื รกั ษาความม่นั คงทางอาหารและพลังงาน ๑.๒.๓.๒ พัฒนาการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อความมั่นคงทาง อาหาร โดยสนับสนุนเกษตรกรรายย่อยในการทาเกษตรกรรมตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ ควบคู่กับ การเกษตรทเ่ี ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือรกั ษาความมั่นคงทางอาหารในระดบั ครวั เรอื นและชุมชนไดอ้ ย่างย่ังยืน และคงความสมดุลในระบบนิเวศของความหลากหลายทางชีวภาพ ลดความเปราะบางต่อปัจจัยเสี่ยงจาก ภูมิอากาศและความผันผวนของตลาด พร้อมทั้งสร้างกลไกสนับสนุนเงินทุนและทรัพยากร เช่น การจัดหา แหล่งเงินทุน การสร้างเครือข่ายตลาด การพัฒนาอาชีพเสริมหลังฤดูเพาะปลูก และพัฒนาการท่องเท่ียว เชงิ นเิ วศเกษตร ฯลฯ ๑.๒.๓.๓ พัฒนาระบบสวัสดิการและตาข่ายรองรับทางสังคม (Social Safety Net) เม่ือเกิดวิกฤตด้านอาหารให้กับกลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลือ โดยเฉพาะกลุ่ม ท่ีเปราะบาง คนจนเมืองและเกษตรกรรายย่อย โดยให้มีการจัดเตรียมคลังสารองอาหารเพื่อรองรับความเสี่ยง จากความผันผวนของราคาและผลผลิตทางการเกษตร และพัฒนาระบบสวัสดิการในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น ระบบสหกรณ์ เป็นต้น ให้มีความเข้มแข็งและสามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างครบวงจร เพ่ือให้เป็นกลไก ในการรวมกลุ่มของเกษตรกรรายย่อย รวมทั้งพัฒนาระบบสารสนเทศและการวางแผนเตือนภัยด้าน เกษตรกรรมลว่ งหน้า ๑.๒.๓.๔ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อพัฒนา พลังงานทางเลือกท่ีหลากหลาย โดยสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการค้นหาแหล่งพลังงานชีวมวล ที่ไม่ใช่พืชอาหาร และพัฒนาการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อเพ่ิมมูลค่าวัสดุ เหลือท้ิง รวมท้ังส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เช่น มาตรการการใช้ รถยนต์หรือรถยนต์ไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน เป็นต้น เพื่อให้ราคาพลังงานมีความเหมาะสมและ ประชาชนสามารถเขา้ ถึงได้อยา่ งเทา่ เทียม ๑.๒.๓.๕ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการตรวจสอบมาตรฐาน คุณภาพอาหาร และคุณภาพน้าครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยพฒั นาองค์กรและบคุ ลากรเพ่ือดูแลระบบการตรวจสอบ สินค้าอาหารและน้าท้ังที่ผลิตภายในประเทศและต่างประเทศให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากล เพ่ือความเหมาะสมและปลอดภัยต่อการนาไปบริโภคหรือนาไปเป็นวัตถุดิบข้ันถัดไป รวมทั้งให้มีการบูรณาการ การดาเนินงานของทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัย และมาตรฐานสินค้า ๑๑๐
อาหารและน้าทั้งระบบให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนส่งเสริมให้เกษตรกรพัฒนาระบบการผลิตอาหาร ท่ีมีความปลอดภยั ต่อสุขภาพและสง่ิ แวดลอ้ ม ๑.๒.๓.๖ พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการจัดทาดัชนีความม่ันคง ทางดา้ นอาหาร นา้ และพลงั งาน และเผยแพร่ข้อมูลให้ผกู้ าหนดนโยบาย ผูผ้ ลิต และผูบ้ ริโภค สามารถเข้าถึง ได้ง่ายเพื่อการตัดสินใจท้ังระดับนโยบาย เทคนิค และการเลือกสินค้าที่ให้ผลด้านบวกต่อความม่ันคง ทั้งสามด้านมากท่ีสุด รวมทั้งสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นคงและ การมีปฏิสัมพันธ์ทั้งสามด้านกับระบบนิเวศสังคม ตลอดจนพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลสาหรับการจัดทาดัชนี ความมั่นคงท้ัง ๓ ด้าน โดยเฉพาะข้อมูลประสิทธิภาพการใช้น้าและพลังงานของภาคเศรษฐกิจตลอดวงจร การผลิต (Life Cycle Assessment) และข้อมูลการสูญเสียอาหารจากการผลิตและบริโภค (Food Loss and Food Waste) พร้อมทั้งสรา้ งระบบการจดั เก็บข้อมลู ให้มีความตอ่ เน่ืองและทันสมยั ๑.๒.๓.๗ สนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือหาแนวทาง ป้องกันและลดผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อภาคการเกษตร ทรัพยากรน้า และ พลงั งาน โดยสนบั สนุนงบประมาณการวิจัย บคุ ลากร และส่ิงอานวยความสะดวกใหภ้ าคเอกชนมีแรงจงู ใจและ ศักยภาพในการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อเพ่มิ ผลผลิตต่อไร่ การปลูกพชื ที่ต้านทานโรคแมลงศัตรูพชื รวมทั้ง แนวทางการจัดการทรัพยากรน้าผิวดิน น้าบาดาล เพื่อการลดการสูญเสียน้าในการกักเก็บและระหว่าง การชลประทาน และการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตพลังงานจากพลังงานชีวภาพ ๑๑๑
๑๑๒
นโยบายท่ี ๒ สร้างการเตบิ โตท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ วดลอ้ มเพือ่ ความมั่งคงั่ ล ยง่ั ยนื เป้าปร สงค์: ตัวชีว้ ดั นโยบายที่ ๒ ๒.๑ ปรมิ าณการบริโภคทรัพยากรในประเทศ (Domestic Material Consumption: DMC) ต่อมูลคา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ (ลดลง) ๒.๒ สัดส่วนการนา้ ขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ใหม่ (เพ่มิ ข้นึ ) ๒.๓ ปรมิ าณขยะทเี่ ข้าระบบกา้ จัดข้นั สุดท้าย (ตนั ) (ลดลง) ๒.๔ คณุ ภาพน้าในแหลง่ น้าผวิ ดนิ และแหล่งนา้ ทะเลอยใู่ นเกณฑ์ดี (เพ่ิมขึ้น) ๒.๕ ดชั นีของปราก การณ์ยูโทรฟเิ คช่ัน (Eutrophication) (ลดลง) ๒.๖ ความหนาแนน่ ของขยะพลาสตกิ ในทะเลต่อตารางกิโลเมตร (ลดลง) ๒.๗ ค่า นุ่ ละอองขนาดเล็ก (PM2.5 และ PM10) อยูใ่ นเกณฑม์ าตรฐาน (เพม่ิ ขึน้ ) นโยบายที่ ๒.๑ สรา้ งร บบเศรษฐสังคมที่เกื้อกูล ล เป็นมิตรกบั สิง่ วดล้อม นโยบายที่ ๒.๒ ยกร ดับการพัฒนาคุณภาพส่งิ วดล คา้ นึงถึงการจดั การระบบเศรษฐกิจและสงั คมในการผลติ และการบรโิ ภคตั้งแต่ตน้ ทาง คา้ นงึ ถงึ ความสา้ คัญของพืน้ ท่ที จี่ ะไดร้ บั จนถงึ ปลายทางให้เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม โดยใหม้ ีการน้าวัสดุมาหมุนเวยี นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และความสัมพันธท์ หี่ ลากหลายและซบั ซอ้ นขึ้น และจ้าเปน็ ตอ้ มีการน้าของเสยี กลบั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด ปล่อยมลพิษและสง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มให้น้อยที่สุด ร่วมกนั โดยจะมรี ูปแบบแตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะความส้าค รวมท้ังใช้ประโยชน์จากวั จกั รของธรรมชาตทิ ี่สามารถบ้าบดั และปรับสมดุลได้ดว้ ยตวั เอง และพ้นื ที่อุตสาหกรรม รวมทง้ั สิง่ แวดล้อมธรรมชาติ และสิ่ง กับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั ธรรมชาติ ๒.๑.๑ การจดั การวสั ดุ ล ขย ๒.๒.๑ การจัดการสงิ่ วดลอ้ มเมือง - พฒั นาการออกแบบและเลือกใช้วตั ถดุ ิบท่เี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม และใหห้ น่วยงานรฐั - จัดระเบยี บการใช้ประโยชน์ทีด่ ินและการขยาย เป็นผนู้ ้าทางการตลาด - ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเมอื งทีเ่ ปน็ มติ ร - ลดปรมิ าณการเกดิ ขยะหรอื ของเสียจากกระบวนการผลิตและการบริโภค - พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานของเมืองให้รองรับกับ - สง่ เสริมการนา้ ขยะกลับมาใชใ้ หม่ และพัฒนาก ระเบยี บการจัดซอื้ จดั จา้ งสนิ ค้าและบริการ การเป็นสงั คมผู้สูงอายุ ของภาครัฐให้เหมาะสม รวมท้งั สนับสนุนการศกึ ษาวิจยั - เพม่ิ พ้นื ท่ีสีเขยี วในเมอื งท้ังแนวราบและแนวสงู - ส่งเสริมการกา้ จัดขยะและของเสยี อนั ตรายทีม่ ีประสิทธภิ าพ - พัฒนามาตรฐานและรปู แบบของเมอื งทีเ่ ปน็ มิต - เพ่ิมประสิทธภิ าพการกา้ กับดูแลใหม้ กี ารป บิ ัติตามก ระเบยี บ ที่มีการดา้ เนนิ การน้ารอ่ งอยแู่ ลว้ อาทิ เมอื งนา่ อ ท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม รวมทั้งผลักดันใหป้ ระเ ๒.๑.๒ การจัดการคุณภาพน้า - ฟื้นฟคู ุณภาพนา้ ตามธรรมชาตใิ หอ้ ยใู่ นเกณฑ์ดี โดยรกั ษาวั จกั รของน้าใหบ้ า้ บดั ตัวเองไดต้ ามธรรมชาติ ๒.๒.๒ การจัดการส่ิง วดล้อม หลง่ ทอ่ งเที่ยว - ลดความเขม้ ขน้ ของมลสารในน้าจากการดา้ เนินกจิ กรรมตา่ งๆ และพัฒนามาตรการ - พัฒนาและส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวทเี่ ป็นมติ รกบั ส่ิงแว - ส่งเสริมให้มกี ารบา้ บดั น้าเสียทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ - สง่ เสริมและสนบั สนุนการบริหารจัดการการทอ่ - ดแู ลรักษาคณุ ภาพน้าทะเล และพัฒนากลไกการปอ้ งกนั ขยะ สารเคมี และตะกอนดิน - ส่งเสรมิ การจัดการส่งิ แวดลอ้ มในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ทจ่ี ะไหลลงสทู่ ะเล - สร้างระบบการติดตามคณุ ภาพนา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และสง่ เสรมิ การศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนา ๒.๒.๓ การจดั การส่ิง วดล้อมพ้นื ที่อุตสาหกรรม เทคโนโลยีการพัฒนาอุปกรณ์รองรับ - กา้ หนดเขตและควบคุมการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ให - สนบั สนุนการพฒั นากลุ่มอตุ สาหกรรมทีม่ กี ระบ ๒.๑.๓ การจัดการคุณภาพอากาศ ให้เหลอื น้อยทีส่ ุดและปล่อยมลพษิ ออกสู่สิ่งแว - เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการคุณภาพอากาศ - สรา้ งระบบกลไกและเครอื ขา่ ยการตรวจสอบท - ลดปรมิ าณการปลอ่ ยมลพษิ ทางอากาศจากการด้าเนินกิจกรรมต่างๆ ในภาคอุตสาหกรรม กบั สงิ่ แวดล้อมต้งั แต่ภาคเกษตรกรรม อตุ สาหก ภาคเกษตรกรรม และภาคคมนาคมขนสง่ - สร้างระบบการจดั การควบคมุ ความเส่ยี งและร - สนับสนนุ และสรา้ งความเขม้ แข็งของความร่วมมือระหว่างประเทศด้านมลพิษข้ามแดน ความเส่ียงของโรงงานอุตสาหกรรมใหม้ ีประสิท - สนบั สนุนการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๒.๑.๔ การจัดการความเสีย่ งจากสารเคมี - พัฒนากลไกและเคร่ืองมอื การบรหิ ารจดั การเพ่ือควบคมุ สารเคมตี ลอดวงจรชีวติ ๒.๒.๔ การจดั การสิง่ วดลอ้ มธรรมชาติ ล สิง่ วดล - ลดความเส่ยี งจากการใชส้ ารเคมใี นภาคต่างๆ และมมี าตรการเขม้ งวดควบคมุ - ฟน้ื ฟแู ละอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาติ และส่ิง - เพ่ิมประสิทธภิ าพการก้ากับดแู ล และเพม่ิ ช่องทางการใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ และรับเรือ่ งรอ้ งเรียน อย่างเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพการ แกป่ ระชาชน - ก้ากับดแู ลแหล่งมรดกท่ีไดร้ ับการขึน้ ทะเบยี นเป - สง่ เสริมใหม้ กี ารจัดตั้งหอ้ งป ิบัตกิ ารท่ที ันสมัยและเป็นมาตรฐานสากล ทัง้ ในหนว่ ยงาน และของโลก รวมถึงพน้ื ท่แี นวกนั ชนใหไ้ ด้รบั กา ภาครัฐและเอกชน - สร้างกลไกการมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่างๆ ใน ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมศลิ ปกรรม ล - สร้างเคร่อื งมือเพือ่ ยกระดับการจัดการสงิ่ แวดล รปู ท่ี ๗ ผนภาพ สดงความเช่ือมโยงของเป้าปร สงค์ ๑๑๓
ปร ชาชนอยู่ในสภาพ วดลอ้ มที่มคี ณุ ภาพ ล มคี วามปลอดภัยต่อสขุ ภาพบนฐานการเติบโตทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ วดล้อม ๒.๘ มกี ลไกและระบบบรหิ ารจัดการสารเคมีของประเทศที่คมุ้ ครองสุขภาพและความปลอดภัยของประชาชนและส่ิงแวดล้อม ๒.๙ จา้ นวนเมืองท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม (เพ่ิมขนึ้ ) ๒.๑๐ สัดสว่ นพนื้ ที่สีเขยี วในเมอื งเปน็ ไปตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก (๙ ตารางเมตรตอ่ คน) ๒.๑๑ สดั สว่ นการใช้พลงั งานหมุนเวียนตอ่ การใชพ้ ลงั งานขั้นสดุ ทา้ ย (ร้อยละ ๓๐) ๒.๑๒ สัดส่วนของสง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมศลิ ปกรรมท่มี กี ารบริหารจัดการสง่ิ แวดลอ้ มบริเวณโดยรอบ (เพ่ิมข้ึน) ๒.๑๓ ปริมาณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกลดลงรอ้ ยละ ๒๐ - ๒๕ จากปรมิ าณการปลอ่ ยในกรณีปกติ (Business As Usual: BAU) ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ๒.๑๔ จา้ นวนประชากรท่เี สียชีวิต สญู หาย และได้รับผลกระทบจากภยั พิบัตทิ างธรรมชาติต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน (ลดลง) ล้อมตามลกั ษณ พืน้ ที่ นโยบายที่ ๒.๓ สร้างภมู ิคุ้มกันต่อการเปล่ียน ปลงสภาพภมู ิอากาศ ล ส่งเสริมการพัฒนา บบคารบ์ อนต่้า บการสง่ เสรมิ และพัฒนาในอนาคต ซ่งึ จะมบี ทบาทหน้าที่ คา้ นงึ ถงึ การเตรยี มความพร้อมเพือ่ รบั มอื กับสภาพภมู อิ ากาศและภยั ธรรมชาติท่ีมีความแปรปรวน องใชร้ ปู แบบการจดั การแบบสหวทิ ยาการและมีการบรู ณาการ และเกดิ ขน้ึ อย่างรุนแรงและบ่อยครั้งขึน้ จนสรา้ งความเสยี หายในทรพั ย์สินและการสูญเสียชวี ิตของประชาชน คัญของพ้ืนที่ ประกอบดว้ ย สิ่งแวดล้อมเมอื ง แหล่งท่องเท่ยี ว รวมท้ังปรบั กระบวนทัศนก์ ารพฒั นาและการด้าเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ เพือ่ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในรูป สงแวดล้อมศิลปกรรม ตลอดจนการสร้างภูมคิ ุ้มกนั เพ่ือรบั มือ คารบ์ อนเทยี บเทา่ ผสมผสานกับการดา้ เนินการเพื่อดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกใหส้ ามารถปรับสมดุล การปล่อย และการดูดกลับเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาแบบคารบ์ อนต้่า ยตวั ของเมืองใหเ้ หมาะสมทั้งในปัจจุบันและอนาคต ๒.๓.๑ การปรบั ตวั เพอื่ สร้างความพรอ้ มในการรับมอื ต่อการเปลยี่ น ปลงสภาพภูมอิ ากาศ รกับสง่ิ แวดล้อม รวมทัง้ พัฒนาก ระเบยี บและมาตรการจงู ใจ ล ภยั ธรรมชาติ บความต้องการและการด้าเนนิ ชวี ติ ของประชาชน และรองรบั - พัฒนาและยกระดับฐานความตระหนักร้แู ละความเขา้ ใจแกป่ ระชาชนและทุกภาคส่วนทีเ่ กย่ี วขอ้ ง - สง่ เสริมและสนบั สนุนการศกึ ษาวิจัยและพฒั นาเทคโนโลยี และระบบฐานขอ้ มลู กลางดา้ นการปรบั ตัว ง และการท้าสวนเกษตรแนวตง้ั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศของประเทศ ตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม และพัฒนาเมืองสีเขยี ว รวมถงึ เมอื ง - ขับเคลอ่ื นการดา้ เนินการดา้ นการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ อยู่ เมืองคารบ์ อนต้่า หรอื เมอื งสิ่งแวดล้อมยง่ั ยนื เพอ่ื เป็นเมอื ง ของประเทศ เทศไทยเปน็ ผู้น้าด้านส่ิงแวดลอ้ มเมอื งที่ยงั ยืนของอาเซยี น - พัฒนาระบบและกลไกการติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการดา้ เนนิ งาน แวดลอ้ ม และพฒั นาเกณฑ์ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มในมาตรฐานการท่องเทีย่ ว ๒.๓.๒ การลดก๊าซเรอื นกร จก ล การส่งเสริมการเติบโตทีป่ ลอ่ ยคารบ์ อนต้า่ องเทย่ี วอย่างยั่งยนื - ขับเคลอ่ื นการดา้ เนนิ การดา้ นการลดก๊าซเรอื นกระจก ทง้ั ในภาคพลงั งานและคมนาคมขนสง่ ยวอย่างย่งั ยนื กระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ การจดั การของเสยี การเกษตรและป่าไม้ และการจัดการเมือง ห้เปน็ สดั สว่ นและชัดเจนผ่านกระบวนการมีสว่ นรว่ ม - สร้างความตระหนักและพัฒนาศักยภาพเพ่ือการมสี ว่ นร่วมในการลดกา๊ ซเรือนกระจก บวนการผลติ เชอ่ื มตอ่ กนั เพอื่ ลดการเกิดของเสีย - เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชเ้ คร่อื งมือและกลไกในการดา้ เนินการลดก๊าซเรือนกระจก ทง้ั กลไก วดล้อมน้อย ทางการเงนิ การสรา้ งแรงจงู ใจ การวิจัยและเทคโนโลยที ี่ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก ทั้งภาครัฐ ทีเ่ ข้มแขง็ ตลอดห่วงโซ่มูลค่าอตุ สาหกรรมท่เี ป็นมิตร และเอกชน และการปรบั ปรงุ แก้ไขหรือการตราก หมาย กรรม และบริการ - พฒั นาระบบการตรวจวัด การรายงาน และการทวนสอบผลการลดก๊าซเรอื นกระจก ระงบั เหตฉุ กุ เฉินในระดับพน้ื ที่ รวมทงั้ พัฒนาระบบการประกนั (Measurement, Reporting and Verification: MRV) ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขึน้ ทธภิ าพ ศ (Eco - Industrial Town) ลอ้ มศิลปกรรม งแวดล้อมศิลปกรรมใหม้ กี ารวางผงั และใชท้ ีด่ ินโดยรอบ รรองรบั ของพ้นื ท่ี ปน็ แหลง่ มรดกทางธรรมชาตแิ ละทางวัฒนธรรมของประเทศ ารบริหารจดั การเป็นไปตามมาตรฐานและย่งั ยืน นการร่วมอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู บ้ารุงรกั ษาและพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ ม ล้อมธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มศิลปกรรม ตัวชี้วดั นโยบายยอ่ ย ล นวนโยบาย ภายใต้นโยบายท่ี ๒ ๑๑๑
นโยบายท่ี ๒ สร้างการเติบโตท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ ความมัง่ ค่ังและยง่ั ยืน เปา้ ประสงค:์ ประชาชนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยต่อสุขภาพบนฐานการ เติบโตทางเศรษฐกจิ ท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม นโยบายการสร้างการเติบโตท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมเพอ่ื ความม่ังค่ังและยั่งยืน มุ่งให้ความสาคัญ ต่อการจัดการท่ีต้นทาง ด้วยการสร้างระบบการผลิตท่ีใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดของเสียและมลพษิ น้อยที่สุด โดยมุ่งเน้นให้เกิดการหมนุ เวยี นทรัพยากรและของเสียในระบบการผลิต และการบริโภคเพ่ือลดต้นทุนและเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรและของเสีย และยกระดับการจัดการสิ่งแวดล้อม เชิงพื้นท่ีโดยจัดรูปแบบการพัฒนาตามลักษณะทางกายภาพท่ีเป็นเอกลักษณ์และความสาคัญของพ้ืนท่ี เช่น พื้นท่ีเมือง แหล่งท่องเที่ยว และพื้นท่ีอุตสาหกรรม เป็นต้น ให้มีความเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งรักษา ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมศลิ ปกรรมให้คงอยู่ตลอดไป และมีความพร้อมรับมอื กับการเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศ โดยนโยบายท่ี ๒ ประกอบดว้ ย ๓ นโยบายย่อย ๔๒ แนวนโยบาย และ ๑๔ ตวั ชี้วัด ดงั น้ี ตวั ชีว้ ัดของนโยบายที่ ๒ ๒.๑ ปริมาณการบริโภคทรัพยากรในประเทศ (Domestic Material Consumption: DMC) ตอ่ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ (ลดลง) ๒.๒ สดั ส่วนการนาขยะกลับมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ (เพิ่มขนึ้ ) ๒.๓ ปริมาณขยะทเ่ี ข้าระบบกาจัดขั้นสุดทา้ ย (ตนั ) (ลดลง) ๒.๔ คุณภาพน้าในแหล่งน้าผวิ ดินและแหล่งนา้ ทะเลอยใู่ นเกณฑ์ดี (เพม่ิ ข้นึ ) ๒.๕ ดัชนขี องปรากฏการณ์ยูโทรฟเิ คชน่ั (Eutrophication) (ลดลง) ๒.๖ ความหนาแนน่ ของขยะพลาสติกในทะเลตอ่ ตารางกิโลเมตร (ลดลง) ๒.๗ ค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5 และ PM10) อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน (เพิม่ ข้นึ ) ๒.๘ มีกลไกและระบบบริหารจัดการสารเคมีของประเทศที่คุ้มครองสุขภาพและ ความปลอดภัยของประชาชนและสง่ิ แวดล้อม ๒.๙ จานวนเมอื งทเี่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม (เพ่มิ ขึน้ ) ๒.๑๐ สัดส่วนพ้ืนที่สีเขียวในเมืองเป็นไปตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก (๙ ตารางเมตร ตอ่ คน) ๒.๑๑ สัดสว่ นการใช้พลังงานหมุนเวียนตอ่ การใชพ้ ลงั งานขั้นสดุ ท้าย (ร้อยละ ๓๐) ๒.๑๒ สัดส่วนของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท่ีมีการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมบริเวณโดยรอบ (เพม่ิ ขนึ้ ) ๒.๑๓ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลงร้อยละ ๒๐ - ๒๕ จากปริมาณการปล่อย ในกรณปี กติ (Business As Usual: BAU) ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ๒.๑๔ จานวนประชากรท่ีเสียชีวิต สูญหาย และได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน (ลดลง) ๑๑๕
นโยบายที่ ๒.๑ สรา้ งระบบเศรษฐสงั คมทเี่ กื้อกูลและเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม การสร้างระบบเศรษฐสังคมที่เกื้อกูลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม ได้คานึงถึงการจัดการระบบเศรษฐกิจและสังคมในการผลิตและการบริโภคตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยให้มีการนาวัสดมุ าหมุนเวียนอย่างมีประสิทธิภาพ มีการนาของเสียกลับมาใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ปล่อยมลพิษและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยท่ีสุด รวมท้ังใช้ประโยชน์จาก วฏั จักรของธรรมชาติท่สี ามารถบาบัดและปรบั สมดลุ ไดด้ ้วยตัวเอง โดยมปี ระเด็นหลกั ท่ีสะทอ้ นถงึ ผลลัพธต์ ่อ คุณภาพส่ิงแวดล้อม ๔ ประเดน็ ได้แก่ การจัดการวสั ดแุ ละขยะ การจัดการคุณภาพน้า การจัดการคุณภาพ อากาศ และการจดั การความเสย่ี งจากสารเคมี และมี ๑๗ แนวนโยบาย (หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ ประกอบด้วย กค. กต. กษ. ทร. คค. ทส. มท. นร. วท. สธ. อก.) ๒.๑.๑ การจัดการวสั ดแุ ละขยะ ๒.๑.๑.๑ พัฒนาการออกแบบและเลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม โดยส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันให้ผู้ผลิตออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ งา่ ยต่อการบารุงรักษาและนากลับมาใชใ้ หม่ รวมถึงเลือกใช้วัตถุดบิ ที่เป็นวัสดุรีไซเคิล และท่ีไม่เป็นอนั ตราย ต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเป็นองค์ประกอบในผลิตภัณฑ์ หรือใช้วัตถุดิบน้อยลง รวมท้ังพัฒนาวัตถุดิบ ท่ีสามารถย่อยสลายได้เองทางชีวภาพในการผลิตสินค้าหรือบรรจุภัณฑ์ที่ ใช้ครั้งเดียวควบคู่กับการสร้าง แรงจูงใจท้ังทางตรงและทางอ้อมให้กับผู้ผลิตและผู้บริโภค ตลอดจนกาหนดให้หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้นาทาง การตลาด และให้มีการรับรองผลิตภัณฑ์โดยสถาบันท่ีได้มาตรฐานสากลเพ่ือสร้างความน่าเช่ือถือ และ ตัดสินใจในการเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค และพัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ให้ไดม้ าตรฐาน และมคี วามปลอดภัยต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม ๒.๑.๑.๒ ลดปริมาณการเกิดขยะหรือของเสียจากกระบวน การผลิตและการบริโภค โดยส่งเสริมให้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ตลอดห่วงโซ่การผลิต สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และคานึงถึงการนาของเสียจากกระบวน การผลิตไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงลดการปล่อยของเสียออกสู่ สิง่ แวดล้อม รวมทงั้ สนบั สนุนการผลติ สนิ คา้ และบรรจภุ ัณฑท์ ม่ี คี วามคงทน ใช้ซ้าได้หลายครงั้ และใชว้ ตั ถุดิบ น้อยลง และควบคุมบรรจุภณั ฑ์อาหารที่ใช้ไดเ้ พียงครั้งเดียว และบรรจุภัณฑส์ นิ คา้ ทฟ่ี ุ่มเฟือยเพ่ือลดการเกดิ ขยะ ตลอดจนพัฒนากลไกในการลดการเกิดขยะจากอาหารตั้งแต่ร้านค้าจนถึงครัวเรือน และสนับสนุนให้ เกิดตลาดแลกเปลีย่ นสนิ ค้าใช้แล้วทส่ี ามารถเขา้ ถงึ ไดง้ ่ายเพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชนจ์ ากสนิ คา้ สูงสุด และลด ปรมิ าณการเกิดขยะ ๒.๑.๑.๓ ส่งเสริมการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ โดยกาหนดให้มี ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ ข อ ง แ ต่ ล ะ อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มีประสิทธิภาพ และสร้างระบบเครือข่ายการเชื่อมโยงข้อมูลวัสดุท่ีคัดแยกระหว่างองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่ดีเพื่อให้เกิดการกระจายและแลกเปลี่ยนอย่างเป็นระบบ รวมท้ังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา ๑๑๖
ผลิตภัณฑ์จากวสั ดุใช้แล้วในเชิงพาณิชย์ และสร้างระบบตลาดท่ีมีประสิทธภิ าพเพื่อรองรับการบริโภคสินค้า จากวัสดุใช้แล้ว โดยกาหนดให้มีระบบการควบคุมมาตรฐานวัตถุดิบท่ีดีและเหมาะสมกับการนามาผลิตเป็น สินค้าใหม่ ตลอดจนพัฒนากฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการของภาครัฐให้เหมาะสมและ เอื้ออานวยต่อการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าจากวัสดุใช้แล้ว และสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบ ของกระบวนการรีไซเคิล และผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากวัสดุรีไซเคิลต่อส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ พรอ้ มทง้ั กาหนดแนวทางในการควบคุมและป้องกัน ๒.๑.๑.๔ ส่งเสริมการกาจัดขยะและของเสียอันตรายท่ี มี ประสิทธภิ าพ โดยการจัดการขยะ เร่งรัดให้มีการปรบั ปรุงและจัดการขยะตกค้างและบ่อฝงั กลบขยะเก่าให้มี การจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น นาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงพลังงาน เป็นต้น รวมถึงพัฒนาระบบการเก็บขนและรวบรวมขยะให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคเอกชน เข้ามาร่วมลงทุนในการจัดการขยะท่ีคานึงถึงการใช้ประโยชน์จากขยะอย่างคุ้มค่า ตลอดจนส่งเสริมการใช้ เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ประกอบการและประชาชนมีการจัดการขยะที่ เหมาะสม สว่ นการจัดการของเสียอันตราย โดยพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบการจดั การของเสยี อนั ตราย ซาก ผลติ ภัณฑเ์ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสจ์ ากชุมชน และของเสียจากเทคโนโลยใี หมๆ่ ทเ่ี กดิ ขึน้ ใน อนาคต และผลักดันการจัดต้ังศูนย์เรียนรู้การจัดการผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และศูนย์จัดการผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วม ลงทุน และสร้างความร่วมมือให้กับผู้ผลิตในการจัดการซากผลิตภัณฑ์อย่างเป็นระบบครบวงจร เพื่อให้เกิด การใช้ประโยชนท์ รพั ยากรธรรมชาติได้อยา่ งคุ้มค่าตลอดวัฏจักรวงจรชวี ิตผลิตภัณฑ์ ๒.๑.๑.๕ เพิ่มประสิทธิภาพการกากับดูแลให้มีการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ โดยสนับสนุนและส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามและเฝ้าระวังไม่ให้มีการ ลักลอบท้ิงกากของเสียอุตสาหกรรม และมูลฝอยติดเชื้อ การลักลอบนาเข้าขยะหรือสินค้าใช้แล้ว จากต่างประเทศเข้ามาในประเทศ พัฒนากฎระเบียบเพื่อควบคุม กากับดูแลให้ผู้ประกอบการที่เป็น ผู้ก่อให้เกิดขยะและกากของเสียอุตสาหกรรมมีการจัดการที่ถูกต้องโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังกาหนดเป็นเง่ือนไขในการอนุญาตการประกอบกิจการ และกาหนดให้มีการวางหลักประกัน ทางการเงินตามประเภทและขนาดของโรงงาน โดยครอบคลุมถึงการเลิกประกอบกิจการแล้ว รวมทั้ง สนับสนุนงบประมาณให้กับโครงการการพัฒนาและสร้างระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยต้ังแต่ต้นทาง จนถึง ปลายทาง ระบบการแปรรูปขยะเป็นวตั ถุดบิ และการใช้ประโยชน์จากขยะ โดยการจดั การข้ันสุดท้ายใหข้ ยะ ที่เหลืออยู่เป็นเฉพาะขยะท่ีไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แล้ว ต้องนาไปฝังกลบในบ่อฝังกลบขยะเท่านั้น ตลอดจนให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นดแู ลระบบและบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ และเรง่ รดั ให้มกี ารจดั เก็บคา่ บรกิ ารการจดั การขยะมูลฝอย ๑๑๗
๒.๑.๒ การจดั การคณุ ภาพน้า ๒.๑.๒.๑ ฟ้ืนฟูคุณภาพน้าตามธรรมชาติให้อยู่ในเกณฑ์ดี โดยรักษาวัฏจักรของน้าให้สามารถบาบัดด้วยตัวเองได้ตามธรรมชาติ และมององค์รวมของระบบน้า ท้ังทางด้านกายภาพและชีวภาพในเรื่องคุณภาพน้า ปริมาณน้า สิ่งมีชีวิตในน้า สภาพแวดล้อมของแหล่งน้า สภาพความแตกต่างของพ้ืนที่ เช่น พื้นท่ีชานเมือง อนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟูแหล่งนา้ ใหเ้ ป็นไปตามลักษณะทางธรรมชาติ และคงรักษาพ้ืนที่เกษตรและพื้นที่ปา่ ไม้เพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน้าและกรองน้าลงสู่น้าใต้ดิน พ้ืนท่ีในเขตเมือง ให้มีการจัดการระบบระบายน้าที่ดีโดยแยกน้าฝนและน้าเสีย รวมถึงการใช้ประโยชน์จากน้า และพ้ืนที่ ชายฝั่งทะเล พัฒนาและคุ้มครองชายหาดและปา่ ชายเลนเพือ่ เปน็ เครือ่ งกรองความสกปรกของน้ากอ่ นลงสทู่ ะเล เป็นตน้ รวมท้งั พฒั นาพ้ืนทชี่ ายฝั่งโดยคานึงถึงความสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพการจัดการคณุ ภาพนา้ ในพนื้ ที่ ๒.๑.๒.๒ ลดความเข้มข้นของมลสารในน้าจากการดาเนินกิจกรรม ต่างๆ โดยส่งเสริมให้มีการหมุนเวียนการใช้น้าภายในของแหล่งกาเนิดมลพิษเพ่ือลดการปล่อยมลพิษ สู่สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารขนาดใหญ่ และส่งเสริมการทาเกษตรกรรมที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น จัดให้มีบ่อพักน้าสาหรับการหมุนเวียนน้าเพื่อการเกษตรและลดการปนเป้ือน ของมลพิษลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ และลดการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี เป็นต้น รวมท้ังพัฒนามาตรการ สนับสนุน เชน่ มาตรการทางการเงิน และมาตรการทางการตลาด ฯลฯ และมีมาตรการเฉพาะเพิม่ เติม เช่น ลดการท้ิงของเสียจากการประกอบอาหารลงสู่ท่อระบายน้า เป็นต้น ตลอดจนพัฒนากฎระเบียบและ กาหนดการจดั สรรงบประมาณเพื่อสนบั สนุนให้เหมาะสม รวมถึงเร่งรัดใหม้ กี ารจดั เกบ็ ค่าธรรมเนยี มจากการ ปล่อยมลพิษส่สู ง่ิ แวดล้อม ๒.๑.๒.๓ ส่งเสริมให้มีการบาบัดน้าเสียท่ีมีประสิทธิภาพ โดย ผลักดันให้มีการจัดการน้าเสียจากครัวเรือน ร้านอาหาร และอาคารก่อนปล่อยทิ้งลงสู่สาธารณะ สนับสนุน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีระบบรวบรวมน้าเสียให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีตามความเหมาะสม และมีระบบ บาบัดน้าเสียที่เหมาะสมกับศักยภาพของพ้ืนท่ีและมีความคุ้มค่า เช่น ชุมชนท่ีอยู่อาศัยแบบกระจายตัวควร ส่งเสริมการใชถ้ ังบาบัดเฉพาะแห่งหรือถังบาบัดแบบรวมกลุ่มอาคาร หรือชมุ ชนเมืองควรส่งเสริมให้มีระบบ บาบัดน้าเสียรวมแบบแยกท่อรวบรวมน้าเสียกับน้าฝน และให้มีการหมุนเวียนน้ากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เปน็ ต้น รวมทงั้ เรง่ รดั ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ มกี ารจัดเกบ็ ค่าบริการบาบัดนา้ เสีย ๒.๑.๒.๔ ดูแลรักษาคุณภาพน้าทะเล โดยพัฒนากลไก และ มาตรการการติดตาม ตรวจสอบ และการควบคุมการปล่อยของเสียจากการดาเนินกิจกรรมทางทะเล เช่น เรือบรรทุกสินค้า ขยะหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากเคร่ืองมือทาการประมง น้ามันเคร่ืองยนต์จากเรือ และ แทน่ ขุดเจาะน้ามนั ในทะเล เปน็ ตน้ เพือ่ ใหน้ ากลับมากาจัดตามกระบวนการที่ถูกต้องบนบก รวมทั้งพฒั นากลไก ในการป้องกันขยะ สารอาหาร สารเคมี และตะกอนดินจากกิจกรรมการพัฒนาบนฝั่งที่จะไหลลงสู่ทะเล และ สง่ เสรมิ ให้มีการรักษาความสะอาดบรเิ วณชายหาดอย่างสมา่ เสมอและต่อเน่ือง ๒.๑.๒.๕ สร้างระบบการติดตามคุณภาพน้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลักดันให้มีระบบการติดตามคุณภาพแหล่งน้าที่สาคัญ และท่ีสามารถรายงานผลและประมวลผล ๑๑๘
อัตโนมัติ รวมท้ังส่งเสริมการศกึ ษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของนักวิจัยประเทศไทยเพื่อการพฒั นาอุปกรณ์ มารองรับ และพัฒนากระบวนการตรวจสอบการปล่อยน้าเสียให้เกิดความโปร่งใสเพื่อลดความขัดแย้ง ระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในสังคม โดยสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานร่วมกับ หน่วยงานทอ้ งถิ่น ๒.๑.๓ การจัดการคุณภาพอากาศ ๒.๑.๓.๑ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั การคุณภาพอากาศ โดยพัฒนา มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ และมาตรฐานการปล่อยมลพิษจากแหล่งกาเนิด ตามหลักการ ขีดความสามารถของพื้นที่ในการรองรับมลพิษ (Assimilative Capacity) เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ของประชาชนและรักษาสมดุลของชั้นบรรยากาศที่จะไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะเขตพืน้ ท่ีพเิ ศษที่มีปญั หาด้านมลพิษทางอากาศ รวมท้ังทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานการปล่อย มลพษิ จากแหล่งกาเนิดท่ีเข้มข้นข้ึน ปรับปรุงมาตรฐานมลพิษจากยานพาหนะให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และพัฒนาเครือข่ายการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศให้ครอบคลุมประเภทมลพิษทางอากาศที่มี ผลกระทบเพื่อควบคุม เฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเชื่อมโยงเครือข่าย การแสดงข้อมูลแบบตอ่ เนอื่ ง (Real time) และรายงานสู่สาธารณะให้รบั ทราบ ๒.๑.๓.๒ ลดปริมาณการปล่อยมลพิษทางอากาศจากการดาเนิน กจิ กรรมตา่ งๆ โดย ๑) ส่งเสริมและสนับสนุนภาคการผลิต โดยภาค อุตสาหกรรม ให้เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ลดการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศ และหมุนเวียนมลสารและ ความร้อนในอากาศท่ีปล่อยทิ้งให้กลับมาใชป้ ระโยชน์ ส่วนภาคเกษตรกรรม ให้มีการหมุนเวียนวัสดุอินทรีย์ จากการเกษตรกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น ทาปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น โดยควบคุมไม่ให้มีการเผาในที่โล่งและลด การใช้สารเคมี พร้อมท้ังพัฒนาเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสร้างแรงจูงใจ และมาตรการทางสังคมเพื่อ สนับสนุนให้เกิดอุปสงค์ในภาคบริโภค รวมท้ังสนับสนุนการรวมกลุ่มของผู้ผลิตเพ่ือให้เกิดการถ่ายทอด องคค์ วามรู้ การใชท้ รัพยากรรว่ มกนั และเพ่มิ ความเขม้ แข็งทางการตลาด ๒) ส่งเสริมการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นการคมนาคม ขนส่งท่ีใช้พลังงานและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย โดยสร้างทางเลือกและโครงสร้างสนับสนุนในการ เดินทางและขนส่งสินค้าที่สอดคล้องกับระยะทางและมีประสิทธิภาพ เช่น การพัฒนาระบบราง การขนส่ง ทางน้าและทางอากาศ และการใช้จักรยานและพัฒนาเส้นทางเดินเท้า เป็นต้น รวมทั้งส่งเสริมการใช้ ยานพาหนะท่ีขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า พร้อมทั้งเตรียมการจัดหาแหล่งพลังงานไฟฟ้าพร้อมสถานี เติมประจุไฟฟ้าควบคู่ไปด้วย โดยส่งเสริมพลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนเป็นหลักท่ีคานึงถึง ความสมดลุ ของความมนั่ คงทางอาหารและพลังงาน และต้นทนุ คา่ ไฟฟา้ ๒.๑.๓.๓ สนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งของความร่วมมือ ระหว่างประเทศด้านมลพิษข้ามแดน โดยพัฒนาและสร้างแนวทางความร่วมมือในการดาเนินการเพ่ือลด ๑๑๙
การปล่อยมลพิษทางอากาศ และเพิ่มบทบาทในการมีส่วนร่วมและการแลกเปล่ียนแนวทางการดาเนินงาน ร่วมกับประชาคมโลก รวมท้งั ยกระดบั การจดั การปัญหามลพิษข้ามแดนกบั ประเทศอาเซยี นอยา่ งจรงิ จงั ๒.๑.๔ การจดั การความเส่ยี งจากสารเคมี ๒.๑.๔.๑ พัฒนากลไกและเครื่องมือการบริหารจัดการเพื่อควบคุม สารเคมีตลอดวงจรชีวิต โดยส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารเคมีให้ครอบคลุมรายชนิดของ สารเคมี และเป็นระบบฐานข้อมูลกลางต้งั แตข่ ้อมูลการนาเข้า สง่ ออก การผลติ การจดั การ การบาบดั การกาจัด และทาลายเพ่ือการติดตามและเฝ้าระวังผลกระทบจากสารเคมีต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม รวมท้ังพัฒนา กลไกและมาตรการเพ่ือการมีส่วนร่วมในการติดตาม และเฝ้าระวัง รวมถึงการควบคุมและจัดการสารเคมี อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๒.๑.๔.๒ ลดความเส่ียงจากการใช้สารเคมี โดยสง่ เสริมการใชส้ ารเคมี ในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคการบริโภคและสาธารณสุข และภาคการขนส่ง ท่ีถูกวิธีและ ปลอดภยั ลดหรอื เลิกการใช้สารเคมีทม่ี คี วามเส่ียงสงู และควรมีมาตรการทเ่ี ขม้ งวดในการควบคมุ การจาหน่าย รวมท้ังจากัดหรือยกเลิกการใช้และนาเข้าสารเคมีที่มีความเสี่ยงสูง พร้อมท้ังให้แสดงข้อมูลความปลอดภัย และการกาจัดอย่างถูกวธิ ีบนฉลากผลติ ภณั ฑ์ตามมาตรฐานสากล ๒.๑.๔.๓ เพ่ิมประสิทธิภาพการกากับดูแล โดยพัฒนาระบบ การติดตาม ตรวจสอบสินค้าและผลิตภัณฑ์ให้ปลอดภัยต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม รวมถึงควบคุมดูแล การประกอบกิจการท่ีใช้สารเคมซี ่ึงอาจเป็นอันตรายตอ่ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม รวมทงั้ เฝ้าระวังระดับมลพิษ จากสารเคมีท่ีเป็นจุดกาเนิดมลพิษและในส่ิงแวดล้อม ตลอดจนเพ่ิมช่องทางการให้ความรู้ ความเข้าใจ และ ข้อมลู ข่าวสารแกป่ ระชาชน และชอ่ งทางการรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นของผบู้ ริโภคท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากสารเคมี ๒.๑.๔.๔ ส่งเสริมให้มีการจัดต้ังห้องปฏิบัติการที่ทันสมัยและ เป็นมาตรฐานสากล ท้ังในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อตรวจวิเคราะห์หาปริมาณสารอันตรายได้เอง ภายในประเทศ และเพอ่ื ลดการส่งไปตรวจยังต่างประเทศ และสามารถวัดความเข้มข้นที่มีความละเอียดสูง รวมท้ังยกระดับการรบั รองมาตรฐานหอ้ งปฏบิ ัติการใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรับของสากล นโยบายท่ี ๒.๒ ยกระดับการพัฒนาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมตามลกั ษณะพน้ื ท่ี การพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามลักษณะพ้ืนที่ ได้คานึงถึงความสาคัญ ของพื้นที่ที่จะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาในอนาคต ซ่ึงจะมีบทบาทหน้าท่ีและความสัมพันธ์ท่ีหลากหลาย และซับซอ้ นข้ึน และจาเปน็ ต้องใช้รูปแบบการจัดการแบบสหวิทยาการและมีการบูรณาการร่วมกนั โดยจะมี รูปแบบท่ีแตกต่างกันไปตามลักษณะความสาคัญของพื้นท่ี ประกอบด้วย สิ่งแวดล้อมเมือง แหล่งท่องเที่ยว และพื้นท่ีอุตสาหกรรม รวมทั้งส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และความปลอดภัยของประชาชน ตลอดจนการสร้างภูมิคุ้มกันเพ่ือรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ โดยมีประเด็นหลักตามลักษณะพ้ืนท่ี ๔ ประเด็น ได้แก่ การจัดการส่ิงแวดล้อม เมือง การจัดการส่ิงแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยว การจัดการส่ิงแวดล้อมพ้ืนท่ีอุตสาหกรรม และการจัดการ ๑๒๐
ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มศลิ ปกรรม และมี ๑๗ แนวนโยบาย (หน่วยงานรับผิดชอบ ประกอบด้วย กก. กค. คค. ดศ. ทส. นร. พน. มท. วธ. อก.) ๒.๒.๑ การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเมอื ง ๒.๒.๑.๑ จัดระเบียบการใช้ประโยชน์ท่ีดินและการขยายตัวของ เมืองให้เหมาะสม โดยเร่งรัดและทบทวนการจดั วางผังเมืองให้สอดคล้องกับศักยภาพของพ้ืนท่ที ั้งในปจั จุบนั และอนาคต การขยายตัวของเมืองและชุมชน และการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต รวมถึงวางแผนการเป็น สังคมผู้สูงอายุ และรองรับต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ โดยผสมผสานกับ วัฒนธรรมเชิงสังคมและระบบนิเวศ และให้ประชาชนมีส่วนร่วม รวมท้ังให้ผังเมืองมีผลบังคับใช้อย่าง เครง่ ครัดและมปี ระสิทธิภาพ ๒.๒.๑.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเมืองในรูปแบบ ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยวางแผนการพัฒนารูปแบบการขนส่งสาธารณะท้ังระบบราง ทางถนน ทางน้า ทางจักรยานและทางเท้าให้เป็นระบบขนส่งที่ใช้พลังงานต่าและเชื่อมโยงหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) และพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าให้รองรับไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียนของอาคารและ บ้านเรือน รวมถึงระบบเครือข่ายการเข้าถึงสัญญาณอินเตอร์เน็ตท่ีรวดเร็วและครอบคลุมทุกพื้นที่ รวมทั้ง พัฒนารูปแบบการก่อสร้างและปรับปรุงอาคารและที่อยู่อาศัยให้เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองอย่างบูรณาการภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยใช้รูปแบบการจัดการขยะ และการจัดการน้าเสียอย่างครบวงจร ตามแนวทางการหมุนเวียนวัสดุท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตลอดจน พัฒนากฎระเบียบและมาตรการแรงจูงใจเพ่ือให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนา พ้ืนท่ีอย่างเหมาะสมและ มปี ระสทิ ธิภาพ โดยส่งเสริมการใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๒.๑.๓ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของเมืองให้รองรับกับ ความต้องการและการดาเนินชีวิตของประชาชนเพื่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดี และรองรับการเป็นสังคม ผู้สูงอายุ โดยจัดหาและเพิ่มพื้นท่ีสาธารณะ สวนสาธารณะ และพื้นท่ีอื่นๆ ที่สามารถพักผ่อนหย่อนใจหรือ ออกกาลังกายได้ รวมถึงเพ่ิมเส้นทางการเดินทางท่ีไม่ใช้เครื่องยนต์ในรูปแบบต่างๆ เช่น เดิน ว่ิง และจักรยาน หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ชนิดอ่ืน เป็นต้น โดยสร้างจุดดึงดูดของเส้นทาง เช่น พัฒนาเส้นทางเช่ือมโยง ไปสู่สถานที่สาคัญ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ระหว่างเส้นทาง มีความร่มร่ืน มีสิ่งอานวยความสะดวก และมี ความปลอดภัย เป็นต้น เพ่ือลดการใช้พลังงาน และยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน และเพ่ิม ประสิทธภิ าพการทางานซง่ึ จะสง่ ผลดีตอ่ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ๒.๒.๑.๔ เพิ่มพื้นท่ีสีเขียวในเมือง โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ ชมุ ชนเมอื งมีส่วนร่วมในการจดั การพ้นื ทส่ี ีเขียวในเมืองท้ังแนวราบและแนวสูง รวมถึงบนหลังคาอาคาร และ ป่าไม้ในเมืองเพื่อเพ่ิมคณุ ภาพชีวิตของสงั คมเมือง และเปน็ พนื้ ทซ่ี บั นา้ และชะลอน้าฝน รวมทั้งสนับสนุนการ ทาสวนเกษตรแนวต้ังในเขตเมอื ง และคุ้มครองพน้ื ทีส่ ีเขยี วรอบเมอื งและพืน้ ทเี่ กษตรกรรมรอบชานเมอื งเพื่อ เปน็ พ้นื ทแี่ นวกันชนรอบเมืองและปอ้ งกนั การขยายตัวของเมืองอยา่ งไม่เปน็ ระบบ ๑๒๑
๒.๒.๑.๕ พัฒนามาตรฐานและรูปแบบของเมืองที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม พร้อมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเมืองสีเขียวและขยายรูปแบบการพัฒนาเมืองที่มีการ ดาเนินการนาร่องอยู่แล้ว อาทิ เมืองน่าอยู่ เมืองคาร์บอนต่า หรือเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ให้มีความพร้อมและ มีศักยภาพสู่มาตรฐานของเมืองท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยสนับสนุนการจัดทารายการมาตรฐานตัวชี้วัด เมืองท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และจัดทาทาเนียบเมืองที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย พร้อมทั้ง ให้มีการเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะอย่างสม่าเสมอ รวมท้ังผลักดันให้ประเทศไทยเป็นผู้นาด้านสิ่งแวดล้อม เมืองที่ยงั่ ยนื ของอาเซยี น ๒.๒.๒ การจดั การส่ิงแวดลอ้ มแหลง่ ท่องเทย่ี ว ๒.๒.๒.๑ พฒั นาและส่งเสริมการท่องเท่ียวท่ีเป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม โดยสร้างแรงจูงใจในภาคการท่องเท่ียวและบริการท่ีเก่ียวข้องให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการปล่อยมลพิษ และลดการใช้วัสดุและสารอันตรายต่อส่ิงแวดล้อม รวมถึงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมในพื้นที่ พัฒนาเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมไว้ในมาตรฐานการท่องเที่ยวด้วยการมอบใบรับรอง และการให้สิทธิพิเศษ เช่น การลดหย่อนภาษี เป็นต้น แก่ผู้ประกอบการที่ดาเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อม ๒.๒.๒.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการการท่องเท่ียว อยา่ งยงั่ ยนื โดยสร้างการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและชมุ ชนในพื้นที่ให้มีการประยกุ ต์ใชเ้ กณฑ์มาตรฐานการ ท่องเที่ยวที่ย่ังยืนของโลก (Global Sustainable Tourism Criteria: GSTC) ที่สอดคล้องกับบริบทของ ประเทศไทย รวมท้ังพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนให้แก่ผู้ประกอบการ พนักงานในสถานประกอบการธุรกิจท่องเท่ียว และชุมชนในพ้ืนท่ีให้ได้การรับรองมาตรฐานในระดับภูมิภาค อาเซียน และระดับสากล ตลอดจนกาหนดมาตรการจงู ใจแก่ผ้ปู ระกอบการท่ีได้รบั รองมาตรฐาน ๒.๒.๒.๓ ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเท่ียว อย่างย่ังยืน โดยให้มีการพัฒนาระบบการจัดการขยะมูลฝอย ระบบบาบัดน้าเสียในแหล่งท่องเท่ียว และ การเดินทางที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมท่ีสอดคล้องกับบริบทและอัตลักษณ์ของพ้ืนที่ รวมทั้งกาหนดปริมาณ นักท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับศักยภาพของแหล่งท่องเท่ียว โดยเจ้าของแหล่งท่องเท่ียวหรือประชาชน ในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการวางแผนและการดาเนินการ รวมถึงการจัดสรรผลประโยชน์ ที่ได้จาก การท่องเทีย่ วอย่างเป็นธรรม ๒.๒.๓ การจดั การส่งิ แวดลอ้ มพน้ื ทอ่ี ตุ สาหกรรม ๒.๒.๓.๑ กาหนดเขตและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็น สัดส่วนและชัดเจนผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม โดยบังคับใช้มาตรการทางผังเมืองให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และกาหนดแนวพื้นท่ีกันชนระหว่างพื้นท่ีอุตสาหกรรมกับพื้นที่ชุมชนให้ชัดเจนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม เพือ่ ลดความขัดแยง้ ระหว่างภาคอุตสาหกรรมกบั เกษตรกรรมและชมุ ชน และป้องกันการขยายตัวเพ่ือไมใ่ ห้มี การบุกรกุ เข้าไปในพน้ื ทเี่ กษตรกรรมและพนื้ ท่ีชุ่มน้าหรือพนื้ ที่รบั น้า ๑๒๒
๒.๒.๓.๒ สนับสนุนการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมท่ีมีกระบวนการ ผลิตเชื่อมต่อกันเพ่ือลดการเกิดของเสียให้เหลือน้อยท่ีสุดและปล่อยมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อมน้อย โดยส่งเสริมการลงทุน เพ่ิมชอ่ งทางการอานวยความสะดวกให้มีประสิทธภิ าพ จัดวางผังพื้นที่เฉพาะเพ่อื การ อตุ สาหกรรมและใหม้ กี ารบังคับใช้ รวมท้ังเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นร่วมของประชาชนและชุมชนท้องถน่ิ ๒.๒.๓.๓ สร้างระบบกลไกและเครือข่ายการตรวจสอบท่ีเข้มแข็ง ตลอดห่วงโซ่มูลค่าอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมตั้งแต่ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการ โดยวางระบบมาตรฐานที่มีการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ท่ีมีประสิทธภิ าพเพ่ือส่งเสริมให้เกิดการ จัดการวัตถุดิบต้นน้าในภาคเกษตรกรรมจนถึงภาคบริการขนส่งและกระจายสินค้าปลายน้า การพัฒนา ระบบการรายงานการปลดปล่อย การเคล่ือนย้าย การกาจัด หรือบาบัดมลพิษจากอุตสาหกรรม ให้มี ประสิทธิภาพ รวมทั้งการเปิดเผยข้อมลู ตอ่ สาธารณะอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๒.๒.๓.๔ สร้างระบบการจัดการควบคุมความเสี่ยงและระงับเหตุ ฉุกเฉินในระดับพ้ืนท่ี โดยผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการประเมินความเส่ียงท้ังด้านสุขภาพ เชิงพ้ืนที่ การจัดลาดับความสาคัญ การกากับดูแลความเส่ียงจากการร่ัวไหลของสารเคมี การเกิดอัคคีภัย และเหตุการณ์อื่นๆ พร้อมทั้งให้มีการจัดทารายงานการประเมินความเป็นอันตรายของสารเคมีและประเมนิ โอกาสรับสัมผัส รวมท้ังพัฒนาระบบการประกันความเสี่ยงของโรงงานอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือเยียวยาแก่ผู้ได้รับผลกระทบในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินด้านสิ่งแวดล้อม และสามารถจัดการกับมลพิษ ทถี่ กู ปล่อยหรอื รั่วไหลออกสูส่ าธารณะได้ทนั ที เชน่ การวางเงนิ ประกนั ความเสยี่ ง เป็นตน้ ๒.๒.๓.๕ สนับสนุนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) โดยกาหนดให้มีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) เพ่ือการวางผังเมืองท่ีเหมาะสม รวมถึงสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจพร้อมกับ ความเจริญของชุมชนและการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีอย่างสมดุล รวมทั้งกาหนดกลไกการสื่อสารกับ ทุกภาคส่วนในพนื้ ที่ และสร้างความเข้าใจกับชุมชนให้เกิดการยอมรับร่วมกันก่อนจะมีการจัดต้ังหรือพัฒนา พ้นื ทเ่ี มืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ ๒.๒.๔ การจัดการส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมศิลปกรรม ๒.๒.๔.๑ ฟ้ืนฟแู ละอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม ศิลปกรรม โดยกาหนดและวางผังสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม รวมถึงกากับการใช้ที่ดิน โดยรอบใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั ศักยภาพการรองรบั ของพน้ื ท่ีเพอื่ ให้เกดิ การพฒั นาอย่างยั่งยนื ๒.๒.๔.๒ กากับดูแลแหล่งมรดกที่ไดร้ ับการข้ึนทะเบียนเป็นแหล่ง มรดกทางธรรมชาตแิ ละทางวัฒนธรรมของประเทศ และของโลก รวมถึงพ้ืนที่แนวกันชนให้ไดร้ ับการบรหิ าร จัดการเป็นไปตามมาตรฐานและย่ังยืน โดยมีกลไกการจัดการแบบมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็ง และภาคส่วนที่ เก่ียวข้องให้การสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง รวมทั้งเร่งจัดทาทะเบียนแหล่งมรดกทางธรรมชาติ และ ๑๒๓
ทางวฒั นธรรมของชาติ เพื่อพฒั นาให้ไดม้ าตรฐานและยั่งยืน และเปน็ การควบคุมและป้องกันการถูกบกุ รุกและ ทาลาย ๒.๒.๔.๓ สร้างกลไกการมีส่วนร่วม โดยสนับสนุนบทบาทของ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและชมุ ชนในการร่วมอนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟู บารุงรักษาและพัฒนาส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม แหล่งธรณีวิทยา และแหล่งมรดกทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมของประเทศและ ของโลก รวมทั้งสนับสนุนบทบาทของประชาชน เยาวชน และสถานศึกษาในท้องถ่ินในการเข้าถึง การใช้ประโยชน์จากส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ในรูปแบบท่ีส่งเสริมการเรียนรู้อย่าง สร้างสรรค์ และคานึงถงึ การรักษาคณุ คา่ ของสง่ิ แวดล้อมธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมศลิ ปกรรม ๒.๒.๔.๔ สร้างเคร่ืองมือเพ่ือยกระดับการจัดการส่ิงแวดล้อม ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม โดยผลักดันให้มีการออกกฎ หลักเกณฑ์ และกฎหมายเพ่ือคุ้มครอง ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม และกาหนดมาตรการจูงใจให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และประชาชนท่ีมีการดูแลและจัดการส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม ทีด่ ี เช่น การจัดทาทาเนยี บนาม การมอบรางวลั หรือประกาศนยี บตั ร เปน็ ตน้ นโยบายที่ ๒.๓ สร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมการ พัฒนาแบบคารบ์ อนตา่ การสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริม การพัฒนาแบบคาร์บอนตา่ ได้คานึงถึงการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับสภาพภมู ิอากาศและภยั ธรรมชาติ ท่ีมีความแปรปรวนและเกิดข้ึนอย่างรุนแรงและบ่อยคร้ังขึ้น จนสร้างความเสียหายในทรัพย์สินและการสูญเสีย ชีวิตของประชาชน รวมทั้งปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพ่ือลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกในรูปคาร์บอนเทียบเท่า ผสมผสานกับการดาเนินการเพื่อดูดกลับก๊าซเรือนกระจกให้ สามารถปรับสมดุลการปล่อยและการดูดกลับเพ่ือมุ่งสู่การพัฒนาแบบคาร์บอนต่า โดยมี ๒ ประเด็นหลัก ได้แก่ การปรับตัวเพ่ือสร้างความพร้อมในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ และการลดก๊าซเรือนกระจกและการส่งเสริมการเติบโตที่ปล่อยคาร์บอนต่า และมี ๘ แนวนโยบาย (หน่วยงานรับผิดชอบ ประกอบด้วย กค. คค. ดศ. ทส. นร. พน. มท. ศธ. อก.) ๒.๓.๑ การปรับตัวเพ่ือสร้างความพร้อมในการรับมือต่อการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศและภยั ธรรมชาติ ๒.๓.๑.๑ พัฒนาและยกระดับฐานความตระหนักรู้และความเข้าใจ แก่ประชาชนและทกุ ภาคสว่ นที่เกยี่ วขอ้ ง โดยสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจถึงความเสย่ี งและโอกาสในอนาคตจาก ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคมและประชาชน และสร้างความพร้อมในการร่วมขับเคลื่อนการดาเนินการปรับตัวต่อการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ เชน่ การกาหนดเนื้อหาการศึกษาด้านการปรับตัวตอ่ ผลกระทบจาก การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นวิชาหลักในหลักสูตรสาระแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมและ ๑๒๔
สนับสนุนการจัดกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสถานศึกษา และการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เก่ียวกับผลกระทบจากความเสี่ยง และการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับผลกระทบจากการ เปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เป็นต้น ๒.๓.๑.๒ ส่งเสริมและสนับสนนุ การศึกษาวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลกลางด้านการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ โดยสนับสนุนให้มี การศึกษา รวบรวมและถอดบทเรียนองค์ความรู้และวิธีปฏิบัติท่ีดีท่ีมีอยู่ (Best Practices) การศึกษาวิจัย และพัฒนาความรู้ รวมถึงเทคโนโลยีด้านการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งการดาเนินงานที่จะ สนับสนุนการตัดสินใจในเชิงนโยบายและการดาเนินงานต่าง ๆ ภายใต้กรอบการดาเนินงานด้านการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ เช่น การจัดตั้งศูนย์ฐานข้อมูลกลางและพัฒนาระบบการเตือนภัย ล่วงหน้า (Early Warning System) ด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ ศูนย์ศึกษาวิจัยและ พัฒนาองค์ความรู้ด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรม ด้านการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยควรจัดต้ังศูนย์ฯ ท่ีอยู่ภายใต้การกากับ ดแู ลของหน่วยงานและองคก์ รทม่ี ีอยใู่ นปัจจบุ ัน ๒.๓.๑.๓ ขับเคลื่อนการดาเนินการด้านการปรับตัวต่อผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ โดยมุ่งเน้นการดาเนินการที่สาคัญ ๔ ด้าน คือ ๑) การ บรู ณาการแนวทางการดาเนินงานด้านการปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศให้เป็นประเด็นสาคัญ ของทุกกระทรวงท่ีเกี่ยวข้องทั้งในกระบวนการจัดทานโยบาย แผน และยุทธศาสตร์กระทรวงในทุกระดับ และในขั้นตอนการปฏิบัติการรายแผนงาน/โครงการในระดับท้องถ่ิน ๒) การพัฒนากลไกสนับสนุน การดาเนินการขับเคลื่อนท้ังด้านการสนับสนุนงบประมาณ การปรับปรุงแก้ไขระเบียบและข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการเชิงสถาบัน ๓) การสนับสนุนบทบาทภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน การดาเนินงานโดยเน้นประโยชน์ท่ีได้รับในเชิงเศรษฐศาสตร์จากการดาเนินงาน และ ๔) การประสาน ความร่วมมือในระดับนานาชาติและองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณ์ องคค์ วามรู้ และขอรับการสนบั สนุนทง้ั ดา้ นการเงิน ความเช่ียวชาญ การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการพัฒนา บคุ ลากรภายในประเทศ ๒.๓.๑.๔ พัฒนาระบบและกลไกการติดตามตรวจสอบและ ประเมินผลการดาเนินงาน โดยใหม้ ีการประเมินความสาเร็จและขอ้ จากดั จากการดาเนินงานด้านการปรับตัว ตอ่ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งจัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนเพ่ือการจัดทาข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุงและจัดทาแผนการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ และการดาเนินงานในเชิง นโยบายและการปฏิบัติท่ีเก่ียวข้องให้มีความเหมาะสม ตลอดจนให้มีการเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะเพ่ือให้ ได้รับทราบรว่ มกนั ถงึ ความก้าวหนา้ การดาเนินงานของประเทศไทยในเวทนี านาชาติ ๑๒๕
๒.๓.๒ การลดก๊าซเรือนกระจก และการส่งเสริมการเติบโตท่ีปล่อย คารบ์ อนต่า ๒.๓.๒.๑ ขับเคลื่อนการดาเนินการด้านการลดก๊าซเรือนกระจก โดย ๑) ภาคพลังงานและคมนาคมขนส่ง ให้ลดสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลและเพ่ิมสัดส่วนการใช้ พลังงานหมุนเวียน สนับสนุนการอนุรักษ์และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ การผลิต ไฟฟ้า การใช้พลังงานในครัวเรือน การใช้พลังงานในอาคารเชิงพาณิชย์ การใช้พลังงานในอุตสาหกรรม การผลิต และการใช้พลังงานในการคมนาคมขนส่ง รวมท้ังเพิ่มประสิทธิภาพการเดินทางและขนส่งด้วย การจัดการอุปสงค์การเดินทางตามแนวทางการจัดการการคมนาคมขนส่งที่ย่ังยืน เช่น การส่งเสริมระบบ การขนส่งสาธารณะท้ังในเขตเมืองและระหว่างเมือง การเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ (Non-Motorized Transport: NMT) เป็นต้น ๒) กระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภณั ฑ์ สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง กระบวนการผลิตทางอตุ สาหกรรมทีส่ ่งผลให้เกิดการลดก๊าซเรือนกระจก เช่น การทดแทนปนู เม็ด และการทดแทน หรือปรับเปล่ียนสารทาความเย็น เป็นต้น และส่งเสรมิ การลงทุนในภาคอตุ สาหกรรมที่ปล่อยคาร์บอนต่าและ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ๓) การจัดการของเสีย สนับสนุนการจัดการของเสียแบบครบวงจร ที่คานึงถึง การจัดการตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ โดยมุ่งเน้นการลดปริมาณของเสียจากแหล่งกาเนิดควบคู่กับ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการของเสีย ๔) การเกษตรและป่าไม้ เน้นการปรับตัวต่อผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และก่อใหเ้ กิดประโยชนร์ ่วมด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถงึ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ รวมทั้งมุ่งเน้นการอนุรักษ์ การเพ่ิมพื้นท่ีป่า และการเร่ง ฟน้ื ฟพู ้ืนที่ป่าท่ีเสื่อมโทรมเพื่อเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน และ ๕) การจัดการเมือง เน้นการเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียว เพื่อเป็นแหล่งดูดซับมลพิษและแหล่งกักเก็บคาร์บอน รวมถึงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรม การพัฒนาต่างๆ ในเมืองหลักของประเทศ ตามแนวทางการจัดการเมอื งอยา่ งยัง่ ยนื ๒.๓.๒.๒ สร้างความตระหนักและพัฒนาศักยภาพเพื่อการมีส่วนร่วม ในการลดก๊าซเรือนกระจก โดยสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักตอ่ ปญั หาการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วนและทุกระดับ รวมท้ังสร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหาด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการลดก๊าซเรือนกระจก เพ่ือมุ่งหมายให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมท่ีจะนาไปส่กู ารดาเนินวิถชี วี ติ แบบคาร์บอนตา่ ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพแก่ภาครฐั ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ควบคู่กับการดาเนินมาตรการสนับสนุนต่างๆ ที่เอื้ออานวยต่อ ภาคสว่ นเหล่านีใ้ นการมีส่วนรว่ มในการลดก๊าซเรือนกระจก ๒.๓.๒.๓ เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้เคร่ืองมือและกลไกในการ ดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจก โดยส่งเสริมการใช้เครื่องมือและกลไกต่างๆ ได้แก่ ๑) กลไกทางการเงิน โดยสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานให้ครอบคลุมการดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจก รวมถึง พิจารณาการจัดสรรงบประมาณในรูปแบบบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขอรับการสนับสนุนทางการเงินภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ UNFCCC ได้แก่ Green Climate Fund และกองทุนส่ิงแวดล้อมโลก หรือการขอรับการสนับสนุน ๑๒๖
จากต่างประเทศในรูปแบบพหุภาคีหรือทวิภาคี และการเพ่ิมบทบาทของกองทุนส่ิงแวดล้อมหรือปรับ กฎระเบียบของกองทุนสิ่งแวดล้อมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถขอรั บเงินสนับสนุนในการดาเนินการ ลดก๊าซเรือนกระจกได้ ๒) การสร้างแรงจูงใจ โดยให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกอบการ เช่น สิทธิประโยชน์ ทางภาษีต้นทุน และการยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับเคร่ืองจักร/วัสดุและอุปกรณ์สาหรับกระบวนการทางาน ท่ีลดก๊าซเรือนกระจก เป็นต้น หรืออาจเป็นมาตรการท่ีไม่ใช่การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น การให้รางวัลหรือ การประกาศเกียรติคุณ รวมทั้งการใช้เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์เพอ่ื สนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจก และสร้าง แรงจูงใจในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม เช่น การใช้เกณฑ์มาตรฐานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการติดฉลาก อุปกรณ์ การจัดเก็บภาษีมลพิษ การเก็บค่าธรรมเนียมในการใช้สินค้าท่ีก่อมลพิษสูง การจัดเก็บค่าธรรมเนียม ผลิตภณั ฑ์ ระบบมัดจา - คืนเงนิ (Deposit - Refund System) บรรจุภณั ฑ์ต่างๆ เป็นต้น ๓) การสนับสนนุ การวิจัยและเทคโนโลยีท่ีช่วยลดก๊าซเรือนกระจกท้ังภาครัฐและเอกชน โดยเร่งให้มีการจัดทาฐานข้อมูล เทคโนโลยีเพ่ือการลดก๊าซเรือนกระจก การจัดทา Technology Roadmap การปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันเพ่ือประกอบการตัดสินใจในระดับนโยบาย องค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน และ ๔) การปรับปรุงแก้ไขหรือการตรากฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานด้านการลด ก๊าซเรอื นกระจก เชน่ กระบวนการขอรบั ใบอนญุ าตประกอบกิจการไฟฟ้า (พลงั งานทดแทน) และการเข้าถงึ ขอ้ มลู ที่ใช้ในการติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจก เป็นต้น ๒.๓.๒.๔ พัฒนาระบบการตรวจวัด การรายงาน และการทวนสอบ ผลการลดก๊าซเรือนกระจก (Measurement, Reporting and Verification: MRV) ให้มีประสิทธิภาพ ย่ิงข้ึนเพื่อตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกในแต่ละภาคส่วนอย่างถูกต้อง เป็นระบบ และใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขการดาเนินงานท่ีมีปัญหาอุปสรรค สาหรับประกอบการปรับปรุง และจัดทาแผนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศฉบับต่อไป และเพ่ือเป็นข้อมูลในการสื่อสาร ความกา้ วหน้าการดาเนนิ งานด้านการลดกา๊ ซเรอื นกระจกของประเทศในเวทนี านาชาติ ๑๒๗
๑๒๘
นโยบายที่ ๓ ยกร ดบั มาตรการในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ ล สิง่ วดล้อม เปา้ ปร สงค:์ มีเคร่อื งมอื ล กลไกทีเ่ พมิ่ สม ทเ่ี ป็นมิตรกบั สงิ่ วดลอ้ ม ตวั ชีว้ ัดนโยบายที่ ๓ ๓.๑ ดชั นีธรรมาภิบาลเพอื่ ส่ิงแวดล้อม (ระดบั ดีขน้ึ ) ๓.๔ รายได้จ ๓.๒ ดัชนผี ลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม (Green GDP) (ระดบั ดขี ึน้ ) ๓.๕ งบประ ๓.๓ งบประมาณภาครัฐเพ่ือการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (PEER) (เพม่ิ ข้ึน) นโยบายที่ ๓.๑ พฒั นา ล ปรับปรงุ กฎหมาย ล กร บวนการยตุ ิธรรม นโยบายที่ ๓.๒ ส่งเสริม ล เพ่มิ ปร สทิ ธิภาพการใชเ้ คร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์ ด้านส่ิง วดล้อม ในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ ล สง่ิ วดล้อม ค้านงึ ถงึ การคุ้มครองสิทธิทางดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม และกา้ หนดก เกณฑ์ คา้ นงึ ถงึ การพฒั นาเคร่อื งมือเพือ่ สรา้ งแรงจูงใจและเพ่ิมประสิทธภิ าพ ขอ้ บงั คบั ทจี่ ะนา้ มาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการจดั การเพ่ือส่งเสริมและปอ้ งกนั กจิ กรรม ในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ เพือ่ จะนา้ มาใชป้ ระเมิน ทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รวมถึงการอา้ นวยความสะดวก ความคุม้ คา่ ในระดบั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ ใหเ้ ข้าถงึ กระบวนการยตุ ิธรรมทางสงิ่ แวดล้อมอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๑.๑ ปรบั ปรุงก หมายเกี่ยวกบั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓.๒.๑ สง่ เสรมิ การใช้เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรเ์ พือ่ สง่ิ แวดล้อมและ เร่งรดั การทบทวน ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และยกเลิกก หมาย ก ระเบยี บ นวตั กรรมท่เี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม และข้อบงั คับที่ลา้ สมยั ไม่เป็นธรรมหมดความจา้ เป็นหรือไมส่ อดคล้อง พัฒนารูปแบบเคร่ืองมือทางภาษีหรือคา่ ธรรมเนยี มเพอื่ จดั การการใช้ กับสถานการณ์ และไม่เป็นไปตามขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ เพ่ือเอือ้ ตอ่ การบรหิ าร ทรพั ยากรใหค้ ้มุ คา่ มีประสทิ ธิภาพ และลดการเกิดของเสีย พร้อมทง้ั ปรบั ปรงุ จดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ โปร่งใส โครงสร้างการบรหิ ารจัดการภาษแี ละคา่ ธรรมเนยี มท่จี ดั เกบ็ ได้ เป็นธรรม และมีความทนั สมัย รวมทัง้ เพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใชก้ หมาย ให้เกิดผลอย่างจริงจงั โดยการมีสว่ นรว่ มของประชาชน ๓.๒.๒ ผลกั ดันการใชเ้ ครอื่ งมอื ทางเศรษฐศาสตรแ์ บบผสมผสานรว่ มกบั เคร่ืองมอื อ่ืนๆ เพอ่ื ใหก้ ารด้าเนินมาตรการเกิดการเสรมิ แรง และมปี ระสิทธิภาพ ๓.๑.๒ พฒั นาก หมายให้มีความเหมาะสมและทนั สมยั เพิ่มขน้ึ ให้มกี ารจดั ท้าประมวลก หมายสงิ่ แวดลอ้ ม และประมวลก หมาย ๓.๒.๓ ผลักดนั ให้มีการใชเ้ ครื่องมือเชงิ นโยบายเพอ่ื การตดั สนิ ใจในการพฒั นา ทรพั ยากรธรรมชาติดา้ นตา่ งๆ การตราก หมายใหม่ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ พ้นื ทขี่ นาดใหญ่ ของประเทศ รวมถึงตราก หมายทเี่ กี่ยวกบั ขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มที่เกิดข้นึ ใหม่ ผ่านการมีสว่ นรว่ ม สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจดั ทา้ ระบบการประเมนิ ผลเชงิ นโยบายแบบองคร์ วม ของทุกภาคสว่ น ทีค่ ้านงึ ถงึ ผลกระทบอย่างรอบด้าน ทัง้ ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ๓.๑.๓ พฒั นากระบวนการยตุ ธิ รรมด้านสิง่ แวดล้อม ๓.๒.๔ ปรับปรุงและเพ่มิ ประสิทธภิ าพกองทนุ เพอื่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากร สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมีความร้คู วามเขา้ ใจในก หมายและกระบวนการ ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ให้มคี วามคลอ่ งตวั มากขน้ึ สง่ เสรมิ การเพิ่มชอ่ งทาง การขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณสา้ หรบั การป้องกนั และดแู ลทรัพยากรธรรมชาติ ยุติธรรมดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม ส่งเสริมกระบวนการยตุ ิธรรมทางเลอื ก และพัฒนากลไก และสง่ิ แวดลอ้ ม พร้อมท้ังการเยยี วยาปญั หาและช่วยเหลอื ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ ค้มุ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชนทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากกระบวนการ จากเหตวุ ิกฤติส่ิงแวดล้อม รวมถึงการเพ่มิ ประสิทธิภาพในการจดั หารายได้เข้ากองทนุ ยตุ ิธรรมและจากความขัดแย้งระหวา่ งภาครฐั เอกชน และชมุ ชน และพัฒนา และการบรหิ ารเงนิ ก้ยู มื บุคลากรศาลและอัยการให้มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ สง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้ังเพ่ิมประสิทธภิ าพการบงั คับคดีดา้ นส่ิงแวดล้อม ตลอดจน ๓.๒.๕ ปรบั ปรุงก ระเบียบในการก้ากับดูแลของภาคการเงนิ สง่ เสริมการจัดตง้ั องคก์ รและสถาบันเกี่ยวกบั ความยตุ ธิ รรมดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม สง่ เสริมให้ภาคธุรกิจและภาคบรโิ ภคเกีย่ วกบั สนิ คา้ และบรกิ าร เปน็ การเฉพาะ ทีเ่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ มสามารถใช้บริการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและเปน็ ธรรม รวมท้ังสนับสนุนการใชเ้ ทคโนโลยที างการเงนิ รปู ที่ ๘ ผนภาพ สดงความเช่อื มโยงของเป้าปร สงค์ ตัวชวี้ ดั นโยบายย่อ ๑๒๙
มรรถน ให้การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ล สิง่ วดลอ้ มมีปร สทิ ธภิ าพ เปน็ เชงิ รกุ ล สนบั สนนุ การพัฒนา ล ขบั เคล่อื นปร เทศให้มกี ารเตบิ โต จากภาษแี ละค่าธรรมเนียมทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (เพิ่มขนึ้ ) ะมาณการวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรมทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม (เพ่มิ ข้ึน) นโยบายที่ ๓.๓ พฒั นาร บบฐานข้อมูล ล ตัวช้ีวัด นโยบายท่ี ๓.๔ วิจัย ล พัฒนาเทคโนโลยี ล นวตั กรรมทเ่ี ป็นมติ ร กับสง่ิ วดล้อม ค้านงึ ถงึ การจดั วางและออกแบบระบบฐานข้อมลู ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพ่อื พัฒนาใหเ้ ป็นฐานขอ้ มลู เดียว มีระบบเชื่อมโยงข้อมลู จากระดบั ต้าบล ค้านึงถึงการสรา้ งรูปแบบและแนวทางการสง่ เสริมให้เกิดการวิจัยและ ไปจนถึงระดับประเทศ รวมทง้ั ขอ้ มูลของภาคเอกชน ตลอดจนเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคน พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมท่เี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม เพือ่ สรา้ งปจั จยั เชงิ ยุทธศาสตร์ สามารถเข้าถึงขอ้ มูลไดโ้ ดยสะดวกและงา่ ย ใหเ้ กิดการขับเคลอ่ื นสงั คมและเศรษฐกิจทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม และสนบั สนนุ การสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ๓.๓.๑ สร้างระบบข้อมูลทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งบูรณาการ ๓.๔.๑ สง่ เสรมิ การวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทเ่ี ปน็ มติ ร ให้ขอ้ มลู เช่ือมโยงตัง้ แต่ระดบั ตา้ บลไปจนถงึ ระดับประเทศ รวมถึงภาคเอกชน กบั สิง่ แวดลอ้ มอย่างมียุทธศาสตร์ และประชาสงั คม และเช่อื มโยงกบั ฐานขอ้ มูลระดับนานาชาติ รวมทั้งสง่ เสริมการมพี ฤติกรรม เลือกเทคโนโลยีทส่ี ่งผลกระทบเชงิ เศรษฐกิจและสงั คมในระดบั สงู การจดสถติ จิ นเปน็ นสิ ยั แกท่ ุกภาคสว่ น ตลอดจนกา้ หนดเปน็ เง่ือนไขให้หนว่ ยงานภาครัฐ เปน็ พน้ื ฐานท่ีจา้ เปน็ ของหลายอุตสาหกรรมให้สอดคลอ้ งกับศักยภาพและความพรอ้ ม มีการพฒั นาเครื่องมอื และกลไกสา้ หรับการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ด้านท้าเลและทต่ี ง้ั เชงิ ภูมศิ าสตร์ โครงสร้างพนื้ ฐานและบคุ ลากร รวมทง้ั ยกระดบั ทกั ษะ ีมอื แรงงาน ๓.๓.๒ สง่ เสริมใหม้ หี นว่ ยงานคลังสมอง (Think Tank) ด้านส่งิ แวดลอ้ มท่ีมคี ณุ ภาพ อยา่ งเพยี งพอ มคี วามพร้อมในการวเิ คราะห์และพยากรณ์ผลกระทบด้านทรพั ยากรธรรมชาติ ๓.๔.๒ สนับสนนุ การลงทุนและเพมิ่ ระดบั การอดุ หนุนด้านการวิจัยและพัฒนา และสง่ิ แวดลอ้ มจากการเปลย่ี นแปลงในทกุ มิติ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม พร้อมทัง้ พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหเ้ พียงพอ โดยให้ภาคเอกชนเข้าถึงบริการพนื้ ฐาน ๓.๓.๓ เร่งจดั ท้าบญั ชผี ลกระทบสง่ิ แวดล้อมรายผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่ทนั สมัยของภาครฐั สนับสนนุ การประเมินวั จักรชวี ติ ของผลติ ภณั ฑ์ (Life Cycle Assessment: ๓.๔.๓ สร้างความเชื่อมโยงของหว่ งโซ่อปุ ทานการวิจัยและพฒั นา ในภาครัฐ LCA) การพัฒนาและปรับปรุงฐานขอ้ มูลระดบั ประเทศให้ครอบคลมุ ตามเกณฑ์ฟุตพรินต์ ภาควชิ าการ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ให้เกดิ การทา้ งานรว่ มกนั สง่ิ แวดล้อม (Environmental Footprint) และการกา้ หนดมาตรการใหม้ กี ารแสดงข้อมลู รายสินค้าแก่ผ้บู ริโภค รวมถงึ พฒั นาบคุ ลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญ ให้มกี ารสร้างแรงจูงใจและสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื อ้านวยใหเ้ กิดระบบ การแบ่งปนั ทรัพยากรและผลประโยชน์ตอบแทนรว่ มกัน พร้อมทง้ั พฒั นาบุคลากร ๓.๓.๔ พัฒนาระบบการจัดเกบ็ ข้อมลู งบประมาณของภาครัฐในการดา้ เนนิ การเพือ่ ให้มีความเช่ียวชาญระดับสงู และตรงกับความต้องการ และสนบั สนนุ บุคลากรภาครัฐ สง่ิ แวดลอ้ ม (Public Environmental Expenditure Reviews: PEERs) ให้สามารถร่วมวิจยั กับภาคเอกชนได้ พฒั นาฐานข้อมูลงบประมาณให้ครอบคลุมเพอื่ การวเิ คราะห์ในมติ ิเชงิ พื้นที่ ๓.๔.๔ ส่งเสริมใหเ้ กดิ สภาพแวดลอ้ มในการแข่งขันทางการค้าอยา่ งเปน็ ธรรม การเงิน นโยบาย และการดา้ เนินงาน รวมท้งั ศกึ ษา และพัฒนาการประเมนิ ค่าใช้จ่าย มีการวจิ ยั และพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง และลดการผกู ขาดทางการค้า ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มของภาคส่วนต่างๆ รวมถงึ สินคา้ และบริการทีม่ ีลักษณะผกู ขาดโดยธรรมชาติ พรอ้ มทง้ั ขยายขอบเขต ๓.๓.๕ พัฒนาตัวชว้ี ัดด้านส่ิงแวดลอ้ มทแี่ สดงถงึ ความเช่ือมโยงระหว่างมิติส่ิงแวดลอ้ ม การจัดซ้ือจัดจ้างสินคา้ และบรกิ ารของภาครฐั ให้มีความเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม กบั มติ เิ ศรษฐกจิ และมิตสิ งั คม (Green Public Procurement: GPP) รวมท้งั สร้างเงื่อนไขการจัดซ้อื จัดจา้ ง ของภาครัฐกบั ต่างประเทศให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ใหม้ ีการจดั ท้าข้อมูลรายได้ของประเทศที่ผนวกรวมตน้ ทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติ กับประเทศไทย และส่งิ แวดลอ้ มใหค้ รอบคลุมทกุ สาขา และสรา้ งบัญชตี ้นทุนทางธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนา ตัวชี้วดั ผลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศทค่ี รอบคลุมตน้ ทุนดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ๓.๔.๕ พัฒนาศักยภาพของประเทศให้เปน็ ผู้สง่ ออกสินคา้ และเทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม (Green GDP) และส่งเสรมิ ใหม้ ีการจดั ท้าบัญชีการไหลเวียนวสั ดุของประเทศ ยกระดบั การเปน็ ผนู้ ้าในการกา้ หนดมาตรฐานระดบั โลกดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (Materials Flow Accounts: MFA) และกา้ หนดนโยบายอย่างมยี ทุ ธศาสตร์ ของสินค้าอาหารและเกษตรบนพนื้ ฐานการประเมินตลอดวั จกั รวงจรชีวิต ๓.๓.๖ ส่งเสรมิ การสรา้ งข้อมลู ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการ จัดทา้ รายงานอย่างเป็นระบบ ๑๒๗ ส่งเสรมิ การออกแบบและจดั ท้าเปน็ ลกั ษณะองค์รวมและมีความเช่ือมโยง ของข้อมูล และผลกั ดันให้มกี ารตดิ ตามและการรายงานสถานการณท์ รัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม อย ล นวนโยบาย ภายใต้นโยบายท่ี ๓
นโยบายที่ ๓ ยกระดบั มาตรการในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม เป้าประสงค:์ มีเคร่ืองมือและกลไกที่เพ่ิมสมรรถนะให้การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมมีประสิทธิภาพ เป็นเชิงรุก และสนับสนุนการพัฒนาและขับเคล่ือนประเทศให้มี การเติบโตท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม การยกระดับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ความสาคัญกับ การเพ่ิมประสิทธิภาพเครื่องมือและกลไกต่างๆ ทั้งทางกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ การจัดทาและพัฒนา ระบบฐานข้อมูล รวมถึงการวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ซ่ึงเป็นปัจจัย เชิงยุทธศาสตร์สาคัญที่จะช่วยผลักดันให้การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นไป อย่างเหมาะสม เป็นเชิงรุกและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้มีการเติบโตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยนโยบายที่ ๓ ประกอบด้วย ๔ นโยบายย่อย ๑๙ แนวนโยบาย และ ๕ ตัวชี้วัด ดังน้ี ตวั ช้ีวัดของนโยบายที่ ๓ ๓.๑ ดชั นีธรรมาภิบาลเพ่ือสง่ิ แวดลอ้ ม (ระดบั ดีข้ึน) ๓.๒ ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green GDP) (ระดับดขี ้ึน) ๓.๓ งบประมาณภาครัฐเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (PEER) (เพิ่มขึ้น) ๓.๔ รายไดจ้ ากภาษีและคา่ ธรรมเนียมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (เพมิ่ ขนึ้ ) ๓.๕ งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (เพม่ิ ข้นึ ) นโยบายท่ี ๓.๑ พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย และกระบวนการยตุ ิธรรมด้านสงิ่ แวดล้อม การพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อม ได้คานึงถึงการคุ้มครองสิทธิทางด้านส่ิงแวดล้อม และกาหนดกฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่จะนามาใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการจัดการเพื่อส่งเสริมและป้องกนั กจิ กรรมทีส่ ่งผลกระทบต่อทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมถึง การอานวยความสะดวกให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ๓ แนวนโยบายทีส่ าคัญ ดังนี้ (หนว่ ยงานรับผิดชอบ ประกอบดว้ ย ทส. พน. ยธ.) ๓.๑.๑ ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยเร่งรัดการทบทวน ปรับปรุงแก้ไข และยกเลิกกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม หมดความจาเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ และไม่เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างประเทศ เพื่อเอื้อต่อ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม และ ๑๓๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174