Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายละเอียดหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา

Published by archsu.fac, 2021-06-18 11:19:05

Description: course_grad64

Search

Read the Text Version

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 49 262 540 การปรบั ปรุงอาคารประวตั ศิ าสตร์ในบรบิ ทใหม่ 3(2-2-5) 262 541 (Rehabilitation of Historic Buildings in New Scenario) ทฤษฎีและการปฏิบัติการอนุรักษ์อาคารประวัติศาสตร์ เพื่อค้นหากระบวนการและการ สร้างแนวทางปฏิบัติในการนาอาคารประวัติศาสตร์กลับมาใช้ในบริบทใหม่ ที่ทาให้อาคารถูกใช้งาน อย่างมีประสิทธิภาพ และอาคารมีอายุการใช้งานที่ยาวนานต่อไป ด้วยการปรับอาคารให้มีพื้นที่ใช้ สอยใหม่ที่เหมาะสม โดยกระบวนการวิเคราะห์ศักยภาพอาคารในด้านต่าง ๆ รูปแบบทาง สถาปัตยกรรมและทีว่ ่างเดมิ โครงสรา้ งเดมิ ทางเดิน และโครงสร้างความสัมพันธ์ของอาคารกับพื้นท่ี ปัจจัยด้านการเมือง สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และปรัชญาของการอนุรักษ์อาคาร นโยบายและ การปฏิบัตวิ ชิ าชพี การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน และการนาทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ Concepts and practice concerning rehabilitation of historic buildings in their changed context for more effective and efficient use to help prolong the life of buildings; analysis of architectural style, structure, circulation, and interrelationship between buildings and spaces for determining potential uses; political, social, cultural, and economic factors relating to philosophy of conservation and policies concerning conservation practices; sustainable development and adaptive reuse of resources. การศกึ ษาดงู านอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรมในตา่ งประเทศ 3(2-2-5) (Architectural Conservation at International Level) เงอื่ นไข: นกั ศึกษารับผิดชอบคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษาดงู านเอง นอกเหนอื จากคา่ ลงทะเบียน การอนุรักษส์ ถาปัตยกรรมและชุมชนในหลากหลายภมู ภิ าค ยโุ รป อเมริกา หรือเอเชีย ผ่าน การบรรยาย ทศั นศึกษา และปฏิบัตงิ านจรงิ ในพ้ืนท่ี มกี ารศึกษานอกสถานที่ Field-trip concerning the conservation of architecture and communities in other parts of the world, including Europe, America and Asia through lectures, excursions, and practical undertakings. Students’ performance based on the evaluating of papers and summer training. Field trips required. หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 50 262 542 ประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 2 3(3-0-6) 262 543 (History of Architecture in Southeast Asia II) ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนผืนแผ่นดินใหญ่และจักรวรรดิ หมู่เกาะในอินโดนีเซียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 20 สมัยการสะท้อนความเป็นสถาปัตยกรรม ท้องถิ่นจนถึงสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล ได้แก่ สถาปัตยกรรมในชวาตะวันออกระหว่าง ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 10 ถึง 16 สถาปัตยกรรมในกัมพูชาและพมา่ หลังจากอาณาจกั รเขมรและพกุ ามลม่ สลายในคริสต์ศตวรรษที่ 13 สถาปัตยกรรมจามปาตอนปลาย สถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่รัฐ และอาณาจักรเรม่ิ กอ่ ตงั้ และมบี ทบาทขน้ึ ในคริสตศ์ ตวรรษที่ 13 พุทธสถาปตั ยกรรมท่ไี ด้รับอิทธิพล พระพุทธศาสนาเถรวาทจากศรีลังกา รวมทั้งสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลศาสนาอิสลามใน มาเลเซียและอนิ โดนเี ซีย และสถาปตั ยกรรมที่มอี ทิ ธพิ ลตะวนั ตกในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ Architectural history of mainland Southeast Asia and insular Indonesia from the 10th to the 20th century A.D., reflection periods of local to colonial architecture, for example, architecture in Eastern Java during the 1 0 th to the 1 6 th centuries; architecture in Cambodia and Burma after the collapse of Angkor and Pagan empires in the 13th century; Champa architecture in the late period; architecture of states and kingdom emerged in Thailand in the 1 3 th century; Buddhist architecture with Sinhalese influence; architecture with Islamic influence in Indonesia and the Malay Peninsula; and architecture with Western influence in Southeast Asia. ศาสนา ความเชือ่ และวฒั นธรรมทีม่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ สถาปตั ยกรรมในเอเชยี 3(3-0-6) ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Religions, Beliefs, and Culture influenced on Architecture in Southeast Asia) ศึกษา ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอิทธิพลต่อการ ออกแบบสถาปัตยกรรมในภูมิภาค เนื่องจากสถาปัตยกรรมเป็นส่วนหนึ่งของระบบวัฒนธรรม พื้นที่ ว่างในงานสถาปัตยกรรมไม่ว่าจะใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาหรือความเชื่อหรือเพื่อการ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมล้วนสะท้อนโลกทัศน์ของผู้สร้างและผู้อยู่อาศัย ศาสนา ความเชื่อ และ วัฒนธรรมทั้งที่เป็นของดั้งเดิมในภูมิภาคและที่รับอิทธิพลจากภายนอก ระบบทางสังคม ระบบ ความเช่อื และศาสนา รวมไปถงึ แนวความคดิ เร่ือง นา้ ภูเขา จักรวาล และสมมุตเิ ทพ Study of religions, beliefs, and culture in Southeast Asia that influence architectural designs in the region. Architecture as a cultural system; symbolic religious spaces and spaces for social interactions reflecting worldviews of their builders and inhabitants, local traditions and foreign influences, social systems, beliefs and religious systems, and cosmological concepts of water, mountain, and divinities. หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 51 262 544 การวจิ ัยและเผยแพรป่ ระวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Research and Dissemination of Architectural History) แนวทางที่เป็นไปได้ในการวิจัย ประยุกต์ใช้ และเผยแพร่ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ที่ นอกเหนือไปจากแบบแผนทางวิชาการ Possibilities of various ways in which architectural history may be researched, applied and disseminated outside the conventional academic research. หลักสูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 52 รายละเอยี ดของหลักสตู ร หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ชอื่ หลักสูตร ช่ือหลกั สตู ร ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปตั ยกรรม ภาษาองั กฤษ Master of Arts Program in History of Architecture ช่อื ปริญญาและสาขาวชิ า ชอ่ื เตม็ ภาษาไทย ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (ประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรม) ช่อื เต็มภาษาอังกฤษ Master of Arts (History of Architecture) ชอื่ ยอ่ ภาษาไทย ศศ.ม. (ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรม) ช่ือยอ่ ภาษาอังกฤษ M.A. (History of Architecture) วชิ าเอก ไมม่ ี จานวนหนว่ ยกติ ทีเ่ รียนตลอดหลกั สูตร แผน ก แบบ ก 2 ไม่นอ้ ยกวา่ 45 หนว่ ยกติ อาชพี ทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสาเรจ็ การศกึ ษา 1. ผูส้ อนในสถาบนั อุดมศกึ ษา 2. นกั วิจยั ในหนว่ ยงานรฐั และเอกชน 3. ทีป่ รกึ ษาทางประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรมในหน่วยงานเอกชน 4. วิชาชีพอื่น ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง การเทยี บโอนหนว่ ยกิต รายวชิ า และการลงทะเบยี นเรียนขา้ มมหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงภายหลงั โครงสรา้ งหลักสตู ร แผน ก แบบ ก 2 วชิ าบงั คบั 21 หนว่ ยกติ วชิ าเลือก ไมน่ ้อยกวา่ 12 หน่วยกติ วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 12 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกว่า 45 หน่วยกิต หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 53 รายวชิ า 1. แผน ก แบบ ก 2 รายวชิ าพน้ื ฐาน (ไม่นบั หน่วยกิต) 262 400 ความเข้าใจภาษาอังกฤษ 3*(3-0-6) (English Comprehension) สาหรับนกั ศึกษาท่มี คี ะแนนสอบเขา้ เรียนในวิชาภาษาอังกฤษไม่ผา่ นเกณฑ์ 262 401 การเขียนแบบสถาปตั ยกรรมไทย 3*(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) สาหรบั นักศกึ ษาทข่ี าดพ้นื ฐานในการทาความเข้าใจแบบทางสถาปตั ยกรรม รายวชิ าบังคับ จานวน 21 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาตอ่ ไปน้ี 262 510 วิธีวิจยั ทางประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Research Methodology in History of Architecture) 262 511 ประวัติศาสตรส์ ถาปัตยกรรมกอ่ นสมยั สโุ ขทยั 3(3-0-6) (History of Pre-Sukhothai Architecture) 262 512 ประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรมสมัยสุโขทยั -อยธุ ยา 3(3-0-6) (History of Architecture During Sukhothai and Ayutthaya Periods) 262 513 ประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมสมยั รัตนโกสนิ ทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During Rattanakosin Period) 262 514 วฒั นธรรมและสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ินในประเทศไทยและ 3(3-0-6) เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (Culture and Vernacular Architecture in Thailand and Southeast Asia) 262 515 การอนรุ ักษ์อาคารทางประวัตศิ าสตร์และโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Buildings and Ancient Monuments in Thailand) 262 516 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 1 3(3-0-6) (History of Architecture in Southeast Asia I) รายวิชาเลอื ก จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ยรายวิชาต่อไปน้ี 262 530 ววิ ัฒนาการพทุ ธสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Evolution of Buddhist Architecture) 262 531 สถาปตั ยกรรมยคุ สมัยใหม่ในสยามสมัยรชั กาลท่ี 4 – รัชกาลที่ 8 3(2-2-5) (New Architecture in Siam from the Kings Reign of Rama IV to Rama VIII) 262 532 การสันนษิ ฐานรูปแบบสถาปตั ยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) 262 533 ไทยศกึ ษา 3(3-0-6) (Thai Studies) หมายเหตุ * หมายถึง นักศึกษาลงทะเบยี นเรียนโดยไม่นบั หน่วยกติ และวัดผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 54 262 534 การเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คมในสถาปัตยกรรมไทยรว่ มสมยั 3(3-0-6) 262 535 (Politics, Economy, Society in Contemporary Thai Architecture) การศกึ ษารายบคุ คล 3(0-6-3) 262 536 (Individual Study) 3(3-0-6) สมั มนาประวตั ศิ าสตร์สถาปตั ยกรรม 262 537 (Seminar in History of Architecture) 3(2-2-5) การอนรุ กั ษ์ยา่ นและชุมชนประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทย (Conservation of Historic Sites and Settlements in Thailand) 262 538 การวนิ จิ ฉัยการเสอื่ มสภาพของโบราณสถานและอาคารประวตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Building Diagnostics of Ancient Monuments and Historic Buildings) 262 539 การอนรุ กั ษว์ สั ดใุ นโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-3-4) (Conservation of Materials in Ancient Monuments in Thailand) 262 540 การปรับปรงุ อาคารประวัติศาสตร์ในบรบิ ทใหม่ 3(2-2-5) 262 541 (Rehabilitation of Historic Buildings in New Scenario) 3(2-2-5) การศึกษาดงู านอนุรักษ์สถาปตั ยกรรมในต่างประเทศ (Architectural Conservation at International Level) 262 542 ประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรมเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 2 3(3-0-6) (History of Architecture in Southeast Asia II) 262 543 ศาสนา ความเช่อื และวฒั นธรรมท่สี ง่ ผลต่อสถาปัตยกรรมใน 3(3-0-6) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Religions, Beliefs, and Culture influenced on Architecture in 262 544 Southeast Asia) 3(3-0-6) การวจิ ยั และการเผยแพรป่ ระวตั ศิ าสตรส์ ถาปัตยกรรม (Research and Dissemination of Architectural History) นอกจากรายวิชาดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของสาขาวิชาอื่น ๆ ท่บี ัณฑิตวิทยาลัยเปดิ สอนได้ โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 12 หนว่ ยกิต 262 520 วิทยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 12 หน่วยกิต (Thesis) หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 55 แผนการศกึ ษา 1. แผน ก แบบ ก 2 รหัสวิชา ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ ช่ือรายวชิ า (บ – ป – น) 262 400 3*(3-0-6) 262 401 ความเข้าใจภาษาองั กฤษ 3*(0-6-3) 262 511 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(3-0-6) 262 514 ประวัติศาสตรส์ ถาปัตยกรรมก่อนสมัยสุโขทยั 3(3-0-6) วฒั นธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถ่นิ ในประเทศไทยและเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 3 วิชาเลือก 9 รวมจานวน รหสั วิชา ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จานวนหน่วยกติ ชอ่ื รายวชิ า (บ – ป – น) 262 510 3(3-0-6) 262 512 วิธีวิจัยทางประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 262 515 ประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมสมยั สุโขทยั -อยธุ ยา 3(2-2-5) การอนรุ กั ษอ์ าคารทางประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณสถานในประเทศ ไทย 3 วิชาเลือก 12 รวมจานวน รหัสวิชา ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 จานวนหน่วยกติ ช่ือรายวชิ า (บ – ป – น) 262 513 3(3-0-6) 262 516 ประวตั ศิ าสตร์สถาปตั ยกรรมสมยั รตั นโกสินทร์ 3(3-0-6) ประวตั ิศาสตรส์ ถาปตั ยกรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 1 6 วชิ าเลอื ก 12 รวมจานวน * สาหรบั นกั ศึกษาทข่ี าดพืน้ ฐาน ท้งั น้ี ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร โดยรายวชิ านไ้ี มน่ บั หนว่ ยกติ หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

รหัสวิชา ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 รายละเอียดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 56 262 520 ชอ่ื รายวชิ า จานวนหน่วยกติ วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) (บ – ป – น) รวมจานวน 12 12 หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 57 คาอธบิ ายรายวชิ า 262 400 ความเข้าใจภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) (English Comprehension) เง่ือนไข: 1. วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U 2. นกั ศกึ ษาทส่ี อบได้สัญลกั ษณ์ S มสี ิทธไิ์ ดร้ ับการยกเวน้ ไมต่ อ้ งสอบ ภาษาต่างประเทศ การอ่านงานเขยี นทีเ่ ก่ียวกบั วิชาสถาปตั ยกรรม โดยเฉพาะท่ีเกย่ี วข้องกบั ประเทศไทย ในรูปของบทความทางวชิ าการ รายงาน หรอื ตาราภาษาองั กฤษ English readings about architecture, using materials from articles, reports, and books, particularly those with contents relating to Thailand. 262 401 การเขยี นแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) เงือ่ นไข: วดั ผลการศึกษาเป็น S หรือ U เขียนแบบสถาปัตยกรรมไทยประเภทต่าง ๆ รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบท่ี เกีย่ วขอ้ งกับการก่อสรา้ ง Drafting exercises in drawing various types of Thai architectural components, decorative ornaments, structure, and construction details. 262 510 วธิ วี จิ ัยทางประวตั ศิ าสตรส์ ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Research Methodology in History of Architecture) วิธีการและตัวแบบการวิจัยเพื่อนามาประยุกต์ใช้กับการศึกษาและวิธีวิจัยงานศิลป สถาปตั ยกรรม Research models, methods, and their applications for carrying out investigations in history of architecture and related arts. 262 511 ประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรมก่อนสมัยสโุ ขทัย 3(3-0-6) (History of Pre-Sukhothai Architecture) รูปแบบลักษณะเฉพาะและที่มาของสถาปัตยกรรม การวางผัง วิธีการก่อสร้าง สถาปตั ยกรรม ประติมากรรมและปรชั ญาของรปู แบบสถาปัตยกรรมที่เก่ยี วขอ้ ง กอ่ นพุทธศตวรรษท่ี 19 รวมท้ังสถาปัตยกรรมไทยทไี่ ด้รบั อทิ ธพิ ลศลิ ปะแบบต่าง ๆ จากนอกประเทศ มีการศึกษานอกสถานที่ Architecture of Pre-Sukhothai periods before 14th century in Thailand; origins, philosophy, styles, layouts, construction techniques, and sculptural elements; special characteristics of foreign art styles, their origins and influence on Thai architecture. Field trips required. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 58 262 512 ประวัติศาสตรส์ ถาปัตยกรรมสมยั สโุ ขทยั -อยุธยา 3(3-0-6) 262 513 (History of Architecture During Sukhothai and Ayutthaya Periods) คติ แนวคิด ลักษณะเฉพาะของการวางผัง รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรม บทบาทหน้าที่ และพัฒนาการของงานสถาปตั ยกรรมไทยประเภทพุทธศาสนาคาร ท่ี เป็นทั้ง เจดีย์ ปรางค์ มณฑป อุโบสถ วิหาร และอื่น ๆ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับศิลปสถาปัตยกรรมไทย ในช่วงสมยั สโุ ขทยั จนถึงอยุธยาตอนปลาย (พทุ ธศตวรรษท่ี 19-24) มีการศกึ ษานอกสถานที่ Architecture in Thailand from the 1 4 th to the 1 9 th centuries during the periods of Sukhothai and Ayutthaya; ideologies, concepts, building layouts, styles, structures and architectural components; role and development of Buddhist buildings and structures such as stupas, prangs, mandapas, ordination halls, and viharas, in connection with developments in Thai art and architecture during the periods. Field trips required. ประวตั ิศาสตรส์ ถาปตั ยกรรมสมยั รัตนโกสินทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During Rattanakosin Period) สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 8 เพื่อเข้าใจใน คุณค่าสุนทรียภาพและอุดมคติแห่งยุคสมัย รวมทั้งสภาพสังคมวัฒนธรรมและแนวความคิดที่ส่งผล ต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอิทธิพลจากอารยธรรมอยุธยา จีน และอารยธรรมใหม่ จากตะวันตก และวิถีชีวิตที่สะท้อนในตัวสถาปัตยกรรม ผ่านการวิเคราะห์ผังพื้น รูปลักษณ์ องค์ประกอบ วัสดุ และการก่อสร้างของอาคารประเภทต่าง ๆ วัด พระราชวงั บ้านพักอาศยั อาคาร สาธารณะ และอาคารราชการ Architecture of Rattanakosin period from the reign of Kings Rama I to Rama VIII; aesthetic values and ideologies; socio-cultural conditions and ideals affecting the creation of architecture especially those influenced by Ayutthaya, Chinese and Western civilizations; understanding lifestyles reflected in the works of architecture through analysis of plans, styles, components, materials and construction of various building types: temples, palaces, residences, public and government buildings. หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 59 262 514 วฒั นธรรมและสถาปตั ยกรรมพ้ืนถน่ิ ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 3(3-0-6) 262 515 (Culture and Vernacular Architecture in Thailand and Southeast Asia) ความเกี่ยวเนื่องระหว่างวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม รูปแบบทางสังคมวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อมพื้นถิ่นเป็นปัจจัยสาคัญท่ีทาให้เกิดลักษณะเฉพาะในด้านชีวิตความเป็นอยู่ อาชีพ ศาสนา การตั้งถิ่นฐาน ศิลปะ รวมทั้งสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกัน ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์และ การสะท้อนกลับระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม ปัจจัยที่เป็นนามธรรม รูปแบบและรูปทรง สถาปัตยกรรม การจัดระเบียบพื้นท่ีใช้สอย สัญลักษณ์และสิ่งประดิษฐ์พื้นบ้าน ที่ปรากฏในแต่ละ ท้องถิ่นทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ความสานึกในคุณค่าของภูมิปัญญาและงาน ออกแบบระดบั พน้ื บา้ นเหลา่ นั้น Relations between culture and architecture; social forms, cultural and environmental factors determining the unique characteristics of everyday life, occupations, religion, human settlements, art and architecture; emphasises on the interrelationships between intangible and tangible factors-social, culture and architecture; study of forms, functions and spatial identity of vernacular architecture including symbols, folk arts and inventions in Thailand and the neighbouring countries; awareness of the value of local wisdom and folk art design. การอนุรกั ษ์อาคารทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Buildings and Ancient Monuments in Thailand) หลักการ แนวคิด การอนุรักษ์โบราณสถานทั้งของไทยโบราณและหลักสากล การอนุรักษ์ โครงสร้างและวัสดุของโบราณสถาน สาเหตุของความเสื่อมของโครงสร้างและวัสดุ และวิธีการแก้ไข โดยพืน้ ฐาน ตลอดจนการตรวจสภาพโบราณสถานและการทารายงานการตรวจสภาพ มกี ารศึกษานอกสถานที่ Principles and concepts in conservation of historic buildings according to ancient Thai techniques as well as international charters and methods; conservation of structure and materials; causes of deterioration and basic interventions; inspection of buildings and documentation of physical conditions. Field trips required. หลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 60 262 516 ประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 1 3(3-0-6) 262 520 (History of Architecture in Southeast Asia I) ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนผืนแผ่นดินใหญ่และจักรวรรดิ หมู่เกาะในอินโดนีเซียระหว่างคริสตศตวรรษที่ 7 ถึง 13 ตั้งแต่สมัยเริ่มการเผยแพร่อิทธิพลอินเดีย ในช่วงต้นคริสตกาลจนถึงยุคทองของศิลปะอินเดีย สถาปัตยกรรมสมัยเริ่มการเผยแพร่อิทธิพล อินเดีย สถาปัตยกรรมและศิลปะของ ผิว (พยู) มอญ และอาระข่าน สถาปัตยกรรมในอาณาจักร ฟูนัน เจนละ จามปา และศรีวิชัย ส่วนสถาปัตยกรรมยุคทองของอิทธิพลอินเดีย สถาปัตยกรรมชวา กลาง (คริสตศตวรรษที่ 7 ถึง 10) สถาปัตยกรรมเขมรสมัยพระนคร (คริสตศตวรรษที่ 9 ถึง 12) สถาปัตยกรรมพุกาม (คริสตศตวรรษที่ 11 ถึง 13) และสถาปัตยกรรมจามปา (คริสตศตวรรษที่ 8 ถึง 11) นอกจากนั้นการศึกษายังรวมถึงศิลปะและสถาปัตยกรรมของอินเดียที่ส่งอิทธิพลต่อศิลปะ และสถาปัตยกรรมในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ด้วย The architectural history of mainland and insular Southeast Asia during 7th to 13th centuries from the period of expansion of Indian culture ( around the beginning of the Christian era) to the golden period of maturity of Indian Influence, the early Indianization period, for instance, architecture and art of the Pyu, Mon, and Arakanese and that of Fu- nan, Chen- la, Champa, and Srivijaya, the period of the maturity of Indian influence, for example, architecture in the Central Javanese period (7th to 10th centuries) ; Khmer architecture of the Angkor period ( 9th to 12th centuries) ; Pagan architecture (11th to 13th centuries); and Champa architecture (8th to 11th centuries). As well as the architecture and art of India influenced that in Southeast Asia. วิทยานิพนธ์ มคี ่าเทียบเท่า 12 หน่วยกิต (Thesis) เงอื่ นไข: นักศึกษาต้องผ่านวิชาบงั คับ 21 หน่วยกิต โครงการเฉพาะบุคคลที่มีเนื้อหาตามกลุ่มวิชาเลือกที่กาหนดไว้ในหลักสูตร คือ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน และสถาปัตยกรรมเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้ ภายใต้การควบคมุ ของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา Individual undertaking in research project on topic supervised by thesis adviser concerning either history of architecture, architecture and urban conservation, or architecture of Southeast Asia under the supervision of a thesis supervisor. หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 61 262 530 ววิ ฒั นาการพทุ ธสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) 262 531 (Evolution of Buddhist Architecture) 262 532 กาเนิดพุทธสถาปัตยกรรมและพัฒนาการในอินเดีย ศรีลังกา และประเทศเพื่อนบ้านที่มี อทิ ธิพลต่อพุทธสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ผังบริเวณ อโุ บสถ วิหาร เจดีย์ และสังฆิกวหิ าร Origin and development of Buddhist architecture in India, Sri Lanka, and Thailand’s neighbouring countries; their influences on plans, layouts and designs of Buddhist architecture in Thailand, ordination halls, viharas, pagodas, and monasteries. สถาปัตยกรรมยุคสมยั ใหมใ่ นสยามสมัยรชั กาลท่ี 4 – รชั กาลท่ี 8 3(2-2-5) (New Architecture in Siam from the Kings Reign of Rama IV to Rama VIII) สถาปัตยกรรมใหม่ภายใต้อิทธิพลตะวันตก ซึ่งเป็นผลจากการเปิดประเทศ ตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 8 สภาพสังคม วัฒนธรรมที่ทาให้เกิดอุดมคติแห่งยุคสมัย และ สถาปัตยกรรมแบบใหม่ การวิเคราะห์ผังพื้น รูปแบบ วัสดุ และการก่อสร้างของอาคารประเภทต่าง ๆ มกี ารเปรยี บเทยี บกบั อาคารช่วงเวลาเดยี วกันในญีป่ ่นุ ตง้ั แต่รชั สมยั เมจิ ไทโช และโชวะ New architecture under Western influence resulting from opening the country to the West from the reigns of King Rama IV to Rama VIII; socio-cultural conditions affecting emergence of ideology of the age bringing about new kind of architecture; analysis of plans, styles, materials and construction of various types of buildings; comparative studies of contemporaneous buildings in Japan in the Meiji, Taisho and Showa period. การสนั นิษฐานรูปแบบสถาปตั ยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) กระบวนการเก็บข้อมูลและบันทึกจากสถานที่ตั้งเพื่อนามาสู่การวิเคราะห์และสันนิษฐาน รูปแบบดั้งเดิมของโบราณสถาน ด้วยการใช้องค์ความรู้และหลักวิชาทางประวัติศาสตร์ สถาปตั ยกรรม มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Collecting and documenting architectural data from assigned sites; use of data as well as knowledge of architectural history to analyze and speculate original forms of ancient buildings. Field trips required. หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 62 262 533 ไทยศกึ ษา 3(3-0-6) 262 534 262 535 (Thai Studies) 262 536 ประเพณีและวัฒนธรรมไทยในอดีตที่เกี่ยวเนื่องกับวิถกี ารดารงชีวิต โลกทัศน์ คติความเช่ือ และศาสนา ทั้งระดับสังคมชาวบ้านและในราชสานักตลอดจนการรับเอาอารยธรรมต่าง ๆ เข้ามา พฒั นาจนกลายเปน็ จารีตของตนเอง Thai traditions and cultures in the past associated with ways of life, worldviews, religions, and beliefs of common people and courtiers, and adaptation of influences from other civilizations. การเมอื ง เศรษฐกิจ สังคมในสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย 3(3-0-6) (Politics, Economy, Society in Contemporary Thai Architecture) ความเปล่ียนแปลงทางแนวคิด คตคิ วามเชอ่ื และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทยรว่ มสมัย ท่ี เปน็ ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม Transformations in thoughts, doctrines, and architectural styles of contemporary Thai architecture as a result of political and socio-economic changes. การศึกษารายบคุ คล 3(0-6-3) (Individual Study) เลือกศึกษาและค้นคว้าในเรื่องที่สนใจเป็นพิเศษในขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ สถาปตั ยกรรม หรือการอนรุ ักษ์สถาปตั ยกรรม Individual undertaking in a study concerning history of architecture or architectural conservation on topic of special interest. สมั มนาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in History of Architecture) สัมมนาเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ และแนวคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม Discussion of theories, principles, and concepts pertaining to history of architecture. หลักสูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายละเอียดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 63 262 537 การอนุรกั ษ์ย่านและชุมชนประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย 3(2-2-5) 262 538 262 539 (Conservation of Historic Sites and Settlements in Thailand) หลักการบริหาร การจัดการ และกฎหมายตลอดจนระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ อนุรักษ์โบราณสถานและแหล่งที่ตั้ง การอนุรักษ์โบราณสถานและสภาพโดยรอบ ตลอดจนการ อนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ผ่านการวิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม และกายภาพ ของชุมชน Principles of management and legislations concerning conservation of historic places; conservation of buildings, sites, surroundings, and community settlements, based on analysis of socio-cultural factors and physical conditions. การวินจิ ฉัยการเสื่อมสภาพของโบราณสถานและอาคารประวัตศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Building Diagnostics of Ancient Monuments and Historic Buildings) โครงสร้างและวิธีการก่อสร้างโบราณสถานและอาคารประวัติศาสตร์ สาเหตุ ปัจจัย และ ตัวการที่ทาให้อาคารเสื่อมสภาพ รูปแบบการเสื่อมสภาพของโครงสร้างอาคารและวัสดุ และการ วินิจฉยั หาสาเหตกุ ารเส่อื มสภาพของโบราณสถานและอาคารประวัตศิ าสตร์ มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Structures and construction techniques of ancient monuments and historic buildings; causes, factors and agents causing decays; patterns of structural damage and material deterioration; and diagnosis of building decay and deterioration. Field trips required. การอนรุ ักษ์วัสดุในโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-3-4) (Conservation of Materials in Ancient Monuments in Thailand) คุณสมบัติของวสั ดุท่ีใชใ้ นการกอ่ สรา้ งโบราณสถานในประเทศไทย กระบวนการเสือ่ มสภาพ ของวัสดุเมื่อถูกนามาใช้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย คุณสมบัติ ข้อดีข้อเสียของวัสดุและ วธิ กี ารท่ีใช้ในการอนุรักษว์ ัสดุในโบราณสถานในประเทศไทย มีการศึกษานอกสถานที่ Properties of materials used in constructing ancient monuments in Thailand; decay mechanisms of materials under local climate; properties, advantages and disadvantages of materials and techniques used to conserve materials in ancient monuments in Thailand. Field trips required. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 64 262 540 การปรบั ปรุงอาคารประวตั ศิ าสตร์ในบรบิ ทใหม่ 3(2-2-5) 262 541 (Rehabilitation of Historic Buildings in New Scenario) ทฤษฎีและการปฏิบัติการอนุรักษ์อาคารประวัติศาสตร์ เพื่อค้นหากระบวนการและการ สร้างแนวทางปฏิบัติในการนาอาคารประวัติศาสตร์กลับมาใช้ในบริบทใหม่ ที่ทาให้อาคารถูกใช้งาน อย่างมีประสิทธิภาพ และอาคารมีอายุการใช้งานที่ยาวนานต่อไป ด้วยการปรับอาคารให้มีพื้นที่ใช้ สอยใหม่ที่เหมาะสม โดยกระบวนการวิเคราะห์ศักยภาพอาคารในด้านต่าง ๆ รูปแบบทาง สถาปัตยกรรมและทีว่ ่างเดมิ โครงสรา้ งเดมิ ทางเดิน และโครงสร้างความสัมพันธ์ของอาคารกับพ้ืนท่ี ปัจจัยด้านการเมือง สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และปรัชญาของการอนุรักษ์อาคาร นโยบายและ การปฏิบัตวิ ชิ าชพี การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน และการนาทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ Concepts and practice concerning rehabilitation of historic buildings in their changed context for more effective and efficient use to help prolong the life of buildings; analysis of architectural style, structure, circulation, and interrelationship between buildings and spaces for determining potential uses; political, social, cultural, and economic factors relating to philosophy of conservation and policies concerning conservation practices; sustainable development and adaptive reuse of resources. การศกึ ษาดงู านอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรมในตา่ งประเทศ 3(2-2-5) (Architectural Conservation at International Level) เงอื่ นไข: นกั ศึกษารับผิดชอบคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษาดูงานเอง นอกเหนอื จากคา่ ลงทะเบียน การอนุรักษส์ ถาปัตยกรรมและชุมชนในหลากหลายภมู ภิ าค ยโุ รป อเมริกา หรอื เอเชีย ผ่าน การบรรยาย ทศั นศึกษา และปฏิบัตงิ านจรงิ ในพ้ืนท่ี มกี ารศึกษานอกสถานที่ Field-trip concerning the conservation of architecture and communities in other parts of the world, including Europe, America and Asia through lectures, excursions, and practical undertakings. Students’ performance based on the evaluating of papers and summer training. Field trips required. หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลักสตู ร (มคอ.2) 65 262 542 ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรมในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 2 3(3-0-6) 262 543 (History of Architecture in Southeast Asia II) ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนผืนแผ่นดินใหญ่และจักรวรรดิ หมู่เกาะในอินโดนีเซียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 20 สมัยการสะท้อนความเป็นสถาปัตยกรรม ท้องถิ่นจนถึงสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล ได้แก่ สถาปัตยกรรมในชวาตะวันออกระหว่าง ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 10 ถึง 16 สถาปัตยกรรมในกัมพชู าและพม่าหลงั จากอาณาจกั รเขมรและพกุ ามลม่ สลายในคริสต์ศตวรรษที่ 13 สถาปัตยกรรมจามปาตอนปลาย สถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่รัฐ และอาณาจักรเรมิ่ กอ่ ต้ังและมบี ทบาทข้นึ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 13 พุทธสถาปตั ยกรรมที่ได้รับอิทธิพล พระพุทธศาสนาเถรวาทจากศรีลังกา รวมทั้งสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลศาสนาอิสลามใน มาเลเซียและอนิ โดนเี ซีย และสถาปัตยกรรมทีม่ ีอทิ ธิพลตะวนั ตกในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ Architectural history of mainland Southeast Asia and insular Indonesia from the 10th to the 20th century A.D., reflection periods of local to colonial architecture, for example, architecture in Eastern Java during the 1 0 th to the 1 6 th centuries; architecture in Cambodia and Burma after the collapse of Angkor and Pagan empires in the 13th century; Champa architecture in the late period; architecture of states and kingdom emerged in Thailand in the 1 3 th century; Buddhist architecture with Sinhalese influence; architecture with Islamic influence in Indonesia and the Malay Peninsula; and architecture with Western influence in Southeast Asia. ศาสนา ความเชอ่ื และวัฒนธรรมทสี่ ่งผลต่อสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (Religions, Beliefs, and Culture influenced on Architecture in Southeast Asia) ศึกษา ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอิทธิพลต่อการ ออกแบบสถาปัตยกรรมในภูมิภาค เนื่องจากสถาปัตยกรรมเป็นส่วนหนึ่งของระบบวัฒนธรรม พื้นที่ ว่างในงานสถาปัตยกรรมไม่ว่าจะใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาหรือความเชื่อหรือเพื่อการ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมล้วนสะท้อนโลกทัศน์ของผู้สร้างและผู้อยู่อาศัย ศาสนา ความเชื่อ และ วัฒนธรรมทั้งที่เป็นของดั้งเดิมในภูมิภาคและที่รับอิทธิพลจากภายนอก ระบบทางสังคม ระบบ ความเชื่อและศาสนา รวมไปถงึ แนวความคดิ เรอื่ ง นา้ ภเู ขา จักรวาล และสมมุติเทพ Study of religions, beliefs, and culture in Southeast Asia that influence architectural designs in the region. Architecture as a cultural system; symbolic religious spaces and spaces for social interactions reflecting worldviews of their builders and inhabitants, local traditions and foreign influences, social systems, beliefs and religious systems, and cosmological concepts of water, mountain, and divinities. หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 66 262 544 การวจิ ัยและเผยแพรป่ ระวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Research and Dissemination of Architectural History) แนวทางที่เป็นไปได้ในการวิจัย ประยุกต์ใช้ และเผยแพร่ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ที่ นอกเหนือไปจากแบบแผนทางวิชาการ Possibilities of various ways in which architectural history may be researched, applied and disseminated outside the conventional academic research. หลักสูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 67 รายละเอยี ดของหลักสตู ร หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการโครงการกอ่ สรา้ ง (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ชือ่ หลักสตู ร ช่ือหลกั สตู ร ภาษาไทย หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสรา้ ง ภาษาอังกฤษ Master of Science Program in Construction Project Management ชื่อปรญิ ญาและสาขาวิชา ชือ่ เต็มภาษาไทย วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจดั การโครงการกอ่ สร้าง) ชอ่ื เต็มภาษาองั กฤษ Master of Science (Construction Project Management) ชื่อยอ่ ภาษาไทย วท.ม. (การจัดการโครงการก่อสรา้ ง) ชือ่ ยอ่ ภาษาอังกฤษ M.Sc. (Construction Project Management) วชิ าเอก ไม่มี จานวนหน่วยกติ ที่เรยี นตลอดหลกั สตู ร แผน ก แบบ ก 1 มคี ่าเทยี บเท่า 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกติ แผน ข ไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกติ อาชีพทส่ี ามารถประกอบได้หลงั สาเร็จการศกึ ษา 1. ผู้บรหิ ารหรอื ผจู้ ัดการโครงการ/โครงการก่อสรา้ ง 2. ผู้ควบคมุ หรือหวั หนา้ งานกอ่ สรา้ ง 3. ผสู้ อนในสถาบันอดุ มศึกษา 4. ผู้ประกอบการธรุ กิจกอ่ สรา้ ง 5. สายวิชาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง เช่น ผู้บริหารทรัพยากรอาคาร ผู้จัดการ โครงการพัฒนาอสังหารมิ ทรัพย์ ผู้ที่ทางานในบรษิ ัทรับเหมากอ่ สรา้ ง หรือ บริษัทบริหารและควบคุมงานก่อสร้าง หรอื บริษัทพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ การเทียบโอนหนว่ ยกติ รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นข้ามมหาวทิ ยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ท่มี กี ารเปลยี่ นแปลงภายหลัง โครงสรา้ งหลักสูตร แบง่ เป็น 3 แผน ดงั น้ี 1. แผน ก แบบ ก 1 วิทยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 36 หน่วยกติ หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 68 2. แผน ก แบบ ก 2 หมวดวชิ าบงั คบั จานวน 15 หนว่ ยกติ หมวดวิชาเลอื ก จานวนไม่น้อยกวา่ 9 หนว่ ยกติ วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 12 หน่วยกติ 3. แผน ข หมวดวิชาบงั คับ จานวน 15 หนว่ ยกติ หมวดวิชาเลือก จานวนไมน่ ้อยกว่า 15 หน่วยกติ การค้นควา้ อสิ ระ (มีค่าเทียบเท่า) 6 หน่วยกติ หมายเหตุ 1. การสอบประมวลความรู้ แผน ก แบบ ก 1 และแบบ ก 2 ไมม่ กี ารสอบประมวลความรู้ แผน ข มีการสอบประมวลความรู้ ภายหลังจากที่ได้เรียนและผ่านรายวิชาบงั คับและเงื่อนไขของ รายวชิ าบงั คับท้งั หมด สายวชิ าในการสอบประมวลความรู้ แบ่งออกเปน็ 2 สายวชิ า ได้แก่ 1. สายวิชาการบริหารการกอ่ สรา้ ง 2. สายวิชาความรู้ทัว่ ไป 2. ผู้ที่ไม่มีพื้นฐานความรู้ด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมอย่างเพียงพอ จะต้องศึกษาและสอบ ผ่านรายวิชา 263 401 พื้นฐานการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รฯ โดยไม่นับหนว่ ยกิต และใหแ้ สดงผลการเรียนเป็นสัญลักษณ์ S หรือ U 3. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข ต้องลงทะเบียนรายวิชา 263 403 คลินิกภาษา 1 และ 263 404 คลินิกภาษา 2 ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร โดยไม่นับหน่วยกิต และให้แสดงผลการสอบเป็น สัญลักษณ์ S หรือ U ส่วนนักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ โดยไม่นับหน่วยกิต และให้แสดงผลการเรยี นเป็นสัญลกั ษณ์ S หรือ U 4. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 ต้องลงทะเบียนรายวิชา 263 414 ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ โครงการกอ่ สร้าง โดยไมน่ ับหน่วยกติ และใหแ้ สดงผลการเรยี นเปน็ สญั ลกั ษณ์ S หรือ U รายวชิ า 1. แผน ก แบบ ก 1 หมวดวชิ าพ้ืนฐาน (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) 263 401 พ้นื ฐานการออกแบบดา้ นสถาปัตยกรรมและวศิ วกรรม 3*(3-0-6) (Basic Design in Architecture and Engineering) 263 402 ภาษาอังกฤษทางเทคนคิ สาหรับการบริหารโครงการก่อสรา้ ง 3*(3-0-6) (Technical English for Construction Project Management) 263 403 คลินิกภาษา 1 2*(2-0-4) (Language Clinic I) 263 404 คลินกิ ภาษา 2 2*(2-0-4) (Language Clinic II) หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าทล่ี งทะเบยี นเรียนโดยไม่นบั หนว่ ยกติ และวดั ผลเป็น S หรอื U หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 69 263 414 ระเบียบวธิ วี จิ ยั ทางการจดั การโครงการกอ่ สร้าง 3*(3-0-6) (Research Methodology in Construction Project Management) วทิ ยานิพนธ์/การค้นคว้าอสิ ระ 263 420 วิทยานพิ นธ์ มีค่าเทียบเท่า 36 หนว่ ยกติ (Thesis) 2. แผน ก แบบ ก 2 หมวดวชิ าพื้นฐาน 263 401 พ้ืนฐานการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมและวศิ วกรรม 3*(3-0-6) (Basic Design in Architecture and Engineering) 263 402 ภาษาองั กฤษทางเทคนิคสาหรับการบริหารโครงการกอ่ สรา้ ง 3*(3-0-6) (Technical English for Construction Project Management) 263 403 คลนิ กิ ภาษา 1 2*(2-0-4) (Language Clinic I) 263 404 คลินิกภาษา 2 2*(2-0-4) (Language Clinic II) หมวดวชิ าบังคับ จานวน 15 หนว่ ยกิต 263 410 การจดั การโครงการก่อสร้าง 1 3(3-0-6) (Construction Project Management I) 263 411 การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 2 3(3-0-6) (Construction Project Management II) 263 412 การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3 3(3-0-6) (Construction Project Management III) 263 413 การจดั การโครงการก่อสร้าง 4 3(3-0-6) (Construction Project Management IV) 263 414 ระเบยี บวิธวี ิจยั ทางการจดั การโครงการก่อสรา้ ง 3(3-0-6) (Research Methodology in Construction Project Management) หมวดวชิ าเลอื ก จานวนไมน่ ้อยกว่า 9 หนว่ ยกติ 263 430 ระบบสารสนเทศในการจัดการโครงการก่อสร้าง 3(3-0-6) (Information System in Construction Project Management) 263 431 คอมพิวเตอรส์ าหรับการจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Computer Application in Construction Project Management) 263 432 การจาลองขอ้ มลู อาคารสาหรบั การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Building Information Modeling for Construction Project Management) หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาที่ลงทะเบียนเรยี นโดยไมน่ บั หน่วยกติ และวัดผลเป็น S หรอื U หลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายละเอียดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 70 263 433 การบรหิ ารทรัพย์สินและการจดั การทรพั ยากรอาคาร 3(3-0-6) (Property and Facility Management) 263 434 การจดั การและเทคนิคการฟืน้ ฟแู ละบรู ณะอาคาร 3(3-0-6) (Building Refurbishment Management and Techniques) 263 435 การประเมินประสิทธภิ าพอาคาร 3(3-0-6) (Building Performance Assessment) 263 436 การบรู ณาการงานระบบอาคาร 3(3-0-6) (Integration of Building Systems) 263 437 การจดั การพลงั งานสาหรับโครงการก่อสร้าง 3(3-0-6) (Energy Management for Construction Project) 263 438 การก่อสร้างแบบยัง่ ยืน 3(3-0-6) (Sustainable Construction) 263 439 ความรเู้ บอื้ งตน้ ในการวิจัยเพอ่ื การดาเนินงาน 3(3-0-6) (Introduction to Operations Research) 263 440 การจดั การคณุ ภาพ 3(3-0-6) (Quality Management) 263 441 การจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ 3(3-0-6) (Human Resource Management) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดังกล่าวน้ีแล้ว นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลักสูตรอื่น ๆ ที่บัณฑิต วทิ ยาลัยเปดิ สอนไดโ้ ดยได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสตู รฯ วิทยานิพนธ์/การค้นควา้ อสิ ระ 263 421 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเท่า 12 หนว่ ยกติ (Thesis) 3. แผน ข หมวดวิชาพ้นื ฐาน 263 401 พื้นฐานการออกแบบด้านสถาปตั ยกรรมและวศิ วกรรม 3*(3-0-6) (Basic Design in Architecture and Engineering) 263 402 ภาษาองั กฤษทางเทคนคิ สาหรบั การบรหิ ารโครงการกอ่ สร้าง 3*(3-0-6) (Technical English for Construction Project Management) 263 403 คลนิ ิกภาษา 1 2*(2-0-4) (Language Clinic I) 263 404 คลนิ กิ ภาษา 2 2*(2-0-4) (Language Clinic II) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทีล่ งทะเบยี นเรยี นโดยไม่นบั หน่วยกติ และวัดผลเปน็ S หรอื U หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอยี ดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 71 หมวดวิชาบังคบั จานวน 15 หนว่ ยกติ 263 410 การจดั การโครงการกอ่ สร้าง 1 3(3-0-6) (Construction Project Management I) 263 411 การจดั การโครงการก่อสร้าง 2 3(3-0-6) (Construction Project Management II) 263 412 การจดั การโครงการก่อสร้าง 3 3(3-0-6) (Construction Project Management III) 263 413 การจดั การโครงการกอ่ สร้าง 4 3(3-0-6) (Construction Project Management IV) 263 414 ระเบยี บวิธวี ิจัยทางการจดั การโครงการกอ่ สร้าง 3(3-0-6) (Research Methodology in Construction Project Management) หมวดวิชาเลอื ก จานวนไม่น้อยกว่า 15 หนว่ ยกิต 263 430 ระบบสารสนเทศในการจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Information System in Construction Project Management) 263 431 คอมพิวเตอร์สาหรบั การจัดการโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Computer Application in Construction Project Management) 263 432 การจาลองขอ้ มลู อาคารสาหรบั การจดั การโครงการก่อสร้าง 3(3-0-6) (Building Information Modeling for Construction Project Management) 263 433 การบริหารทรัพยส์ ินและการจดั การทรพั ยากรอาคาร 3(3-0-6) (Property and Facility Management) 263 434 การจดั การและเทคนิคการฟ้นื ฟูและบรู ณะอาคาร 3(3-0-6) (Building Refurbishment Management and Techniques) 263 435 การประเมนิ ประสิทธิภาพอาคาร 3(3-0-6) (Building Performance Assessment) 263 436 การบรู ณาการงานระบบอาคาร 3(3-0-6) (Integration of Building Systems) 263 437 การจดั การพลงั งานสาหรับโครงการกอ่ สร้าง 3(3-0-6) (Energy Management for Construction Project) 263 438 การก่อสร้างแบบยงั่ ยืน 3(3-0-6) (Sustainable Construction) 263 439 ความร้เู บ้ืองต้นในการวิจัยเพื่อการดาเนินงาน 3(3-0-6) (Introduction to Operations Research) 263 440 การจดั การคณุ ภาพ 3(3-0-6) (Quality Management) หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอยี ดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 72 263 441 การจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ 3(3-0-6) (Human Resource Management) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดังกล่าวนีแ้ ล้ว นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลักสูตรอื่น ๆ ที่บัณฑติ วิทยาลยั เปดิ สอนได้โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสตู รฯ วทิ ยานพิ นธ์/การค้นคว้าอสิ ระ 263 422 การค้นคว้าอิสระ มคี า่ เทียบเท่า 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แผนการศึกษา รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 73 1. แผน ก แบบ ก 1 จานวนหน่วยกติ รหสั วชิ า ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (บ – ป – น) ช่ือรายวชิ า 6 6 263 420 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) รวมจานวน จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) รหัสวชิ า ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3*(3-0-6) ชอ่ื รายวชิ า 6 6 263 414 ระเบยี บวธิ วี ิจยั ทางการจดั การโครงการก่อสร้าง 263 420 วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) รวมจานวน 12 12 รหสั วชิ า ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ช่อื รายวชิ า จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) 263 420 วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 12 รวมจานวน 12 รหสั วิชา ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชอ่ื รายวชิ า 263 420 วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) รวมจานวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าท่ีเรยี นโดยไม่นบั หน่วยกติ หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

2. แผน ก แบบ ก 2 รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) 74 รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 จานวนหน่วยกติ ช่ือรายวชิ า (บ – ป – น) 3(3-0-6) 263 410 การจดั การโครงการก่อสร้าง 1 3(3-0-6) 263 411 การจดั การโครงการก่อสรา้ ง 2 3(3-0-6) 263 412 การจดั การโครงการกอ่ สร้าง 3 3(3-0-6) 263 413 การจดั การโครงการกอ่ สร้าง 4 12 รวมจานวน จานวนหน่วยกติ (บ – ป – น) รหัสวชิ า ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3(3-0-6) ชือ่ รายวชิ า 9 12 263 414 ระเบยี บวธิ วี ิจัยทางการจดั การโครงการกอ่ สร้าง วิชาเลือก จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) รวมจานวน 3*(3-0-6) 6 รหัสวชิ า ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 6 ช่ือรายวชิ า จานวนหนว่ ยกติ 263 403 คลินิกภาษา 1 (บ – ป – น) 263 421 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) 3*(3-0-6) 6 รวมจานวน 6 รหัสวิชา ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชื่อรายวชิ า 263 404 คลนิ กิ ภาษา 2 263 421 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) รวมจานวน หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าทเี่ รยี นโดยไมน่ บั หน่วยกติ หลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

3. แผน ข รายละเอียดของหลักสตู ร (มคอ.2) 75 รหสั วิชา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จานวนหนว่ ยกติ ชอื่ รายวชิ า (บ – ป – น) 3(3-0-6) 263 410 การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 1 3(3-0-6) 263 411 การจดั การโครงการกอ่ สร้าง 2 3(3-0-6) 263 412 การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3 3(3-0-6) 263 413 การจดั การโครงการก่อสร้าง 4 12 รวมจานวน จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) รหสั วชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3(3-0-6) ชื่อรายวชิ า 9 12 263 414 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางการจดั การโครงการกอ่ สร้าง วิชาเลือก จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) รวมจานวน 3*(3-0-6) 3 รหสั วิชา ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 3 ชื่อรายวชิ า จานวนหน่วยกติ 263 403 คลินิกภาษา 1 (บ – ป – น) 263 422 การค้นคว้าอสิ ระ (มีคา่ เทียบเทา่ ) 3*(3-0-6) 3 รวมจานวน 6 9 รหสั วชิ า ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชอ่ื รายวชิ า 263 404 คลินกิ ภาษา 2 263 422 การคน้ คว้าอิสระ (มคี า่ เทียบเทา่ ) วิชาเลือก รวมจานวน หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาท่ีเรยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ หลักสตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 76 คาอธบิ ายรายวชิ า 263 401 พนื้ ฐานการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม 3(3-0-6) (Basic Design in Architecture and Engineering) เงื่อนไข : วดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U พื้นฐานการออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม การวิเคราะห์ปัญหาในงาน ออกแบบและก่อสร้างประเภทตา่ ง ๆ โดยการอภิปรายและสมั มนา Fundamentals of architectural and engineering design; analyzing various types of problems in design and construction through discussions in class. 263 402 ภาษาองั กฤษทางเทคนิคสาหรบั การบรหิ ารโครงการกอ่ สร้าง 3(3-0-6) (Technical English for Construction Project Management) เงอ่ื นไข : วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U ทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด รวมถึงการเพิ่มพูนทักษะการนาเสนองานและ การอภิปรายในหัวขอ้ ที่เกย่ี วกับการจัดการโครงการกอ่ สร้าง English language skills in reading, writing, listening, and speaking, including increasing presentation and discussion skills on topics relating to construction management. 263 403 คลนิ กิ ภาษา 1 2(2-0-4) (Language Clinic I) เงอ่ื นไข : วดั ผลการศึกษาเปน็ S หรอื U ประเภทและการเลือกอ่านผลงานทางวิชาการ กลยุทธ์การอ่าน ฝึกทักษะการอ่านจับ ใจความ การคิดเชิงวิพากษ์ การบนั ทึก การวเิ คราะหแ์ ละการสรปุ เน้อื หา Types and selection of academic literature; reading strategies; practice reading comprehension, critical thinking, note-taking, content analyzing, and summarizing. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 77 263 404 คลนิ กิ ภาษา 2 2(2-0-4) 263 410 263 411 (Language Clinic II) เงือ่ นไข : วดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U โครงสร้างการเขียนเชิงวิชาการ การพัฒนาประเด็นในการเขียนรายงานและบทความ วิชาการ การฝึกเข้มทักษะการเขียนเชิงวิชาการ จรรยาบรรณเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิง การใช้ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ในการจัดการรูปแบบการเขียน การอ้างอิง และการทารายการ เอกสารอ้างองิ ประเภทการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการและการส่งผลงานเพอ่ื ตพี มิ พ์ Structure of academic writing; academic and article report argument formation; intensive practice in academic writing, ethics, and reference; applying software(s) for managing writing format, citation, and references; types of publications and submission process. การจดั การโครงการก่อสร้าง 1 3(3-0-6) (Construction Project Management I) ภาพรวมของธุรกิจและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และการจัดการงานออกแบบ ทฤษฎีในการจัดการโครงการก่อสร้าง การอภิปรายและสัมมนา ประเดน็ ปัญหาทเี่ กย่ี วขอ้ งสาหรับพัฒนาโครงการวิจัยในสาขาการจัดการโครงการกอ่ สร้าง Overview of construction business and industry; project feasibility study and design management; theories of construction project management; discussion and seminar in related issues to formulate research questions in construction project management. การจัดการโครงการก่อสรา้ ง 2 3(3-0-6) (Construction Project Management II) การวางแผนต้นทุนโครงการ การจัดการโครงการก่อสร้างตามลาดับวัฏจักรโครงการ องค์การก่อสร้าง ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง เอกสารการประมูล การคัดเลือกผู้รับเหมา และการ จัดเตรียมเอกสารสญั ญาก่อสรา้ ง Project cost planning; construction project management activities based on construction life-cycle; project organization, procurement systems, bidding documents, contractor selection, and construction contract arrangement. หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 78 263 412 การจัดการโครงการกอ่ สร้าง 3 3(3-0-6) 263 413 263 414 (Construction Project Management III) การบริหารสัญญา เครื่องมือในการจัดการเวลาและการควบคุมต้นทุนโครงการ เอกสาร และการสอ่ื สารในที่ก่อสร้าง อภิปรายและสัมมนาปญั หาความขดั แยง้ และการแกป้ ญั หาความขดั แย้ง Contract administration; tools for time management and cost control; site documentation and communication; discussion and seminar in conflicts and disputes resolutions. การจัดการโครงการก่อสรา้ ง 4 3(3-0-6) (Construction Project Management IV) การบริหารคุณภาพของโครงการ การบริหารความเสี่ยง และการจัดการความปลอดภัย ทฤษฎีการจัดการโครงการก่อสร้างสมัยใหม่ อภิปรายและสัมมนาประเด็นปัญหาในการจัดการ โครงการ Project quality management, risk and safety management; advanced construction project management theories; discussion and seminar in issues in project management. ระเบยี บวธิ ีวิจยั ทางการจัดการโครงการก่อสรา้ ง 3(3-0-6) (Research Methodology in Construction Project Management) เงอ่ื นไข : แผน ก แบบ ก 1 วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U แนะนาระเบียบวิจัย วิธีดาเนินงานวิจัยเบื้องต้นและงานวิจัยขั้นสูง ลักษณะเฉพาะของการ วิจัยทางการจัดการโครงการก่อสร้าง การนาเสนอ การอภิปรายหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ การจัดทา โครงร่างการวิจัย การเก็บข้อมูล เครื่องมือในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความผล การศึกษา Introduction to research methodology; basic and advanced research methodology; unique characteristics of research in construction project management; presentation and discussion on topics of interests; research proposal preparation; data gathering, research tools, data analysis, interpretation. หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 79 263 420 วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทียบเท่า 36 หน่วยกิต 263 421 263 422 (Thesis) นักศึกษาเลือกทาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง แสดงให้เห็นถึง ความสามารถในการคิดและวิเคราะห์ที่เป็นระบบ การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการ ปฏิบัติ และการพิสูจน์ความน่าเชื่อถือของผลการศึกษา ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานพิ นธ์ Individual research on a topic concerning construction project management; demonstrating abilities in: systematic thinking and data analysis; explaining relationships between theories and practices; and showing reliable study results under the supervision of a thesis supervisor. วิทยานิพนธ์ มคี า่ เทยี บเทา่ 12 หน่วยกิต (Thesis) วชิ าบงั คบั ก่อน : 263 414 ระเบยี บวธิ ีวจิ ัยทางการจดั การโครงการก่อสรา้ ง นักศึกษาเลือกทาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง แสดงให้เห็นถึง ความสามารถในการคิดและวิเคราะห์ที่เป็นระบบ และการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและ การปฏบิ ตั ิ ภายใตก้ ารควบคมุ ของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on a topic concerning construction project management; demonstrating abilities in systematic thinking and data analysis and explaining relationships between theories and practices under the supervision of a thesis supervisor. การคน้ ควา้ อิสระ มคี ่าเทียบเท่า 6 หนว่ ยกิต (Independent Study) วิชาบังคบั ก่อน : 263 414 ระเบยี บวิธีวจิ ัยทางการจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง การศึกษาเฉพาะบุคคลในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้างที่น่าสนใจ โดย แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการคิดที่เป็นระบบ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษาการ คน้ คว้าอิสระ Individual research on a topic concerning construction project management; demonstrating abilities in systematic thinking and data analysis under the supervision of an independent study supervisor. หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 80 263 430 ระบบสารสนเทศในการจัดการโครงการก่อสร้าง 3(3-0-6) 263 431 263 432 (Information System in Construction Project Management) แนวความคิดของระบบสารสนเทศพื้นฐาน และการประยุกต์ใช้กับกระบวนการจัดการ โครงการก่อสร้าง การออกแบบและวางแผนระบบสารสนเทศ การควบคมุ การกอ่ สร้าง การวเิ คราะห์ รายงาน และการประเมินผลระบบ ระบบสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์เชิงการจัดการ และการ ตัดสินใจสาหรับผู้บริหาร Concept of basic information system; practical applications to construction project management procedures; information system design and planning; construction control; system analysis, reporting and evaluation; information system for managerial analysis and executive decision-making. คอมพวิ เตอรส์ าหรบั การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Computer Applications in Construction Project Management) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สาหรับการจัดการโครงการก่อสร้าง การนา คอมพิวเตอร์มาใช้ในกระบวนการจัดการโครงการก่อสร้างในแต่ละขั้นตอน การทดลองใช้โปรแกรม ตา่ ง ๆ ในการวางแผน ประเมนิ และจัดการโครงการ การเลือกและนาโปรแกรมไปประยุกตใ์ ช้ Basic knowledge of computer applications in construction project management; use of computer technology in construction management process; examining software used in project planning, estimating, and management; software selection and applications. การจาลองข้อมลู อาคารสาหรับการจัดการโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Building Information Modeling for Construction Project Management) หลักการและทฤษฎีในการจาลองข้อมูลอาคาร (บิม) การประยุกต์ใช้บิม ในการจัดการ โครงการออกแบบและก่อสรา้ ง และการแก้ปญั หาในกระบวนการก่อสรา้ ง Principles and theories of Building Information Modeling (BIM); BIM applications in design and construction project management and problem solving. หลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 81 263 433 การบรหิ ารทรพั ยส์ นิ และการจดั การทรพั ยากรอาคาร 3(3-0-6) 263 434 263 435 (Property and Facility Management) นิยามการบริหารทรัพย์สินและการจัดการทรัพยากรอาคาร ประเภททรัพย์สิน การจัดการ ทรัพย์สินในครอบครอง บทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหารทรัพย์สินและผู้จัดการทรัพยากร อาคารในโครงการกอ่ สร้าง มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Definitions of property and facility management; types of properties; portfolio management; role and responsibility of property and facility managers in construction project. Field trips required. การจดั การและเทคนิคการฟ้ืนฟแู ละบรู ณะอาคาร 3(3-0-6) (Building Refurbishment Management and Techniques) หลักการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคาร การวิเคราะห์สภาพอาคารเดิมและความ คมุ้ ทุนในการปรับปรงุ อาคาร ขน้ั ตอนและเทคนคิ วิธกี ารปรับปรงุ อาคารท่ีไม่ใชง้ านแลว้ การประมาณ การค่าใชจ้ ่ายและงบประมาณในการปรบั ปรงุ และการเสนอเทคนคิ วธิ กี ารปรบั ปรงุ ท่เี หมาะสม มกี ารศึกษานอกสถานที่ Principles of building refurbishment management; analyzing existing building conditions and feasibility study for refurbishing; processes and techniques in refurbishing obsolete buildings; cost and budget estimation and refurbishing techniques proposal. Field trips required. การประเมนิ ประสิทธิภาพอาคาร 3(3-0-6) (Building Performance Assessment) หลักการประเมินประสิทธิภาพอาคารและวัตถุประสงค์ การดูแลรักษาสภาพอาคาร เพิ่ม ประสิทธภิ าพอาคาร เปลี่ยนแปลงการใชส้ อย วิธีการและเครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการประเมนิ การวเิ คราะห์ ผลการประเมินประสิทธิภาพอาคาร และการจัดทารายงาน มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Principles and objectives of building performance assessment consisting of building maintenance, building performance improvement, and building use adaptation; processes and equipment used for assessment; results analysis and assessment report writing. Field trips required. หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 82 263 436 การบูรณาการงานระบบอาคาร 3(3-0-6) 263 437 (Integration of Building Systems) การบูรณาการเทคโนโลยีระบบอาคารต่าง ๆ ในขั้นตอนการออกแบบและก่อสร้าง ระบบ กรอบอาคาร ระบบโครงสร้าง ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้า แสงสว่างและไฟฟ้ากาลงั ระบบเสยี ง ระบบอาคารอัตโนมัติ ระบบสื่อสาร การตกแตง่ ภายในและภูมิ สถาปตั ยกรรม ตลอดจนแนวทางการตรวจสอบระบบอาคารตามทก่ี ฎหมายกาหนด มีการศกึ ษานอกสถานที่ Integration of building-system technologies in design and construction processes concerning: building envelope; structural system; heating, ventilation, and air-conditioning (HVAC) systems; sanitary system; lighting and electrical system; acoustic system; building automation system; communication system; and interior and landscape design; guidelines for building systems inspection. Field trips required. การจดั การพลังงานสาหรบั โครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Energy Management for Construction Project) การจัดการด้านการอนุรักษ์พลังงานในขั้นตอนการออกแบบอาคาร การก่อสร้าง และการ ใช้อาคาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงานอาคาร การทดสอบระบบอาคาร ระบบกรอบ อาคารและระบบประกอบอาคาร การประเมินประสิทธิภาพอาคารด้านการประหยัดพลังงานและ ความคุ้มค่าในการลงทนุ มีการศึกษานอกสถานท่ี Energy conservation management in building design, construction, and occupancy; energy conservation law and regulations; building commissioning; and building envelope and systems; building energy performance assessment and energy investment evaluation. Field trips required. หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 83 263 438 การกอ่ สรา้ งแบบย่ังยืน 3(3-0-6) 263 439 (Sustainable Construction) 263 440 263 441 แนวทางสาหรับการจัดการโครงการก่อสร้างอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการ ส่งเสริมคุณภาพของสภาพแวดล้อมภายในอาคาร แนวทางการประเมินอาคารที่เป็นมิตรต่อ ส่งิ แวดล้อมของไทยและตา่ งประเทศ ทรีส์ และ ลีด มีการศึกษานอกสถานท่ี Guidelines for environmentally friendly building construction project management and indoor environmental quality improvement; Thai and international methods for rating green building projects: TREES and LEED. Field trips required. ความรเู้ บอื้ งต้นในการวจิ ยั เพ่อื การดาเนนิ งาน 3(3-0-6) (Introduction to Operations Research) ความรู้เบื้องต้นในการวิจัยดาเนินงาน เทคนิคการจาลองทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ในการ ตดั สนิ ใจเชงิ การจัดการ และการประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั การโครงการก่อสรา้ ง Introduction to operations research; mathematical modeling techniques in managerial decision-making and applications for construction project management. การจดั การคุณภาพ 3(3-0-6) (Quality Management) แนวความคิดพื้นฐานของการจัดการคุณภาพ เทคนิค การประยุกต์ใช้และวิธีการแบบต่าง ๆ ในการจัดการคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลกระทบทั้งภายนอกและภายในที่ส่งผลต่อกระบวนการควบคุม คุณภาพ การจัดทาแผนในการจัดการคณุ ภาพ Basic concepts of quality management; techniques, applications and alternative approaches to quality management; internal and external factors affecting quality control processes; quality management planning. การจดั การทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6) (Human Resource Management) พฤติกรรมและอุปนิสัยของมนุษย์ แนวทางการปฏิบัติเพื่อพัฒนาจิตใจและด้านสวัสดิการ การฝึกอบรม การควบคุมและสั่งการ และการประเมินผล ปัจจัยที่มีผลกระทบทั้งภายนอกและ ภายใน การแกไ้ ขสถานการณ์ Human attitudes and behavior; practical approaches to improving morals and providing welfare; training, controlling, assigning and assessing; internal and external factors affecting human resource management. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอียดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 84 รายละเอยี ดของหลักสูตร หลักสูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการออกแบบชุมชนเมอื ง (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564) ชื่อหลกั สูตร ชือ่ หลักสูตร ภาษาไทย หลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการออกแบบชมุ ชนเมอื ง ภาษาอังกฤษ Master of Architecture Program in Urban Design ช่ือปริญญาและสาขาวชิ า ชื่อเตม็ ภาษาไทย สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ (การออกแบบชุมชนเมอื ง) ชื่อเต็มภาษาองั กฤษ Master of Architecture (Urban Design) ช่ือย่อภาษาไทย สถ.ม. (การออกแบบชุมชนเมือง) ช่ือย่อภาษาองั กฤษ M. Arch. (Urban Design) วิชาเอก ไม่มี จานวนหน่วยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 มคี า่ เทยี บเทา่ 36 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 2 จานวน 36 หน่วยกิต แผน ข ไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกติ ภาษาอังกฤษ อาชพี ทส่ี ามารถประกอบได้หลังสาเรจ็ การศกึ ษา อาชีพทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการพฒั นาเมอื งและคณุ ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชนเมือง เช่น 1. นกั ออกแบบชมุ ชนเมอื ง 2. นกั วชิ าการด้านชมุ ชนเมอื ง 3. สถาปนกิ ผังเมือง 4. ผสู้ อนในสถาบนั การศึกษา 5. ท่ีปรกึ ษาโครงการพฒั นาชมุ ชนเมือง 6. นกั วิจยั 7. ประกอบอาชพี อิสระด้านการออกแบบและพัฒนาชมุ ชนเมอื ง การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบยี นเรยี นข้ามมหาวิทยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงภายหลัง โครงสร้างหลกั สูตร หลกั สตู รแผน ก แบบ ก 1 ทาวิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเท่า 36 หนว่ ยกิต 1. หมวดวชิ าบังคับ (ไมน่ บั หน่วยกิต) 3 หนว่ ยกิต 2. วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) 36 หน่วยกิต หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 85 หลกั สตู รแผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวชิ า และทาวิทยานพิ นธ์ รวมจานวน 36 หนว่ ยกติ 1. หมวดวิชาบงั คบั (ไมน่ ับหนว่ ยกติ ) 3 หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาบงั คับ 24 หนว่ ยกิต 3. วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 12 หน่วยกิต หลักสูตรแผน ข ศึกษารายวิชา และทาการค้นคว้าอิสระ รวมจานวนไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และต้องทา การสอบประมวลความรู้ เมอื่ มหี น่วยกติ สะสมไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกติ 1. หมวดวิชาบังคับ 27 หน่วยกิต 2. หมวดวชิ าเลือก ไม่นอ้ ยกว่า 3 หนว่ ยกติ 3. การคน้ ควา้ อสิ ระ (มีคา่ เทยี บเท่า) 6 หนว่ ยกติ รายวิชา 1. แผน ก แบบ ก 1 หมวดวชิ าบังคบั (ไม่นับหนว่ ยกติ ) จานวน 3 หน่วยกติ 264 510 สมั มนาการวิจยั ในงานออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3*(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 36 หนว่ ยกิต 264 520 วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทียบเทา่ 36 หน่วยกิต (Thesis) 2. แผน ก แบบ ก 2 หมวดวชิ าบงั คบั (ไมน่ ับหน่วยกติ ) จานวน 3 หนว่ ยกติ 264 510 สัมมนาการวจิ ยั ในงานออกแบบชุมชนเมอื ง 3*(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) หมวดวิชาบงั คบั จานวน 24 หนว่ ยกิต 264 511 ทฤษฎกี ารออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Theories) 264 512 สัมมนากระบวนการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Process Seminar) 264 513 อนาคตของเมอื ง 3(3-0-6) (Future of City) 264 514 ขอ้ มลู และเครื่องมอื การวเิ คราะห์เพ่อื การออกแบบชุมชนเมอื ง 3(2-2-5) (Data and Analytical Tools for Urban Design) 264 515 ข้อมูลมหัตและดิจิทัลเทคโนโลยีเพ่อื การออกแบบชุมชนเมือง 3(2-2-5) (Big Data and Digital Technology in Urban Design) 264 517 ปฏิบัตกิ ารการออกแบบชมุ ชนเมืองขน้ั พนื้ ฐาน 3(0-6-3) (Fundamental Urban Design Studio) 264 518 ปฏิบัตกิ ารการออกแบบชมุ ชนเมืองอยา่ งสร้างสรรค์ 6(0-12-6) (Creative Urban Design Studio) หลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 86 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) 12 หนว่ ยกิต 264 521 วิทยานิพนธ์ มีค่าเทียบเท่า 12 หนว่ ยกติ (Thesis) 3. แผน ข หมวดวิชาบังคับ จานวน 27 หน่วยกิต 264 511 ทฤษฎกี ารออกแบบชุมชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Theories) 264 512 สมั มนากระบวนการออกแบบชุมชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Process Seminar) 264 513 อนาคตของเมอื ง 3(3-0-6) (Future of City) 264 514 ขอ้ มลู และเครอื่ งมอื การวิเคราะหเ์ พื่อการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(2-2-5) (Data and Analytical Tools for Urban Design) 264 515 ขอ้ มูลมหตั และดิจทิ ัลเทคโนโลยเี พอ่ื การออกแบบชุมชนเมือง 3(2-2-5) (Big Data and Digital Technology in Urban Design) 264 516 เปดิ โลกการเรียนรู้เพ่ือการออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Open Lectures for Urban Design) 264 517 ปฏิบตั ิการการออกแบบชมุ ชนเมอื งขน้ั พื้นฐาน 3(0-6-3) (Fundamental Urban Design Studio) 264 518 ปฏบิ ตั กิ ารการออกแบบชมุ ชนเมอื งอย่างสรา้ งสรรค์ 6(0-12-6) (Creative Urban Design Studio) หมวดวชิ าเลอื ก จานวนไมน่ ้อยกว่า 3 หนว่ ยกิต 264 510 สัมมนาการวจิ ัยในงานออกแบบชุมชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) 264 530 แนวทางการนาแผนไปปฏบิ ัติในการออกแบบชุมชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Implementation) 264 531 การศึกษาสัณฐานชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Study of Urban Morphology) 264 532 การศึกษาหัวข้อพิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) การค้นควา้ อิสระ (มีค่าเทียบเท่า) 6 หน่วยกติ 264 522 การคน้ ควา้ อสิ ระเพอ่ื การออกแบบชุมชนเมือง มีค่าเทยี บเทา่ 6 หนว่ ยกติ (Independent Urban Design Study) หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แผนการศึกษา รายละเอียดของหลักสตู ร (มคอ.2) 87 1. แผน ก แบบ ก 1 จานวนหนว่ ยกติ รหัสวิชา ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (บ – ป – น) 3*(3-0-6) 264 510 ชอ่ื รายวชิ า 15 264 520 15 สัมมนาการวิจยั ในงานออกแบบชุมชนเมอื ง วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) จานวนหน่วยกติ (บ – ป – น) รวมจานวน 15 15 รหัสวชิ า ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 264 520 จานวนหนว่ ยกติ ชอ่ื รายวชิ า (บ – ป – น) 6 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 6 รวมจานวน รหัสวิชา ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 264 520 ชอ่ื รายวชิ า วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) รวมจานวน หมายเหตุ * รายวชิ าท่เี รยี นโดยไม่นบั หน่วยกิต หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 88 2. แผน ก แบบ ก 2 รหสั วชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) 264 511 ชื่อรายวชิ า 3(3-0-6) 264 512 3(3-0-6) 264 513 ทฤษฎีการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 514 สัมมนากระบวนการออกแบบชมุ ชนเมือง 3(2-2-5) 264 517 อนาคตของเมอื ง 3(0-6-3) ขอ้ มูลและเครือ่ งมอื การวเิ คราะหเ์ พอื่ การออกแบบชุมชนเมอื ง 15 ปฏิบตั กิ ารการออกแบบชมุ ชนเมืองข้นั พน้ื ฐาน รวมจานวน รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 จานวนหนว่ ยกติ (บ – ป – น) 264 510 ชือ่ รายวชิ า 3*(3-0-6) 264 515 3(2-2-5) 264 518 สมั มนาการวจิ ยั ในงานออกแบบชุมชนเมือง 6(0-12-6) 264 521 ขอ้ มลู มหตั และดิจิทัลเทคโนโลยเี พ่ือการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3 ปฏิบตั ิการการออกแบบชมุ ชนเมอื งอยา่ งสรา้ งสรรค์ 12 วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) รวมจานวน รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น จานวนหนว่ ยกติ 264 521 (บ – ป – น) ช่อื รายวชิ า 3 3 วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) รวมจานวน รหัสวิชา ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 จานวนหนว่ ยกติ 264 521 (บ – ป – น) ชือ่ รายวชิ า 6 6 วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) รวมจานวน หมายเหตุ * รายวิชาท่ีเรยี นโดยไม่นับหนว่ ยกติ หลักสูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 89 3. แผน ข รหสั วชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ ชอ่ื รายวชิ า (บ – ป – น) 264 511 3(3-0-6) 264 512 ทฤษฎกี ารออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 513 สมั มนากระบวนการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 514 อนาคตของเมือง 3(2-2-5) 264 517 ข้อมลู และเครือ่ งมอื การวเิ คราะหเ์ พ่อื การออกแบบชุมชนเมือง 3(0-6-3) ปฏิบัตกิ ารการออกแบบชมุ ชนเมอื งขนั้ พื้นฐาน 15 รวมจานวน รหสั วชิ า ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จานวนหน่วยกติ ชอ่ื รายวชิ า (บ – ป – น) 264 515 3(2-2-5) 264 516 ขอ้ มูลมหตั และดจิ ทิ ลั เทคโนโลยีเพ่ือการออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) 264 518 เปิดโลกการเรยี นรเู้ พื่อการออกแบบชุมชนเมือง 6(0-12-6) ปฏิบัตกิ ารการออกแบบชุมชนเมืองอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3 วชิ าเลือก 15 รวมจานวน รหสั วิชา ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จานวนหนว่ ยกติ 264 522 ช่อื รายวชิ า (บ – ป – น) 6 การคน้ ควา้ อิสระเพือ่ การออกแบบชุมชนเมือง (มคี ่าเทียบเทา่ ) 6 รวมจานวน หลักสตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอียดของหลักสตู ร (มคอ.2) 90 คาอธบิ ายรายวชิ า 264 510 สัมมนาการวิจัยในงานออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) เง่ือนไข แผน ก แบบ ก 1 และแผน ก แบบ ก 2 วดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U แผน ข วัดผลการศกึ ษาเปน็ คา่ ระดับ ทฤษฎีและความรู้ที่เกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการออกแบบชุมชนเมืองที่นาไปสู่การตั้งคาถาม ในการวิจัยที่สัมพันธ์กับประเด็นร่วมสมัยของเมือง รวมถึงออกแบบวิจัยเบื้องต้น ทั้งการวิจัยเชิง ปริมาณและคุณภาพ ระเบียบวิธีวิจัยในขั้นตอนต่าง ๆ การใช้วิธีการทางสถิติเป็นเครื่องมือ การ วเิ คราะห์ขอ้ มูล การตคี วามผลการวจิ ยั และการนาผลไปใช้ Theories and knowledge applied in urban design research which lead to a crucial research questions that respond to contemporary urban scenario; basic research design; quantitative and qualitative research; methodology frameworks; basic use of statistics; data inquiry and analysis; interpretation of findings and their implications. 264 511 ทฤษฎีการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Theories) วิวัฒนาการ ความเคลื่อนไหว และทฤษฎีการออกแบบชุมชนเมืองตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ปัญหา ปัจจัยและกระบวนการการออกแบบชุมชนเมือง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการปฏิบัติงาน การออกแบบ Evolutions, movements, and theories concerning urban design from past to present; issues, factors and processes involved in urban design; applications of theories in urban design. 264 512 สมั มนากระบวนการออกแบบชุมชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Process Seminar) อภิปรายหลักการ วิธีการ และกระบวนการปฏิบัติงานการออกแบบชุมชนเมือง การ คัดเลือกพื้นที่ศึกษา การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์แบบแผนทางสังคมและกายภาพ การ กาหนดแนวคิดและแนวทางการออกแบบ เทคนิคการออกแบบสภาวะแวดล้อม การนาเสนองาน ออกแบบ การนาแผนไปปฏิบัติ และการมสี ว่ นร่วม มกี ารศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ Discussions on principles, methods and processes of urban design practice, including site selection; data collection and analysis of socio-spatial patterns; design inquiry; techniques of environmental design; design communication; design implementation and public participation. Involves study visits. หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 91 264 513 อนาคตของเมือง 3(3-0-6) 264 514 264 515 (Future of City) อภิปราย ค้นคว้าและคาดการณ์แนวโน้มของเมืองในอนาคตทั้งในบริบทโลกและทอ้ งถิ่นท่ี ตอบรับกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และวิถีชีวิตของผู้คน ซึ่งนามาสู่การ สรา้ งโจทยก์ ารออกแบบชมุ ชนเมืองทร่ี ว่ มสมัยในฉากทัศน์อนาคต มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ Debates, explorations and anticipations on the future of cities in global and local contexts; influences of dynamic of socio-economic forces, technology disruptions and contemporary urban lifestyle to establish a qualiry urban design brief in futuristic scenarios. Involves study visits. ข้อมูลและเครอื่ งมอื การวเิ คราะหเ์ พอื่ การออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(2-2-5) (Data and Analytical tools for Urban Design) วิธีการและเครื่องมือในการสืบค้น เก็บข้อมูล และแนวทางการวิเคราะห์ลักษณะทาง กายภาพและสร้างความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ สังคม และพฤติกรรมมนุษย์ อันนามาสู่การสร้าง เทคนคิ การวิเคราะห์เพอ่ื การออกแบบชุมชนเมอื ง Procedures and tools for data inquiry, collection and analysis of physical urban elements relating to socio-economics, human behaviour; analytical techniques for urban design. ขอ้ มูลขนาดใหญ่และดจิ ทิ ลั เทคโนโลยีเพอ่ื การออกแบบชุมชนเมือง 3(2-2-5) (Big Data and Digital Technology in Urban Design) วิธีการและเครื่องมือสืบค้น เก็บข้อมูล และแนวทางการวิเคราะห์แหล่งข้อมูลข้อมูลขนาด ใหญ่ซึ่งมีความหลากหลาย และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเติบโตที่รวดเร็ว โดยเฉพาะใน ระบบอินเทอเนต และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมไปถึงการเรียนรู้การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการกับ ข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ด้วยการฝึกปฏิบัติการใช้งานระบบปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ระบบภูมิ สารสนเทศเพื่อใช้ในการออกแบบและวางผงั ชมุ ชนเมืองในระดับสงู Procedures and tools for data inquiry, collection and analysis of Big Data— enormous, diverse and velocity data available on the internet and devices;); applications of digital technology to manage such Big Data with computing operation and geographical information systems, leading to advanced urban design and planning. หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 92 264 516 เปดิ โลกการเรยี นรู้เพ่ือการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 517 264 518 (Open Lectures for Urban Design) รวบรวมกลุ่มวิชาที่เปิดสอนภายในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หรอื อื่น ๆ ที่ได้รับความร่วมมือ ซึ่งมีหัวข้อบรรยายที่ส่งเสริมความเข้าใจด้านการออกแบบชุมชนให้ นกั ศึกษาเลอื กเรยี นตามความสนใจ และสรปุ เปน็ องคค์ วามรูด้ า้ นสหวิทยาการ Attending a series of collective open lectures (curated to individual attendance by student’s academic advisor) available in Faculty of Architecture Silpakorn University and/or collaborated organisations to establish the multi- disciplinary knowledge in urban design. ปฏบิ ตั ิการการออกแบบชมุ ชนเมืองข้นั พื้นฐาน 3(0-6-3) (Fundamental Urban Design Studio) ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมืองขั้นพื้นฐานเพื่อทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบด้านกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจของพื้นที่และเมือง โดยมีพื้นที่ปฏิบัติการทีม่ ีขั้นตอน ของการดาเนนิ งานไม่ซับซอ้ น เพอ่ื ใหเ้ ห็นภาพรวมของกระบวนการออกแบบชมุ ชนเมือง และรปู แบบ การออกแบบชุมชนเมืองรปู แบบตา่ ง ๆ มีการศกึ ษาดงู านนอกสถานท่ี Fundamental urban design studio; basic understanding of relationship among physical, social and economic structures in public spaces and city; defining study area comprehensible to students; overall urban design process in various types and scales of projects. Involves study visits. ปฏิบัตกิ ารการออกแบบชมุ ชนเมอื งอยา่ งสรา้ งสรรค์ 6(0-12-6) (Creative Urban Design Studio) ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง โดยนักศึกษามีอิสระในการเลือกประเด็นการศึกษาที่ สนใจตามความเชี่ยวชาญของกลุ่มอาจารย์ที่ปรึกษา และดาเนินการศึกษาอย่างลึกซึ้ง โดยเน้นการ เกบ็ ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมลู การสังเคราะห์ และการเสนอหลักการเพอื่ การออกแบบ มกี ารศกึ ษาดงู านนอกสถานท่ี Advanced urban design studio exercise on individual’s interest which is approved by mentors; deep and thorough urban design process; data collection, analysis, synthesis and alternative design solutions. Involves study visits. หลกั สตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 93 264 520 วทิ ยานพิ นธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 36 หนว่ ยกติ 264 521 264 522 (Thesis) โครงการศึกษาวิจัยเฉพาะบุคคลในหัวข้อที่สนใจด้านการออกแบบชุมชนเมือง โดยความ เหน็ ชอบของอาจารย์ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ Individual research on urban design topic supported and supervised by advisor; emphasis on academic approach. วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเท่า 12 หนว่ ยกติ (Thesis) โครงการศึกษาวิจัยเฉพาะบุคคลในหัวข้อที่สนใจด้านการออกแบบชุมชนเมือง โดยความ เห็นชอบของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on urban design topic supported and supervised by advisor; emphasis on academic approach. การค้นควา้ อสิ ระเพอ่ื การออกแบบชุมชนเมือง มีค่าเทียบเท่า 6 หนว่ ยกติ (Independent Urban Design Study) การค้นคว้าในเรื่องที่สนใจเป็นพิเศษ ด้วยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา การฝึก ปฏิบตั แิ ละแสดงความสามารถในการทาการศกึ ษาวจิ ยั ทางดา้ นการออกแบบชุมชนเมอื ง โดยมคี วาม กระชับแต่ครบถ้วนตามกระบวนการ และเน้นไปที่ผลลัพธ์ที่สร้างแนวทางการออกแบบ และโจทย์ ในการพัฒนาพ้นื ที่ Individual study on urban design topics which is supported and supervised by advisor; comprehensive and compact research process, focusing on design principles and area development brief. หลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 94 264 530 แนวทางการนาแผนไปปฏิบตั ิในการออกแบบชุมชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 531 264 532 (Urban Design Implementation) หลักการ วิธีการ และกระบวนการในการนาผลงานออกแบบ แผนการ และนโยบาย ไป ปฏิบัติให้สัมฤทธ์ผลตรงตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ทั้งในโครงการภาครัฐและเอกชน การเลือกสรร แนวทางในการปฏบิ ัติการ ความเป็นไปไดข้ องโครงการ การจดั การองคก์ ร การวิเคราะห์การเงนิ การ ลงทุน การวิเคราะห์ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย และการมีส่วนร่วม โดยอาจมีการลงมือปฏิบัติงานจริงในเชงิ Urban intervention มกี ารศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี Principles, methods and processes for implementing urban design plans and policies; implementation approaches for public and private projects; project feasibility; project organisation and management; investment, stakeholder analysis and public participation; applying the initiatives into the practice as urban intervention. Involves study visits. การศกึ ษาสัณฐานชุมชนเมือง 3(3-0-6) (Study of Urban Morphology) สัณฐานชุมชนเมืองและการวิเคราะห์ผังพื้นจากองค์ประกอบเมืองที่ซับซ้อนและ เปลี่ยนแปลง การวเิ คราะหท์ างประวัตศิ าสตรแ์ ละภูมศิ าสตรข์ องสัณฐานเมืองในแตล่ ะชว่ งเวลา การ ชี้ให้เห็นถึงกระบวนการก่อตัว ปรับเปลี่ยน และคงอยู่ของกรอบสัณฐานเมือง กระบวนการท้องถิ่น ในการพฒั นารปู ทรงของเมอื งซงึ่ นาไปสูก่ ารออกแบบสภาวะแวดลอ้ มทีต่ อบสนอง Studies of urban morphology and analysis of ground plan through complex urban elements and their transformations; historico-geographical analysis of urban morphology in different periods; introduction to formations, modifications and consolidations of morphological frames; local processes of form-productions which lead to design for responsive environment. การศกึ ษาหวั ข้อพิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) การออกแบบชมุ ชนเมือง ในเร่ืองท่สี นใจ หรอื เปน็ เรือ่ งทส่ี าคัญอยใู่ นขณะนน้ั Open topic of special interest or current issues concerning urban design. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 95 รายละเอยี ดของหลักสตู ร หลักสตู รภมู ิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ชอื่ หลักสูตร ชื่อหลกั สูตร หลกั สตู รภูมสิ ถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต ภาษาไทย Master of Landscape Architecture Program ภาษาองั กฤษ ช่อื ปริญญาและสาขาวชิ า ภูมสิ ถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต ชอ่ื เตม็ ภาษาไทย Master of Landscape Architecture ชอ่ื เต็มภาษาอังกฤษ ช่อื ยอ่ ภาษาไทย ภ.สถ.ม. ชื่อยอ่ ภาษาอังกฤษ M.L.A. วิชาเอก ไม่มี จานวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลักสตู ร แผน ก แบบ ก 1 มีคา่ เทียบเทา่ 39 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า 39 หนว่ ยกติ แผน ข ไม่นอ้ ยกว่า 39 หน่วยกติ อาชพี ทีส่ ามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศกึ ษา 1. ผูส้ อนในสถาบนั การศกึ ษา 2. ภมู ิสถาปนกิ 3. นกั วชิ าการภมู สิ ถาปัตยกรรม 4. อาชพี อนื่ ๆ ที่เก่ยี วข้อง การเทียบโอนหนว่ ยกิต รายวิชา และการลงทะเบยี นเรยี นขา้ มมหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงภายหลัง โครงสรา้ งหลักสูตร หลักสตู รภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มี 3 แผนการศึกษา ดังนี้ 1. แผน ก แบบ ก 1 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเท่า 39 หนว่ ยกติ 2. แผน ก แบบ ก 2 หมวดวชิ าบงั คบั จานวน 23 หน่วยกติ หมวดวิชาเลือก จานวนไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกติ วทิ ยานิพนธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 12 หน่วยกติ หลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอียดของหลกั สูตร (มคอ.2) 96 3. แผน ข จานวน 30 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าบงั คับ 6 หน่วยกติ 3 หน่วยกติ หมวดวิชาเลอื ก จานวนไม่นอ้ ยกว่า มีค่าเทียบเทา่ 39 หนว่ ยกติ การค้นคว้าอสิ ระ มคี า่ เทียบเท่า 3(3-0-6) หมายเหตุ: 3(3-0-6) 3(2-2-5) แผน ก แบบ ก 1 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ 3(0-6-3) 3(0-6-3) แผน ก แบบ ก 2 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ 2(0-4-2) 3(2-2-5) แผน ข มีการสอบประมวลความรู้ 3 สายวิชา ไดแ้ ก่ 1. สายวชิ าทฤษฎกี ารออกแบบภมู ิสถาปัตยกรรม 2. สายวชิ าปฏบิ ัตกิ ารออกแบบภมู ิสถาปัตยกรรม 3. สายวชิ าวิทยาการสัมพันธ์กับภมู ิสถาปตั ยกรรม รายวชิ า 1. แผน ก แบบ ก 1 วทิ ยานพิ นธ์ 264 630 วทิ ยานิพนธ์ (Thesis) 2. แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาบงั คับ จานวน 23 หน่วยกติ ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปน้ี 264 610 หลกั การและทฤษฎที างภมู ิสถาปัตยกรรม (Principle and Theory in Landscape Architecture) 264 611 นเิ วศวทิ ยาภมู ทิ ศั น์และการพฒั นาอย่างยงั่ ยนื (Landscape Ecology and Sustainable Development) 264 612 การใชพ้ ืชพรรณในการออกแบบ (Planting Design) 264 613 ปฏิบตั กิ ารออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 1 (Landscape Architectural Design Studio I) 264 614 ปฏิบตั กิ ารออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 2 (Landscape Architectural Design Studio II) 264 616 ปฏบิ ตั ิการออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 4 (Landscape Architectural Design Studio IV) 264 617 การกอ่ สร้างงานภมู ิสถาปัตยกรรม (Landscape Architectural Construction) หลกั สตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.2) 97 264 619 ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Research Methodology in Landscape Architecture) หมวดวิชาเลือก จานวนไมน่ ้อยกว่า 4 หนว่ ยกิต โดยให้เลือกจากรายวชิ าต่อไปนี้ 264 640 การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ทัศนคณุ ภาพ 2(2-0-4) (Visual Quality Analysis and Assessment) 264 641 ภูมทิ ัศนช์ ุมชนเมือง 2(2-0-4) (Urban Landscape) 264 642 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม 2(2-0-4) (Cultural Landscape) 264 643 การออกแบบและวางแผนภมู ิสถาปตั ยกรรมเชงิ นิเวศ 2(2-0-4) (Ecological Landscape Design and Planning) 264/644 การออกแบบภมู ทิ ัศนเ์ พ่ือการฟน้ื ฟูสภาพแวดล้อม 2(2-0-4) (Regenerative Landscape Design) 264 645 วัสดแุ ละการออกแบบกอ่ สร้างงานภูมสิ ถาปัตยกรรม 2(1-2-3) (Material and Construction Design in Landscape Architecture) 264 646 การออกแบบสภาพแวดล้อมท่ไี ร้อปุ สรรค 2(2-0-4) (Universal Design) 264 647 ระบบภมู สิ ารสนเทศในงานภูมสิ ถาปัตยกรรม 2(1-2-3) (Geographic Information System in Landscape Architecture) 264 648 การศกึ ษาหัวข้อพิเศษ 2(0-4-2) (Special Topic Study) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดังกล่าวนี้แล้ว นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลักสูตร อื่น ๆ ที่ บัณฑติ วิทยาลยั เปดิ สอนไดโ้ ดยได้รบั ความเห็นชอบจากอาจารย์ทปี่ รึกษา หมายเหตุ: สาหรบั รายวิชา 264 618 การก่อสรา้ งงานภูมสิ ถาปัตยกรรมขนั้ สูง และรายวชิ า 264 620 สมั มนางาน ภูมิสถาปัตยกรรม ซึงเป็นรายวิชาบังคับของแผน ข นั้น นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนและนับเป็นรายวิชาเลือก ของแผน ก แบบ ก 2 ได้ วิทยานพิ นธ์ 264 631 วทิ ยานพิ นธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 12 หน่วยกติ (Thesis) หลักสตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2) 98 3. แผน ข หมวดวิชาบงั คบั จานวน 30 หน่วยกิต ประกอบดว้ ยรายวิชาต่อไปนี้ 264 610 หลักการและทฤษฎที างภูมิสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Principle and Theory in Landscape Architecture) 3(2-2-5) 3(0-6-3) 264 611 นิเวศวิทยาภมู ทิ ศั นแ์ ละการพัฒนาอย่างยงั่ ยืน 3(0-6-3) 3(0-6-3) (Landscape Ecology and Sustainable Development) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 264 612 การใชพ้ ืชพรรณในการออกแบบ 3(3-0-6) 3(2-2-5) (Planting Design) 2(2-0-4) 264 613 ปฏบิ ัติการออกแบบภูมสิ ถาปตั ยกรรม 1 2(2-0-4) 2(2-0-4) (Landscape Architectural Design Studio I) 264 614 ปฏบิ ตั ิการออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 2 (Landscape Architectural Design Studio II) 264 615 ปฏบิ ัตกิ ารออกแบบภมู ิสถาปตั ยกรรม 3 (Landscape Architectural Design Studio III) 264 617 การก่อสร้างงานภูมสิ ถาปัตยกรรม (Landscape Architectural Construction) 264 618 การก่อสรา้ งงานภูมิสถาปัตยกรรมขัน้ สงู (Advanced Landscape Architectural Construction) 264 619 ระเบียบวธิ วี ิจัยทางภูมสิ ถาปัตยกรรม (Research Methodology in Landscape Architecture) 264 620 สมั มนางานภูมิสถาปัตยกรรม (Seminar in Landscape Architecture) หมวดวชิ าเลอื ก จานวนไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ โดยให้เลือกจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 264 640 การวเิ คราะห์และประเมินทศั นคุณภาพ (Visual Quality Analysis and Assessment) 264 641 ภูมิทัศนช์ ุมชนเมือง (Urban Landscape) 264 642 ภูมทิ ศั น์วัฒนธรรม (Cultural Landscape) หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook