สรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ประจำปีงบประมาณ 2564 ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เมษายน 2564 ถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 (ครงั้ ที่ 2) ตามแบบประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านของพนกั ราชการทว่ั ไป โดย...นางสาวมกุ ดา เหมอื งจา ตำแหน่ง ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน พนื้ ที่ ปกติ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสงู เมน่ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดแพร่
ก คำนำ จากนโยบาย มุ่งเน้นให้ประชาชนได้รับความรู้ความรู้ที่เป็นพ้ืนฐานท่ีเป็นทักษะจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชวี ิต พฒั นาทกั ษะดา้ นอาชีพ และการฝึกอบรมที่เหมาะสม ใหส้ อดคล้องกับความต้องการ ของประชาชน เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และเกดิ ความเสมอภาคทางการศึกษา ตลอดจนมงุ่ หวังให้ประชาชนเป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดีของสังคม มีความเข้าใจในบริบทชุมชน มีวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกรับ วฒั นธรรมอนื่ และรกั ษาวฒั นธรรมประเพณอี นั ดงี าม และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ อนั ทรงคณุ ค่าของชุมชน การจัดทำแฟ้มสะสมงานครั้งนี้เป็นส่วนหน่ึง ของกระบวนการปฏิบัติของครู อาสาสมัครการศึกษานอก โรงเรียน ท่ีจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลสรุปผลการปฏิบัติหน้าที่มาตลอดทั้งปีงบประมาณ ทั้งด้านการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี การศกึ ษาด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การศึกษาตามอัธยาศัย และการมีส่วนร่วม ซึ่งรวบรวมการ ทำงานประจำปีงบประมาณ 2564 ครั้งที่ 2 ระหว่าง วันท่ี 1 เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564 ปฏิบัติหน้าท่ี ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ สูงเม่น เพ่ือนำเสนอในการประเมินจากผบู้ ริหารหรอื ผูบ้ งั คบั บัญชาในหนว่ ยงานทีไ่ ด้สังกัด ผ้จู ดั ทำ นางสาวมุกดา เหมืองจา ครูอาสาสมัคร
สารบญั หนา้ คำนำ ก ประวตั สิ ่วนตัว ข ฐานระบบข้อมูลแผนปฏิบัตงิ านประจำปงี บประมาณ2564 1-3 ข้อมูลพน้ื ฐานกศน.ตำบล 4-30 การจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 31-37 ความสำเรจ็ ของการดำเนินงานในการจดั การศึกษารปู แบบ กศน.ตำบล 4 ศนู ย์ 38 –44 การจดั ศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ 45 - 49 การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต 50– 51 การจัดศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน 52 - 53 การจัดศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 54 – 57 การจดั ศึกษาตามอธั ยาศยั 58 งานที่ไดร้ ับมอบหมาย 59- 83 ภาคผนวก
ข ประวตั ิส่วนตัว ชื่อ นางสาวมุกดา นามสกลุ เหมืองจา ตำแหนง่ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น วุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาตรบี รหิ ารธุรกิจบณั ฑิตสาขา การจดั การท่ัวไป ประกาศนยี บัตรวิชาชีพครู (ปวค.) ทอี่ ยูป่ ัจจุบนั บ้านเลขที่ 264 หมทู่ ่ี 4 ตำบล เหมืองหม้อ อำเภอ เมือง จังหวัด แพร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000 โทรศัพท์ 089-9996234 e-mil : [email protected] เร่มิ ปฏิบัติหน้าทใี่ นตำแหน่งครูอาสาสมัครฯ เม่ือวนั ท่ี 3 ธนั วาคม 2539 เร่ิมปฏิบัติหนา้ ทพ่ี นักงานราชการ ตำแหน่งครูอาสาสมัครฯ เมอ่ื ปี 2548 สงั กัด ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสูงเมน่ สำนักงาน กศน.จงั หวดั แพร่ พื้นที่ปฏิบัตงิ าน กศน.ตำบลเวียงทอง กศน.ตำบลดอนมูล และ กศน.ตำบลบ้านกวาง * รางวลั หรือสิง่ เชดิ ชเู กียรติและคณุ งามความดคี วามชอบอืน่ ๆ ที่ได้รับ -ไดร้ ับเขม็ เชดิ ชเู กียรตปิ ฏิบัตงิ านตดิ ตอ่ กัน10 ปแี ต่ไม่เกนิ 15ปไี ดร้ บั เข็มทองแดง - ไดร้ บั เขม็ เชดิ ชูเกยี รติปฏบิ ัตงิ านติดต่อกัน15 ปีแตไ่ มเ่ กิน20ปไี ดร้ บั เข็มเงิน - ได้รับเข็มวิทยพัฒน์ เชดิ ชูเกยี รติ ณ จงั หวัดภูเกต็ - ไดร้ ับการแตง่ ตง้ั ให้มีคณุ วฒุ ิวดู แบดจ์ ประเภทลูกเสอื วสิ ามญั (R.W.B.) - ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติปฏบิ ตั งิ านตดิ ตอ่ กัน ๒๐ปไี ด้รบั เข็มทอง
1 แผนปฏิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
2 ระบบฐานข้อมลู แผนปฏิบัตงิ านประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
3 ฐานระบบข้อมลู แผนปฏิบัตงิ านประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
4 ข้อมูลพ้ืนฐานตำบลทร่ี บั ผิดชอบ 3 ตำบล คอื ตำบลนำ้ ชำ/ตำบลบ้านปง และ ตำบลพระหลวง 1.ข้อมูลพ้ืนฐานของ กศน.ตำบลนำ้ ชำ ความเปน็ มา เดิมเปน็ ปา่ ที่อดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยพันธ์ไุ ม้ และสตั วป์ ่า มแี ม่น้ำไหลผา่ น และมแี หลง่ น้ำขงั เป็นแอง่ ใหญน่ อ้ ย ซึ่งชาวบา้ นเรยี ก จำ และเมอื่ มกี ารอพยพมาตง้ั บ้านเรือนมากขึน้ จงึ เรยี กช่ือบา้ นตามลักษณะแหล่ง นำ้ ว่าน้ำจำ และกลายเปน็ นำ้ ชำในปัจจบุ ัน ทต่ี ้ัง กศน.ตำบลน้ำชำตง้ั เลขท่ี 192 หมู่ที่ 2 ตำบลนำ้ ชำ อำเภอสูงเมน่ จังหวดั แพร่ 54130 ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับตำบลสูงเม่น อำเภอสงู เม่น จังหวดั แพร่ ทิศใต้ ติดตอ่ กับตำบลปงป่าหวาย ตำบลแม่จัว๊ ะ อำเภอเด่นชัย จังหวดั แพร่ ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จงั หวัดแพร่ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับตำบลบา้ นปง อำเภอสูงเมน่ จงั หวดั แพร่ หมายเลขโทรศัพท์ 089-5396546 หมายเลขโทรสาร - E-mail [email protected]. บทบาทหนา้ ท่ีภารกิจ กศน.ตำบล กศน.ตำบล เป็นหน่วยงานในสงั กดั กศน.อำเภอ มฐี านะเป็นหน่วยจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพอื่ ส่งเสรมิ การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ของประชาชนและการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรใู้ นชมุ ชน กศน.ตำบล มภี ารกจิ ทสี่ ำคญั ดงั นี้ 1. จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกล่มุ เปา้ หมายในชมุ ชนอย่างน้อย ปงี บประมาณละ 560 คน โดยจำแนกเปน็ รายกิจกรรมดังน้ี 1.1 การศกึ ษานอกระบบ 260 คน ประกอบด้วย 1.1.1 การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 60 คน 1.1.2 การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชพี จำนวน 20 คน 1.1.3 การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ิต จำนวน 20 คน 1.1.4 การศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน จำนวน 60 คน 1.1.5 กระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง จำนวน 100 คน 1.2 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั จำนวน 300 คน
5 2. สรา้ งและขยายภาคีเครือข่ายเพื่อการมีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ในชมุ ชน 3. ส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในชุมชนของภาคี เครอื ข่าย ท้ังในแง่ของความเขม็ แข็งและความต่อเนอ่ื งในการมสี ว่ นรว่ มและศักยภาพในการจัด 4. จดั ทำระบบข้อมลู สถิติ และสารสนเทศ เกย่ี วกบั ประชากรกลมุ่ เปา้ หมายและผลการจดั กจิ กรรมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพ่ือใช้ในการวางแผนพัฒนาและแผนการจดั การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย ท้ังในระดบั ชุมชนหรือระดบั จุลภาค ระดับอำเภอ ระดบั จงั หวัด และภาพรวม ระดบั ประเทศของสำนักงาน กศน. 5. จัดทำแผนงาน โครงการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปีงบประมาณ เพ่ือจดั กจิ กรรม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายและชมุ ชน และพฒั นาการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามกรอบจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. สำนักงาน กศน. จงั หวัด และ กศน.อำเภอ ทีส่ ังกดั เพ่ือการสนับสนนุ งบประมาณจาก กศน.อำเภอ ท่สี งั กัด โดยในกรณีของการจัด กจิ กรรมการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ให้ยดึ ค่าใช้จ่ายรายหวั ตามท่ีมติคณะรฐั มนตรีกำหนดคูณด้วย จำนวนนักศกึ ษา 60 คน สำหรบั กจิ กรรมอน่ื ๆน้ัน จัดทำแผนงาน โครงการเพอ่ื เสนอของบประมาณให้ดำเนินการตามท่ีไดร้ ับ มอบหมายจาก กศน.อำเภอ 6. ประสานและเช่อื มโยงการดำเนนิ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของศนู ย์การ เรียนรู้ชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ยในตำบล โดยมกี ารประสานแผนการดำเนนิ งานภายในตำบลทีร่ บั ผดิ ชอบและ กับ กศน.อำเภอทส่ี ังกัดตามกรอบจดุ เนน้ การดำเนนิ งานบนพนื้ ฐานของความเปน็ เอกภาพ ดา้ นนโยบายและความ หลากหลายในการปฎิบตั ิ 7. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในความรบั ผดิ ชอบตามระบบ ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือรับรองการประกนั คุณภาพภายนอก ของ กศน.อำเภอ ที่สงั กัด 8. รายงานผลการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ต่อ กศน.อำเภอ ท่ีสงั กดั ตามแผนหรอื ขอ้ ตกลงท่ีกำหนดไว้ 9. ปฏบิ ัตภิ ารกิจอื่นๆทดี่ รี ับมอบหมายจาก กศน.อำเภอ สำนักงาน กศน.จงั หวัด หรอื สำนักงาน กศน. และตามท่กี ฎหมายกำหนด. คณะกรรมการ กศน.ตำบลน้ำชำ ท่ี ช่อื -สกลุ ตำแหน่ง หมายเหตุ นายก อบต.น้ำชำ 1 นายนิรันดร์ นทิ ัศนโ์ ยธนิ ประธานคณะกรรมการ กศน.ตำบล รองนายก อบต.นำ้ ชำ 2 นายอดิศักด์ิ ทว่ งที ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมการ กำนนั ตำบลนำ้ ชำ 3 นายหน่วย ฝักฝา่ ย กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 1 ตวั แทนจากหมู่ท่ี 1 4 นายจำรสั มคี ำ กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 2 5 นายเลื่อน แก้วกัน กรรมการ 6 นายไชยา มากมาย กรรมการ
7 นายสมบัติ วรรณภาพล กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ท่ี 2 8 นายสมพร สีเหลือง กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 3 9 กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 3 10 นายสวา่ ง เดด็ ขาด กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 4 11 นายประถม สขุ ทอง กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 4 12 นายชเู กียรติ ขดี ดี กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 5 13 นายชาญ คล่ใี บ กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ที่ 5 14 นายเสียงทพิ ย์ ชา้ งมบู กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 6 นาย1ป5ระดษิ ฐ์ ปลาสว่ น กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 6 16 นายเสรี งามดี กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ท่ี 7 17 นายอคั รเดช สีสขุ กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 7 18 นายนภดล ชำนาญ กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 8 19 นายพล แก้วน้อย กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 8 20 นายผล สีเหลอื ง กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 9 21 นายบรรจบ จินดาขัด กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 10 22 นายชยั กาจันทร์ กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 10 23 นายพรเทพ เรอื นชัย กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 11 24 นายไพโรจน์ กำทอง กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ท่ี 11 25 นายประทวน กำทอง กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ท่ี 12 26 นายเฉลมิ สนุ นั ทะพงศ์ กรรมการ 27 นางจำเนียร วงศ์แสนสี กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 12 28 นายสว่าง เกษมทรัพยไ์ พศาล กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ที่ 13 29 นายประพนั ธ์ กำทอง กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 13 30 นายนริ ันดร์ คนงาม กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 14 ตัวแทนจากหมู่ท่ี 14
31 นายชายนอ้ ย สมปา่ น กรรมการ ตัวแทนจากหมู่ท่ี 15 32 นายประพฤติ บญุ มาก กรรมการ ตวั แทนจากหมู่ที่ 15 31 นางบญุ สวย ขอบปี กรรมการตัวแทนนกั ศกึ ษา 32 นางลั่นทม วงศ์กัณหา กรรมการตวั แทนนกั ศกึ ษา 33 นางบุปผาชล พลอยแดง กรรมการอาสาสมัครฯกศน.ตำบล 34 นางสาวพรพรรณ บ่อคำ ครูกศน.ตำบลน้ำชำ อาสาสมคั ร กศน.ตำบลนำ้ ชำ ที่ ชอื่ -สกุล ตำแหนง่ หมู่บา้ น 1 นายสรุ ริ ตั น์ วงศ์แสนสี อาสาสมัคร หมู่ 1 บ้านนาตม 2 นางสาวเอื้องฟ้า ประจักษ์ อาสาสมคั ร หมู่ 2 บา้ นนาตม รัตนากร อาสาสมัคร หมู่ 3 บ้านน้ำชำ 3 นางพมิ มาลา ใจกล้า อาสาสมคั ร หมู่ 4 บ้านบวกโป่ง 4 นายเกรยี งไกร พิมพ์สวุ รรณ์ อาสาสมัคร หมู่ 5บา้ นบวกโป่ง 5 นางรำไพ กล่ินอำพนั ธ์ อาสาสมคั ร หมู่ 6บ้านรอ่ งเส้ียว 6 นางลัดดาวลั ย์ แทน่ แก้ว อาสาสมัคร หมู่ 7บ้านร่องแดง 7 นางสาวอธิกา มะโนแสน อาสาสมัคร หมู่ 8บา้ นรอ่ งแค 8 นายพสิ ษิ ฐ์ ดาวนั ดี อาสาสมคั ร หมู่ 9 บ้านดอนแก้ว 9 นายภานุพงศ์ ยานะวงษ์ อาสาสมัคร หมู่ 10 บา้ นบวกโปง่ 10 นางบญุ สวย ขอบปี อาสาสมคั ร หมู่ 11 บ้านบวกโปง่ 11 นายอนสุ รณ์ โมต้ บ๊ิ อาสาสมคั ร หมู่ 12 บ้านบวกโป่ง 12 นางนิชนันท์ โปธาตุ อาสาสมคั ร หมู่ 13 บา้ นร่องเส้ียว 13 นางสาวศิรภิ รณ์ สัง่ สอน อาสาสมัคร หมู่ 14 บา้ นรอ่ งแค นาย1จ4ิรายสุ เสียงหวาน อาสาสมัคร หมู่ 15 บ้านดอนแกว้ 15 นายกิตภิ ณ สกุ แก้ว บคุ ลากรใน กศน.ตำบลนำ้ นางสาวพรพรรณ บ่อคำ ครูกศน.ตำบลนำ้ ชำ
8 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลพ้นื ฐานเพื่อการวางแผน ขนาดพนื้ ที่ของชมุ ชน/ตำบลมีอาณาเขต… 36,836 ไร่ ….58.937 ....ตารางกโิ ลเมตร ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับ..ตำบลสูงเม่น ทิศใต้ ติดตอ่ กับ...ตำบลปงป่าหวาย ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับ.ตำบลหัวฝาย ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ...ตำบลบ้านปง แผนที่ชมุ ชน/ตำบล 4. แหล่งน้ำท่ีสำคญั /แหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติในพน้ื ท่ี แมน่ ำ้ ลำน้ำ ลำหว้ ย ลำเหมอื ง 4 สาย บึง หนอง และอื่นๆ 2 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขน้ึ ฝาย 22 แห่ง • บ่อนำ้ ตน้ื 1,100 แหง่ • บ่อโยก 41 แหง่ • ประปาหมบู่ ้าน 12 แหง่ 7 แหง่ • ถังเกบ็ นำ้ ฝน 4.3 ลักษณะภมู อิ ากาศ สภาพภมู ิอากาศ มี 3 ฤดู คือ ฤดหู นาว ฤดฝู น ฤดูร้อน
9 5. การปกครองบริหารงานชุมชน/ตำบล 1. องคก์ ารบริหารส่วนตำบล 2. เทศบาลตำบล 3. เทศบาลเมอื ง 6. ลกั ษณะโครงสร้างพ้ืนฐาน 6.1 การคมนาคม 6.1.1 กศน.ตำบลมีระยะหา่ งจาก ศูนย์ กศน.อำเภอ.........2...........กิโลเมตร 6.1.2 กศน.ตำบลมรี ะยะห่างจาก สำนักงาน กศน.จังหวัด......15....กโิ ลเมตร 6.1.3 ถนนคอนกรตี เสริมเหล็ก.................... 59.................สาย 6.1.4 ถนนลาดยาง.........................................3.................สาย 6.1.5 ถนนลูกรงั ..........................................70...................สาย 6.1.6 ถนนดนิ ................................-....................................สาย 6.2 ดา้ นสาธารณสุข 6.2.1 สถานพยาบาล จำนวน..............-...............แหง่ 6.2.2 คลินกิ จำนวน..........................-..................แหง่ 6.2.3 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล........2........แหง่ ลำดบั ประเภท จำนวนแหง่ ท่ตี ง้ั แพทย์ พยาบาล เจ้าหนา้ ท(ี่ คน) - - 4 1 โรงพยาบาล 1 หมู่ที่ 2 - - 5 ส่งเสรมิ สขุ ภาพ ชุมชนน้ำชำ 2 โรงพยาบาล 1 หมู่ที่ 5 สง่ เสรมิ สุขภาพ ชมุ ชนบา้ นรอ่ ง เสี้ยว 6.2.4 โรงพยาบาล..........-...........แห่ง 6.2.4.1 โรงพยาบาลของรฐั ..........-............แห่ง 6.2.4.2 โรงพยาบาลเอกชน.............-...........แห่ 6.3 ด้านศาสนา 6.3.1 วัด จำนวน............8............แห่ง ลำดบั ประเภท จำนวน ชือ่ ท่ีต้งั 1 วัด 8 วัดน้ำชำ หมู่ 15 วัดบวกโปง่ หมู่ 9 วดั ร่องแดง หมู่ 6 วดั นาตม หมู่ 1 วดั ดอนแกว้ หมู่ 8 วัดร่องแค หมู่ 13 วัดร่องเสี้ยว หมู่ 5 วดั ร่องผา หมู่ 12
10 6.3.2 โบสถ์ จำนวน............................-..............................แหง่ 6.3.3 มัสยดิ /สุเหร่า...............................-..........................แห่ง 6.3.4 สำนักสงฆ/์ สถานปฏิบัติธรรม........-..........................แหง่ 7. สภาพทางสงั คมในชุมชน/ตำบล 7.1 จำนวนหมบู่ ้านในชมุ ชน/ตำบล......15...หมู่บา้ น ประชากรรวมทกุ หมบู่ ้าน... 10,069.....คน หมทู่ ี่ ชื่อหมบู่ า้ น จำนวนครัวเรอื น จำนวนประชากร ชาย หญิง รวม 1 บ้านนาตม 223 380 410 790 2 บ้านนำ้ ชำ 279 369 420 789 3 บา้ นบวกโป่ง 150 237 218 455 4 บ้านบวกโป่ง 323 473 548 1,016 5 บา้ นรอ่ งเสยี้ ว 141 241 216 457 6 บ้านรอ่ งแดง 202 374 359 733 7 บา้ นรอ่ งแค 144 241 253 494 8 บ้านดอนแกว้ 169 243 259 502 9 บา้ นบวกโป่ง 212 339 352 691 10 บ้านบวกโป่ง 322 547 577 1,124 11 บ้านบวกโป่ง 221 430 429 859 12 บา้ นรอ่ งเส้ยี ว 158 248 291 539 13 บา้ นร่องแค 139 264 283 547 14 บ้านดอนแก้ว 156 259 280 539 15 บ้านน้ำชำ 156 256 278 534 รวม 2,995 4,901 5,168 10,069 8. สภาพดา้ นการศกึ ษาในชุมชน/ตำบล 8.1 สถานศึกษาในชมุ ชน/ตำบล ม.ี ...............10..............แหง่ ของรฐั บาล....10......แห่ง ระดับประถมศึกษา...........4......................แหง่ ระดับมธั ยมศึกษา.....2..............แห่ง ลำดบั ช่อื โรงเรียน/ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก จำนวนครู รวม จำนวนนกั เรยี น รวม ชาย หญิง ชาย หญิง 1 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านร่องแดง -1 1 9 2 11 2 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านร่องแค -1 1 11 7 18 3 ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นดอนแกว้ -2 2 26 15 41 4 ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นบวกโป่ง -3 3 20 28 48 5 ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นร่องเสี้ยว -1 1 6 6 12 6 โรงเรยี นบ้านร่องแค 13 4 26 32 57 7 โรงเรียนบ้านดอนแก้ว 4 10 4 81 53 134 8 โรงเรยี นบ้านบวกโปง่ 5 10 15 107 96 203 9 โรงเรยี นร่องเสีย้ ว 22 4 21 24 45 10 ทีอ่ า่ นหนงั สือพิมพป์ ระจำหมู่บา้ น 15 แห่ง - - - - --
11 8.2 บา้ นหนงั สืออัจฉริยะในชมุ ชน/ตำบล มี..........7.............แหง่ 8.3 ผูไ้ ม่รหู้ นงั สือในตำบล มี.......11......คน ชาย.....4......คน หญิง.......7.......คน 8.4 ผ้ไู มจ่ บชน้ั ประถมศึกษาในตำบล ม.ี ..............คน ชาย.............คน หญงิ ..............คน 8.5 ผู้ไมจ่ บช้นั มัธยมศึกษาตอนต้นในตำบล ม.ี ...............คน ชาย...........คน หญิง.............คน 8.6 ผู้ไมจ่ บชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ม.ี ...............คน ชาย.............คน หญงิ ..............คน 9. สภาพทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชน/ตำบล 9.1 อาชพี หลักของคนในชุมชน/ตำบล... ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนาทำสวน ปลกู ถ่วั เหลอื ง การประกอบอาชีพ รองลงมาจากภาคเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การแปรรปู ไม้สกั และอุตสาหกรรมในครัวเรือน ซงึ่ เป็นผลิตภัณฑจ์ ากไม้ สัก อาทิ เครื่องเรือน เฟอรน์ เิ จอร์ ของใช้ตกแต่งบา้ น และของทีร่ ะลกึ ต่างๆโดยใชว้ สั ดุเหลอื ใชจ้ ากไม้สกั อาชีพ -ครวั เรือนที่ประกอบอาชีพมากกวา่ 1 อาชพี มจี ำนวน 2,936 ครวั เรือน -ครวั เรือนที่ประกอบอาชีพเพียงอย่างเดยี ว มีจำนวน 35 ครัวเรอื น และประกอบอาชีพรบั จา้ งเพียงอย่างเดียว มจี ำนวน 40 ครัวเรือน -ครวั เรือนทปี่ ระกอบอาชีพทำนา ผลผลิตโดยเฉลี่ย 720 กโิ ลกรมั /ไร่ -ครัวเรอื นท่ีประกอบอาชีพทำไร่ มีจำนวน 2,030 ครวั เรอื น -ครวั เรือนท่ีประกอบอาชีพอตุ สาหกรรมในครัวเรอื น มจี ำนวน 515 ครวั เรอื น -ครัวเรอื นท่เี ลี้ยงสตั วไ์ วข้ าย มีจำนวน 350 ครัวเรอื น 9.2 รายไดข้ องคนในชมุ ชน เฉลี่ย/คน/ปี.............120,000......บาท/คน/ปี 10. แหลง่ เรียนรู้และภาคเี ครือข่าย 10.1 ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ทำเนียบภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ตำบลนำ้ ชำ อำเภอสงู เม่น จังหวดั แพร่ ท่ี ช่ือ - สกลุ ที่อยู่ ภมู ิปัญญาดา้ น/ ผเู้ ช่ยี วชาญด้าน บา้ นเลขที่ หมูท่ ่ี ตำบล 1 นางสมพศิ คำปิน 91 1 น้ำชำ การทำนำ้ ออ้ ยทรงเคร่ือง 2 นางสงั วาลย์ กำหนด 25 1 นำ้ ชำ การทำข้าวแคบ 3 นายเลอื่ น แกว้ กัน 65/1 1 นำ้ ชำ ชา่ งไม,้ ยาสมนุ ไพร 4 นางวนั นา ชมเชย 41 2 น้ำชำ การนวดแผนโบราณ 5 นายแดง จอมจักร 51 2 น้ำชำ ดา้ นจักรสาน
6 นายสถติ สที า 138/2 8 นำ้ ชำ ดนตรพี ืน้ เมือง,ค่าว,จ้อย,ซอ ,สะเดาะเคราะห์ น้ำชำ ชา่ งไม,้ ( ทำเฟอร์นิเจอร์ไมส้ ัก ) 7 นายวีรพงษ์ ชาตสิ นุ ทร 123 8 นำ้ ชำ การทำสุรากลน่ั น้ำชำ การทำบายศรี 8 นายเกษตร งามดี 105/1 11 นำ้ ชำ ดนตรไี ทย น้ำชำ กรทำกระบวยจากกะลามะพรา้ ว 9 นางนาลอน ดงั ดี 114 14 น้ำชำ ดนตรไี ทย นำ้ ชำ กรทำกระบวยจากกะลามะพร้าว 10 วา่ ท่ี ร.ต.ถาวร ประมาณ 43 14 น้ำชำ ชา่ งไม,้ ทำเรือจำลอง น้ำชำ การทำสุรากล่ัน 11 นายกุย บญุ ตา 64 15 น้ำชำ ช่างไม,้ ทำศาลพระภูมจิ ากไม้สัก น้ำชำ ช่างไม,้ ทำเฟอร์นิเจอณ์ไมส้ ัก 12 นายสมพงษ์ โกละนันท์ 46 14 น้ำชำ ด้านจักรสาน น้ำชำ ช่างไม,้ ( ทำเฟอรน์ เิ จอร์ไมส้ กั ) 13 นายชม สีเหลอื ง 30 14 น้ำชำ ดนตรีไทย นำ้ ชำ ดา้ นการเกษตร 14 นายสนม งามสวย 65 14 น้ำชำ มรรคทายก นำ้ ชำ ดา้ นจักรสาน,อักษรล้านนา 15 นายจอ๋ น สีเขยี ว 11/1 15 นำ้ ชำ การทำน้ำอ้อยทรงเคร่ือง,การทำขา้ วแคบ น้ำชำ ดนตรไี ทย 16 นายทองธรรม งามสวย 44 15 นำ้ ชำ ด้านจักรสาน น้ำชำ การนวดแผนโบราณ 17 นายสุวิน กองสรอ้ ย 135 15 น้ำชำ ยาสมนุ ไพร 18 นายหวนั สุขแกว้ 33 15 19 นางสุภาวดี สมปาน 29 15 20 นายเผชิญ กาศเกษม 59 1 21 นายสมาน ชยั วงศ์นาคพนั ธ์ุ 38 2 22 นายเปลี่ยน คำก้อน 86 8 23 นายบุญรัตน์ ชำนาญ 130/1 8 24 นางสนุ ยี ์ ชำนาญ 42 1 25 นายผ่าน ชำนาญ 104/3 1 26 นางมณฑา อุดมพทิ ักษ์เดชา 67/1 1 27 นางสมุ าลี ช้างเขยี ว 99/1 1 28 นางตา คนงาม 22 1
13 10.2 แหล่งเรยี นรูอ้ ื่น ชอ่ื แหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู่ ท่ตี ้งั วัดพระธาตุดอนแกว้ ประเพณีวฒั นธรรมวดั พระธาตดุ อน หมู่ 8 ตำบลนำ้ ชำ อ.สูงเม่น จ.แพร่ แกว้ สงั กดั คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดิน วดั เกษมสขุ (นาตม) ต้งั วดั มีเนือ้ ที่ ๘ ไร่ ๓ งาน ๑๐ หมทู่ ี่ 1 ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเมน่ ตารางวา วดั พระธาตดุ อนแก้ว สรา้ ง จังหวดั แพร่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๒๖ ได้รับพระราชทาน ชุมชนนำ้ ชำ วสิ ุงคามสีมา วนั ท่ี ๑๕ มกราคม หม่ทู ี่ 2 ตำบลน้ำชำ อำเภอสงู เมน่ พ.ศ. ๒๕๑๓ จังหวดั แพร่ วัดเกษมสขุ เปน็ ศาสนาสถานที่ ประชาชนในตำบลให้ความนับถอื ศรทั ธา และมีความสวยงามในแบบ ศิลปะลา้ นนา ซง่ึ มเี อกลกั ษณ์ เฉพาะตัว การศกึ ษาค้นคว้าหาข้อมลู ดา้ น สุขภาพอนามยั และแหล่งความรู้ ตา่ งๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ การศกึ ษาคน้ ควา้ หาข้อมลู ดา้ น หมทู่ ี่ 5 ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเมน่ ตำบลรอ่ งเส้ียว สุขภาพอนามัยและแหล่งความรู้ จังหวัดแพร่ วดั รอ่ งแดง ตา่ งๆ วัดรอ่ งแค ประเพณีวฒั นธรรมวัดร่องแดง สังกดั ต้งั อยู่บา้ นร่องแดง หมู่ท่ี ๖ ตำบล คณะสงฆม์ หานิกาย ทด่ี นิ ตัง้ วัดมเี นอื้ นำ้ ชำ อำเภอสูงเม่น จังหวดั แพร่ วัดรอ่ งเส้ยี ว ท่ี ๖ ไร่ ๑ งาน วดั รอ่ งแดง สรา้ งเมือ่ พ.ศ. ๒๔๐๓ ได้รบั พระราชทาน วสิ งุ คามสีมา วนั ที่ ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ ประเพณวี ัฒนธรรมวดั ร่องแค สังกดั หมทู่ ่ี ๗ ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเม่น คณะสงฆ์มหานิกาย ท่ดี นิ ตง้ั วัดมีเน้อื จงั หวัดแพร่ ที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๘๐ ตารางวา วัดรอ่ ง แค สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้รับ พระราชทานวสิ ุงคามสีมา วนั ท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เขต วสิ งุ คามสมี า กวา้ ง ๔๐ เมตร ยาว ๖๖ เมตร ประเพณวี ฒั นธรรมวดั รอ่ งเสย้ี ว หมทู่ ่ี ๕ ตำบลนำ้ ชำ อำเภอสูงเม่น สงั กดั คณะสงฆ์มหานกิ าย ทีด่ ินตั้งวดั จงั หวดั แพร่ มเี นื้อที่ ๒ ไร่ ๓ งาน ๒๐ ตารางวา วัดร่องเสี้ยว สร้างเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๒
วัดรอ่ งแค ไดร้ ับพระราชทาวสิ ุงคามสมี า วันที่ วัดรอ่ งเสี้ยว ๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ วดั บวกโป่ง วัดน้ำชำ ประเพณีวัฒนธรรมวัดร่องแค สงั กัด หมทู่ ่ี ๗ ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเม่น คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดนิ ตง้ั วัดมีเนื้อ จังหวดั แพร่ วดั เวฬวุ นั (รอ่ งผา) ที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๘๐ ตารางวา วดั รอ่ ง แค สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๙ ไดร้ ับ อบต.นำ้ ชำ พระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เขต วสิ ุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๖๖ เมตร ประเพณีวัฒนธรรมวัดรอ่ งเสยี้ ว หมทู่ ี่ ๕ ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเม่น สังกัดคณะสงฆ์มหานกิ าย ทด่ี ินต้งั วัด จังหวัดแพร่ มีเนอ้ื ที่ ๒ ไร่ ๓ งาน ๒๐ ตารางวา วดั รอ่ ง ประเพณีวฒั นธรรมวดั บวกโปง่ สังกัด 25 หม่ทู ่ี 9 ตำบลน้ำชำ อำเภอสูง คณะสงฆม์ หานิกาย ท่ีดนิ ต้ังวัดมเี นือ้ เมน่ จ.แพร่ ที่ ๓ ไร่ ๓ งาน ๘๙ ตารางวา วดั บวก โป่ง สรา้ งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๖ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. ๒๔๗๐ วัดน้ำชำ เป็นศาสนสถานท่ีประชาชน หมู่ที่ 15 ตำบลน้ำชำ อำเภอสงู เม่น เคารพนบั ถอื ศรัทธา และมีพระธาตุ จงั หวดั แพร่ ศักดส์ิ ทิ ธป์ิ ระดิษฐานอยู่ ด้านหลัง ของอุโบสถ สงั กดั คณะสงฆ์ มหานกิ าย ท่ีดินต้ังวัดมีเนื้อที่ ๔ ไร่ ๑ งาน ๑๐ ตารางวา วัดนำ้ ชำ สรา้ ง เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๕ ได้รบั พระราชทา วิสุงคามสมี า วันที่ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ วดั เวฬวุ นั WAT WARUWUN (ร่อง 1/1 หมู่ 12 บา้ นร่องเสยี้ ว ตำบล ผา) เป็นศาสนสถานทปี่ ระชาชน น้ำชำ อำเภอสงู เมน่ จังหวดั แพร่ ตำบลนำ้ ชำและใกล้เคียง นับถอื ศรัทธา สงั กัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ต้งั วดั มเี นื้อที่ ๔ ไร่ ๑ งาน ๑๐ ตารางวา วดั นำ้ ชำ สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๒๕ ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสมี า วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ แหลง่ เรยี นรู้ด้านสภาพทั่วไปตำบล 192 หม.ู่ 2 ตำบลน้ำชำ อำเภอสูง นำ้ ชำ เม่น จังหวัดแพร่ 54130
10.3 ภาคเี ครือข่าย 15 ช่ือภาคีเครือขา่ ย ทต่ี ง้ั หมทู่ ่ี 2 ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเม่น จงั หวัดแพร่ องค์การบริหารส่วนตำบลนำ้ ชำ หมทู่ ่ี 2 ตำบลนำ้ ชำ อำเภอสูงเมน่ จังหวัดแพร่ หมู่ที่ 5 ตำบลน้ำชำ อำเภอสงู เม่น จังหวัดแพร่ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพชุมชนน้ำชำ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพชุมชนบา้ น ร่องเส้ียว 11. ปัญหาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชน 11.1 ดา้ นการรู้หนงั สอื - ประชาชนบางสว่ นในพ้นื ทส่ี ่วนใหญ่ให้ความสำคัญในการประกอบอาชีพสงู จงึ ส่งผลให้ยงั ไมม่ ีวุฒิการศึกษาขน้ั สูงสดุ จงึ มคี วามประสงค์ต้องการปรับปรุงคุณภาพชีวติ และเปน็ พน้ื ฐานสำหรับการศึกษาในระดับทส่ี ูงขนึ้ 11.2 ดา้ นการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน(สายสามัญและปวช.) - ประชาชนบางสว่ นในพน้ื ทีย่ ังไม่มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาขั้นสูงสุด จึงมีความประสงค์ต้องการปรบั ปรุงคุณภาพชีวิตและ เปน็ พนื้ ฐานสำหรบั การศึกษาในระดับที่สูงขึน้ ทัง้ ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 11.3 ดา้ นอาชีพ 11.4 ดา้ นทักษะชวี ิต - ในพ้นื ทม่ี ีปญั หาการแพรร่ ะบาดของยาเสพติดในกลมุ่ วัยรุ่นและกลมุ่ ผใู้ ช้แรงงาน 11.5 ดา้ นการพัฒนาสังคมและชุมชน - การแบ่งพรรค แบ่งพวก ขาดความสามคั คีในชุมชน จากปัญหาด้านการเมืองทำใหก้ ารทำงานไม่คล่องตัว 11.6 ดา้ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11.7 ด้านการศกึ ษาตามอธั ยาศยั -กจิ กรรมการส่งเสริมการอ่านในตำบลน้ำชำยงั ไม่มคี วามเคลื่อนไหวท่ีสม่ำเสมอ ประชาชนมีเวลา อา่ นหนังสือค่อนขา้ งน้อยเนื่องจากตอ้ งประกอบอาชีพหลักการทำไม้
16 ส่วนท่ี 3 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม กศน.ตำบล (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ แขง็ ของ กศน.ตำบล (Strengths – S) 1. กศน.ตำบลนำ้ ชำ ตง้ั อยู่ในชมุ ชนสามารถตดิ ตอ่ ประสานงานได้สะดวก 2. ครกู ศน.ตำบลไดร้ บั การพัฒนาความรู้อย่างตอ่ เน่ือง 3. มคี ณะกรรมการกศน.ตำบล/มอี าสาสมัครกศน.ตำบลครบทุกหมูบ่ ้าน 4. มกี ารทำ Mou รว่ มกับหนว่ ยงานเครอื ข่าย 5. มบี ริการหนงั สือพิมพ์ วารสารในบ้านหนงั สืออัจฉริยะจำนวน 8 แห่ง กระจายอยู่ในหมู่ 6. มคี รกู ศน.ตำบล/ครอู าสาสมัครฯ ประจำกศน.ตำบล จดุ ออ่ นของ กศน.ตำบล (Weaknesses – W) 1. กศน.ตำบลยงั ไม่มีอาคารทเ่ี ปน็ เอกเทศ 2. บางหมูบ่ า้ นมีความขดั แยง้ ทางการเมือง 3. บ้านหนังสอื ชมุ ชนยงั ไม่ครอบคลมุ เตม็ พื้นที่ 4. นกั ศกึ ษากศน.ตำบลน้ำชำสว่ นใหญเ่ ปน็ วัยแรงงานจงึ ไมส่ ามารถมารว่ มกจิ กรรมได้อย่างเตม็ ท่ี 5. ครูหน่งึ คนไมส่ ามารถสอนให้ครอบคลุมทกุ วิชาไดเ้ นื่องจากขาดความรู้ความชำนาญ 2. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก โอกาส (Opportunities – O) 1. ตำบลนำ้ ชำมีการประกอบอาชีพการทำไมเ้ ปน็ หลักมกี ารขยายอาชพี ในชมุ ชน สามารถขยายผลติ ภณั ฑ์ รูปแบบ,การตลาดในชุมชนทำให้มรี ายไดเ้ ปน็ อาชพี หลัก 2. งานประเพณวี ดั ดอนแกว้ 3. มแี หลง่ เรียนรู้/ภูมปิ ัญญา ทส่ี ามารถศึกษาคน้ คว้าได้ในทุกๆด้าน 4. มีการสนับสนนุ ส่งเสรมิ และอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมประเพณีอย่างสมำ่ เสมอ 5. ประชาชนละภาคเี ครือขา่ ยให้ความร่วมมือในการจดั กจิ กรรมเป็นอยา่ งดี อุปสรรค/ความเสย่ี ง (Threats – T) 1. มปี ัญหาด้านสุขภาพจากการประกอบอาชีพการทำไม้ ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาฝุ่นละอองและมลภาวะทางเสียง เกดิ ความเสีย่ งอันตรายจากการใช้เครื่องมือก่อให้เกิดพกิ ารทางรา่ งกาย 2. ขาดการสนบั สนนุ งบประมาณจากภาคเี ครือข่าย 3. ประชาชนส่วนใหญม่ ฐี านะค่อนข้างยากจนจงึ ใหค้ วามสำคญั ในเร่อื งปากท้องมากกว่าการศึกษา
17 ส่วนท่ี 4 แนวทาง/กลยุทธก์ ารดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตำบล แนวทางการพัฒนา กศน.ตำบล 1 ทศิ ทางการดำเนินงานของชุมชน/กศน.ตำบล 1. ปรชั ญา (Philosophy) “ สรา้ งโอกาสทางการศึกษา มงุ่ เนน้ คุณธรรม พฒั นาอาชีพส่ชู ุมชน ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ” 2. วสิ ยั ทศั น์ (Vision) กศน.ตำบลน้ำชำ จัดให้บริการด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต่อเน่ืองให้กับ ประชาชน เชิดชคู ณุ ธรรมนอ้ มนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ชมุ ชน 3. พนั ธกิจ (Mission) 1. จดั และสง่ เสริมการศึกษาให้กบั กลมุ่ เป้าหมายหลากหลายรูปแบบและมีคุณภาพ 2. สง่ เสริมและสนับสนนุ ใหก้ บั ประชาชนมีส่วนรว่ มของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรู้ ตลอดชีวิต 3. สร้างและกระจายโอกาสเรียนรู้โดยการกระจายแหลง่ เรียนรู้ สอื่ เทคโนโลยเี พอ่ื ตอบสนองความ ตอ้ งการการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต 4. พัฒนาแหล่งเรียนรูใ้ ห้เปน็ ศนู ย์กลางการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของคนในชุมชน 5. พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม นำความรูแ้ ละมีทักษะ การดำเนนิ ชวี ิตบนพืน้ ฐานของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
18 ขอ้ มูลท่ัวไปของตำบลบา้ นปง ประวตั ิความเป็นมา เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2400 ท่ีดินบรเิ วณฝงั่ ขวาของลำนำ้ ยมเปน็ ท่ีดนิ ทอี่ ุดมสมบูรณ์ไปดว้ ย พืชพันธ์ุและป่าไม้นานาชนิด จึงมีประชาชนอพยพมาทำไร่ทำสวนในฝ่ังขวาของลำน้ำยม ส่วนมากมา จาก ตำบลร่องกาศ ตำบลพระหลวง ตำบลดอนมูล และอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ตลอดจนยังมี เผ่าเง้ียวจากอำเภอเมืองแพร่ได้อพยพมาทำไร่และสร้างกระท่อมเล็กๆอยู่ เม่ืออยู่ไปนานๆจึงได้จัดตั้ง หมู่บ้านข้ึน ช่ือว่าบ้านปง คำว่าปง หมายถึงพื้นดินที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยธาตุอาหาร เมื่อมีคนอพยพมา มากขึ้นจึง ได้จัดต้ังหมู่บ้านข้ึนใหม่ จำนวน 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ท่ี 1 บ้านปงท่าข้าม หมู่ท่ี 2 บ้านปงท่า ข้าม จากน้ัน ประชาชนท้ัง 2 หมู่บ้าน ได้ร่วมกันสร้างวัด ช่ือ วัดสีม่วงค้ำวึ่งปัจจุบันเรียกว่า วัดพงท่า ข้าม ต่อมาได้ แยกหมู่บ้านจากหมู่ท่ี 2 เป็นหมู่ท่ี 3 บ้านปงหัวหาด ซ่ึงมีประชาชนมาจากตำบลน้ำชำ อพยพมาอยู่ด้วย และได้ร่วมกันสร้างวัด ชื่อว่า วัดพงหัวหาด จากนั้นก็แยกหมู่บ้าน จากหมู่ที่ 3 เป็น หมู่ท่ี 4 บ้านหาดเจริญ ต่อมาเม่ือปี 2541 ได้แยกหมู่บ้านจากหมู่ที่ 2 เป็นหมู่ท่ี 5 บ้านปงท่าข้าม และหมู่ที่ 4 เป็นหมู่ที่ 6 บ้านปง หาดเจริญ เพ่ือสะดวกในการปกครองท้องที่ ปัจจุบันตำบลบ้านปงมี ทงั้ หมด 6 หมู่บ้าน สภาพทวั่ ไป/ข้อมลู พนื้ ฐาน ท่ีตง้ั ตำบลบ้านปงอยหู่ ่างจากท่ีว่าการอำเภอสงู เม่นทางทิศตะวันตกประมาณ 6 กิโลเมตร อยู่ ห่างจากจังหวดั ทางทศิ ใตป้ ระมาณ 16 กิโลเมตร เน้ือที่ เนื้อท่ที ้ังหมดของตำบลบ้านปง โดยประมาณ60.097 ตารางกิโลเมตร หรอื 37,561 ไร่ ภมู ปิ ระเทศ ลักษณะพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของตำบลบ้านปง เป็นท่ีราบลุ่มติดแม่น้ำยมซ่ึงแบ่งเขต ระหว่างตำบลบ้านปงกับตำบลสูงเม่นทางทิศตะวันออกของตำบลเป็นแหล่งที่ตั้งของชุมชนและ หมู่บ้านตลอดแนวลำน้ำยมส่วน พื้นท่ีทางทิศตะวันตกของหมู่บ้านไปจนถึงคลองส่งน้ำ ชลประทานมลี ักษณะเปน็ ที่ราบโดยพ้ืนท่ดี ังกลา่ ว เป็นพ้ืนที่ทางการเกษตร และทิศตะวนั ตกของ ตำบลตั้งแต่คลองส่งนำ้ ชลประทาน จนถึงเขตติดต่อระหวา่ ง ตำบลบา้ นปง และตำบลต้าผามอก อำเภอลองเป็นท่ีลาดเชิงเขาเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่แย้-แม่สาง มีป่าไม้ธรรมชาติปก คลุม เชน่ ป่าเบญจพรรณ ซงึ่ เป็นแหลง่ ตน้ น้ำลำธารทส่ี ำคญั ของตำบลบ้านปง จำนวนหมูบ่ ้าน หมทู่ ่ี 1 บา้ นปงท่าขา้ ม หมู่ท่ี 2 บ้านปงท่าขา้ ม หมทู่ ี่ 3 บ้านปงหวั หาด หมู่ที่ 4 บ้านหาดเจริญ หมทู่ ี่ 5 บา้ นปงทา่ ขา้ ม หมทู่ ่ี 6 บา้ นปงหาดเจรญิ
19 อาณาเขตของตำบลบา้ นปง ตดิ ต่อกับบา้ นหาดล่ี ตำบลสบสาย อำเภอสูงเม่น ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับบ้านป่าหวาย ตำบลปงป่าหวาย อำเภอเดน่ ชัย ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับแมน่ ้ำยม และ ตำบลสงู เมน่ ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับตำบลต้าผามอก อำเภอลอง ทิศตะวนั ตก จำนวนประชากร - ประชากรทงั้ หมด 5,080 คน ชาย 2,529 คน หญงิ 2,551 คน - จำนวนหลงั คาเรอื นท้ังหมดในเขตพนื้ ทรี่ บั ผิดชอบ 1,595 หลงั จำนวนประชากรตำบลบา้ นปงแยกตามเพศ จำนวนครัวเรือน (ครวั เรือน จำนวนประชากร (คน) ครัวเรือน ครวั เรอื น ร้อยละ ทงั้ หมด เกษตรกร หมทู่ ี่ ช่ือหมูบ่ ้าน รวม ชาย หญิง 403 209 52.91 1 บ้านปง 1,245 608 637 308 145 128.32 2 ปงทา่ ข้าม 905 462 443 251 132 54.77 3 ปงหัวหาด 765 383 382 180 109 65.27 4 ปงเจรญิ 600 299 301 301 203 70.00 5 ปงทา่ ข้าม 988 492 496 152 118 79.73 6 หาดเจรญิ 577 285 292 1,595 916 67.65 5,080 2,529 2,551 รวม 6 หมู่ จำนวนประชากรตำบลบา้ นปงแยกตามชว่ งอายุ ช่วงอายุ ชาย หญิง รวม (คน) (คน) (คน) นอ้ ยกว่า 5 ปี 5 – 9 ปี 103 86 189 10 – 14 ปี 158 155 313 15 – 19 ปี 207 173 380 20 – 24 ปี 216 203 419 25 – 29 ปี 192 187 379 30 – 34 ปี 169 195 364 35 – 39 ปี 211 215 426 40 – 44 ปี 257 247 504 45 – 49 ปี 287 287 574 50 – 54 ปี 229 250 479 55 – 59 ปี 193 177 370 122 120 242 ต้งั แต่ 60 ปขี น้ึ ไป 286 303 589 รวมท้ังหมด 2,542 2,534 5,076
20 ดา้ นโครงสร้างพนื้ ฐาน เส้นทางการคมนาคม การเดินทางเขา้ สู่ตำบล : - เดนิ ทางมาตำบล โดยรถยนต์/จักรยานยนต์ สว่ นตัว - ถนนคอนกรีตทง้ั ตำบล เสน้ ทางติดต่อกับอำเภอ 1 เสน้ ทาง ถนนคอนกรตี - ระยะทางจากอำเภอถึงตำบล การคมนาคม การจราจร - ถนน 89 สาย (ถนนลูกรัง 46 สาย ถนนลาดยาง 2 สาย ถนนคอนกรีต 49 สาย) - สะพาน 8 แหง่ - สะพานลอยคนขา้ ม 0 แห่ง - แม่น้ำ 1 แหง่ คลองทเ่ี ป็นทางสญั จรทางน้ำ 0 แหง่ การคมนาคม 1. การคมนาคมระหวา่ งตำบล ใช้เสน้ ทางถนนในการเดินทาง และขนส่ง มีเส้นทางหลักท่ี สำคัญ จำนวน 2 สาย คอื ถนน รพช. พร 3016 (บา้ นสุพรรณ – บ้านทงุ่ ) และถนนคอนกรตี (บา้ นโตนใต้ – บ้านสูงเมน่ ) การให้บริการรถโดยสารและขนสง่ ผลผลิตการเกษตร มีรถสองแถว ประจำทางจาก ตำบลบ้านปง ไปอำเภอสูงเมน่ อัตราคา่ โดยสาร คนละ 10 บาท โดยว่ิงวันละ 4 เท่ียว และจากตำบลบ้านปง ไปอำเภอเมอื งแพร่ อัตราค่าโดยสาร คนละ 20 บาท โดยวง่ิ วันละ 1 เทีย่ ว 2. การติดต่อระหวา่ งหม่บู า้ นในตำบล เส้นทางคมนาคมสว่ ยใหญเ่ ปน็ ถนนลาดยาง ถนน คอนกรีต และมีบางสว่ นเป็นถนนลกู รงั สว่ นการติดต่อระหวา่ งหมบู่ ้านมี รถสองแถวประจำทาง รถยนต์สว่ นตัวบุคคล รถจักรยานยนต์และรถจักรยาน สามารถติดตอ่ กัน ทว่ั ทุกหมบู่ ้าน การโทรคมนาคม สื่อสาร 1) โทรศัพท์ส่วนบคุ คล 416 เลขหมาย 2) โทรศัพท์สาธารณะ 6 แหง่ 3) จำนวนชุมสายโทรศพั ทใ์ นเขตพน้ื ที่ 1 แหง่ 4) จำนวนหอกระจายข่าว 7 แห่ง 5) ตไู้ ปรษณยี ์ 2 แห่ง การประปา 1) จำนวนครัวเรอื นทใ่ี ช้ประปา 1,560 ครัวเรือน 2) ประปาหมบู่ ้าน 4 แห่ง 3) นำ้ ประปาทผี่ ลติ 60 ลบ.ม. / วัน 4) นำ้ ประปาที่ใช้ 47 ลบ.ม. / วัน 5) แหลง่ น้ำดบิ ท่ใี ชผ้ ลติ นำ้ ประปา 4 แหง่ 6) แหล่งนำ้ ดิบสำรอง 1 แหง่
21 การไฟฟา้ 1) จำนวนครัวเรอื นท่ีใช้ไฟฟ้า 1,572 ครัวเรือน 2) พืน้ ที่ไดร้ ับบริการไฟฟ้า ร้อยละ 100 ของพื้นท่ีทง้ั หมด 3) ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าแสงสว่าง) จำนวน 205 จดุ 4) ครอบคลุมถนน 26 สาย ลกั ษณะการใชท้ ่ีดิน 1) พื้นที่พักอาศยั 528 ไร่ 2) พนื้ ทพ่ี าณิชยกรรม 8 ไร่ 3) พน้ื ที่หนว่ ยงานราชการ 11 ไร่ 4) สว่ นสาธารณะ / นนั ทนาการ 6 ไร่ 5) พื้นท่เี กษตรกรรม 8,756 ไร่ 6) พนื้ ทีต่ ้ังสถานศึกษา 8 ไร่ 7) พ้นื ท่ีวา่ ง - ไร่ แหลง่ นำ้ (6) บ่อน้ำตนื้ - แหง่ 1) แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ (7) ประปาหมูบ่ ้าน 4 แห่ง (1) ลำนำ้ ,ลำหว้ ย7 แหง่ (8) ถังเก็บนำ้ ฝน 7 แห่ง (2) หนอง,บงึ และอ่นื ๆ - แห่ง (9) สถานสี ูบนำ้ พลังงานไฟฟ้า 1 แห่ง 2) แหล่งน้ำทส่ี รา้ งข้นึ (10) คลองชลประทาน 1 แหง่ (1) ฝาย 3 แหง่ (2) บ่อโยก - แห่ง (3) บอ่ นำ้ บาดาล 7 แห่ง (4) อา่ งเก็บน้ำ 1 แหง่ (5) สระนำ้ 1 แหง่ 3) การระบายน้ำ 1) พน้ื ทนี่ ้ำท่วมถงึ คดิ เป็นร้อยละ 20 ของพื้นท่ที ้งั หมด 2) ระยะเวลาเฉลี่ยทีน่ ำ้ ท่วมขังนานที่สุด 2 วัน ประมาณช่วงเดอื น สิงหาคม 3) เคร่ืองสูบนำ้ 2 เครอื่ ง 4) นำ้ เสยี 1) ปริมาณน้ำเสยี - ลบ.ม./วัน 2) ระบบบำบดั น้ำเสียที่ใช้ - รวม - แห่ง 3) นำ้ เสยี ทบ่ี ำบัดได้ - ลบ.ม./วนั 4) ค่า BOD.ในแมน่ ้ำยม 2.6 มลิ ลกิ รัม/ลติ ร ขยะ 1) ปรมิ าณขยะ 2 ตนั /วนั 2) รถยนตท์ ใ่ี ชจ้ ัดเก็บขยะ จำนวน - คัน ขนาดความจุรวม - ลบ.ม. 3) กำจดั ขยะโดยเอกชนมารับจ้างเกบ็ ขยะในตำบล 4) ท่ดี ินสำหรบั กำจดั ขยะ จำนวน - ไร่
22 ดา้ นเศรษฐกิจ 1) รายได้ / ประชากร รายได้เฉล่ียของประชากร 23,000 บาท/คน/ปี 2) เกษตรกรรม 1,245 ครัวเรือน 3) มูลคา่ ผลผลิตทางการเกษตร 27,262,000 บาท 4) พาณิชยการ และบริการ ด้านสังคม ศาสนา 1) ผนู้ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 99 ของจำนวนประชากรท้งั หมด 2) วดั จำนวน 2 วัด 3) ผนู้ ับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ - ของจำนวนประชากรทง้ั หมด 4) มัสยิด จำนวน - แห่ง 5) ผู้นบั ถอื ศาสนาคริสต์ รอ้ ยละ 1 ของจำนวนประชากรทั้งหมด 6) โบสถ์ จำนวน 2 แหง่ 7) ผู้นับถือศาสนาอนื่ ๆ ร้อยละ - ของจำนวนประชากรทั้งหมด 8) ผทู้ ่ีไมน่ บั ถือศาสนาใดเลย รอ้ ยละ - ของจำนวนประชากรทั้งหมด วฒั นธรรมและประเพณี - ประเพณีสืบชะตา - เป็นวิธีกรรมท่ีจะทำข้ึนเม่ือมีเคราะห์ อาจจะเป็นราย บุคคลรายกลุ่มหรือสืบ ชะตาบา้ นเมอื ง แม่นำ้ ต้นไม้ วัว ควายหรอื สตั ว์เลย้ี งที่อำนวยประโยชน์ต่อการดำรงชีวติ เพื่อช่วยต่อชีวติ ใหย้ ดื ยาว พน้ จากความเดอื ดร้อนและภัยพิบัตติ ่างๆ - ประเพณีตานตุงแดง- เป็นพิธีกรรมที่ทำให้แก่คนตายโหง เพ่ืออุทิศส่วนกุศลให้กับคนตายโดยจัดทำตุง (ธงแดง)พร้อมอาหารเคร่ืองเส้นสรวง กองทราย ตุงช่อ ไก่ขาว แล้วนิมนต์ พระมาสวดทำพิธี ณ.บรเิ วณที่คนตาย เป็นการถอนวิญญาณให้ไปเกดิ ใหม่หรอื ไปเสยี จากบริเวณน้ัน - ประเพณีกิ๋นสลาก- หรือถวายสลากภัตรหรือตานก๋วยสลากเป็นประเพณีให้ ทานตามกาลเวลาที่ กำหนดไม่เจาะจงว่าจะให้แก่พระสงฆ์องค์ใด จัดขึ้นในช่วงขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 เหนือ ถึงวันข้ึน 15 ค่ำเดือน เกย๋ี ง(กนั ยายน-พฤศจกิ ายน) - พิธีสงเคราะห์ เปน็ พิธกี รรมท่ีเกิดข้นึ จากความเช่ือที่วา่ คนเราอยู่ภายใต้อิทธพิ ลของดาวนพเคราะหเ์ มื่อ มีเคราะหร์ า้ ยหรือบาดเจบ็ จึงตอ้ งทำพธิ บี วงสรวงเทพเจ้าประจำดาวนพเคราะหด์ วง - พิธีบูชาเทียน หรือปูจาเตียน เป็นพิธีกรรมเก่ียวกับการสงเคราะห์อย่างหนึ่ง ทำโดยการนำเทียนขี้ผ้ึง แท้ 3 เล่ม ไส้เทียนทำด้วยด้ายสีขาว จำนวนเส้นด้ายเท่ากับอายุของผู้บูชาเทียน ให้พระเป็นผู้ทำพิธีจุด เทยี นหนา้ พระพุทธรูป ท่ีวัดหรือทีบ่ า้ น เพอ่ื ให้เกิดโชคลาภแก่ผบู้ ชู า - พิธีฮ้องขวัญ หรือสู่ขวัญ เป็นพิธีกรรมท่ีทำให้กับคนที่ฟื้นไข้ใหม่ ๆ โดยมีหมอขวัญทำพิธีทำพิธีให้มี เคร่ืองประกอบพิธี เช่น หมาก เทียน ผ้าขาว ผ้าแดง ข้าวสาร เงินบาท เหรียญบาท อาหารคาวหวาน เส้ือผ้าของผู้ป่วย และ ไข่ต้ม นอกจากน้ียังอาจจะทำเพ่อื เรียก ขวญั ข้าว ขวัญวัว ขวัญควาย ขวญั ช้าง ขวัญ นาค - พิธีเล้ียงผีปู่ผีย่า เป็นพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ หรือผีประจำตระกูล เพ่ือคอยปกปักรักษาลูกหลานให้ อยู่เป็นสุข มักทำเป็นประจำทุกปี เป็นเวลา 1 วัน ราวเดือน 5 หรือเดือน 6 เหนือ โดยเชิญผีปู่ย่ามาเข้า ร่างคนทรง ให้ลูกหลานมากราบไว้ขอพร และเลี้ยงอาหาร ในพิธีจะมีดนตรีพื้นเมืองมาบรรเลง เช่น วงสะล้อ ซอซงึ
23 - ประเพณปี ี๋ใหมเ่ มอื ง เป็นประเพณสี งกรานต์ ระหวา่ งวนั ที่ 3 – 17 เมษายน ของทุกปี มีกิจกรรมใน แตล่ ะวนั คือ (1) วันท่ี 13 เมษายน เรียกว่าวันสังขารล่อง ตอนเช้ามืดจะมีการจิสะโป้ก ( จุดพลุเสียงซ่ึงทำด้วย ปล้องไม้ไผ่ ) เพ่ือไล่สังขาร ช่วงกลางวันจะทำความสะอาดร่างกายสระผม ซักเส้ือผ้าทำความสะอาดบ้านเรือน และทำพิธขี อขมา ไหวธ้ รณปี ระตู หม้อข้าว เตาไฟ ฯ ล ฯ ในบ้านของตน (2) วันท่ี 14 เมษายน เรียกว่าวันเนาว์ เป็นวันทำบุญตักบาตรที่วัด และอุทิศส่วนกุศลไปให้บรรพ บรุ ุษ (ภาษาถนิ่ เรียกว่า ไปตานสะปอ้ ก) ตอนบ่ายขนทรายเข้าวดั ในวันนห้ี า้ มกล่าวคำหยาบหรือคำท่ไี มเ่ ป็นมงคล (3) วันท่ี 15 เมษายน เรียกว่าพญาวัน ตอนเช้าไปทำบุญท่ีวัด ตอนสายทำพิธีดำหัวญาติผู้ใหญ่ ตอนบ่ายสรงนำ้ พระทว่ี ัด (4) วันท่ี 16 เมษายน เรียกว่าวันปากปี เป็นวันเริ่มต้นปีใหม่มีการทำพิธีสะเดาะ-เคราะห์ และสืบ ชะตากนั ทีว่ ัด (5) วันที่ 16 เมษายน เรียกว่าวันปากเดือน ถือเป็นวันเสร็จส้ินภารกิจ จึงมีการฉลองปีใหม่กันอย่าง สนกุ สนานคร้นื เครง มขี บวนแห่และการละเล่นพ้ืนเมืองตา่ ง ๆ - ประเพณีลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ภาษาถ่ินเรียกว่า ประเพณียี่เป็ง ช่วงเช้ามี การ ทำบุญตักบาตรและปล่อยโคมลอย ฟังเทศน์ทำนองพื้นเมือง 16 กัณฑ์ คือ เทศน์มหาชาติ13 กัณฑ์ เทศน์พระมาลัยต้น 1 กัณฑ์ เทศน์พระมาลัยปราย 1 กัณฑ์ และเทศน์อานิสงส์ผางประทีป 1กัณฑ์ จบ ภายใน 1 วัน และมีการจุดดอกไม้เพลิง (บอกไฟดอก) ถวายเป็นพุทธบูชาด้วย การคืนมีการลอยกระทง ซึ่ง เชอื่ ว่าเปน็ การสะเดาะเคราะห์วธิ ีหน่ึง โดยอธษิ ฐานก่อนปลอ่ ยกระทงลงน้ำวา่ “ ขอให้เคราะห์ร้ายทั้งหลาย จง ดับไปกบั ไฟ ไหลไปกับน้ำ” - ประเพณีเข้าพรรษา ตัง้ แต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 10 เหนือ ไปจนถึงวนั ขึ้น 15 ค่ำ เดือนเกย๋ี งเหนือ ( เดือน 11 ภาคกลาง ) ชาวบ้านทั้งหลายจะพากันไปทานขันข้าวหาคนตาย รวมท้ังการทานแด่พ่อแม่ ปู่ย่าตา ยาย ทย่ี ังมีชีวิตอยู่ และใส่บาตร รับศีล ตอนกลางคืนมีการถวายเทียนพรรษา ก่อนจะถึงวัน หรือเวลาถวายเทียน มักจะมีการแห่เทียนพรรษาไปตามหมู่บ้านเป็นที่สนุกสนาน ในช่วงเข้าพรรษาชาวบ้านส่วนใหญ่จะไปทำบุญกัน ทุกวนั พระ มกี ารฟงั เทศน์ ฟังธรรม สำหรบั คนท่วั ไปบางคนต้งั ใจในการงดเวน้ บาป และถอื ศีล เช่นรักษาศลี ตลอด พรรษา งดเว้นดื่มสุรา งดเว้นเนอ้ื สัตว์ตลอดพรรษา - ประเพณีออกพรรษา ตรงกับ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือนเกี๋ยง ( เดือน 11 ภาคกลาง ) ก่อนวันออก พรรษาหนึ่ง วันซึ่งตรงกับวันอาสาฬหบูชา ชาวบ้านจะมีการทำอาหาร ขนม เพ่ือนำไปทำบุญใสบาตรเทโว ใน วนั น้ีพระสงฆ์จะทำพิธีทางศาสนาในพระอุโบสถตอนรุ่งอรุณ หมู่พระสงฆจ์ ะเดินออกมาจากพระอุโบสถระหว่างที่ พระสงฆ์เดินเรียงมานี้ ชาวบ้านผู้ทำบุญก็จะทำพิธีใส่บาตรด้วยข้าวสุกบ้าง ข้าวต้มบ้าง ขนมที่เตรียมไว้บ้าง ซึ่ง ปัจจุบนั นิยมใส่ด้วยขา้ วสารอาหารแห้ง พอสาย ๆ ชาวบา้ นจะทำบุญที่เรยี กว่า ทานขนั ข้าว ใหก้ ับญาติทีต่ ายไป การศกึ ษา สถาบันการศึกษาในเขตตำบลบ้านปง แยกตามระดับการศึกษา 1) โรงเรยี นประถมศกึ ษา 2 แหง่ คอื (1) โรงเรียนบ้านปงทา่ ขา้ ม ครู 22 คน นกั เรยี น 221 คน ชาย 111 คน หญิง 110 คน (2) โรงเรยี นบ้านปงหัวหาด ครู 10 คน นกั เรียน 76 คน ชาย 39 คน หญงิ 37 คน
24 2) ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ 2 แห่ง คือ (1) ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านปงทา่ ข้าม ผูด้ แู ลเด็ก 3 คน เด็กเล็ก 49 คน (2) ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นปงหัวหาด ผู้ดูแลเดก็ 2 คน เด็กเลก็ 40 คน 3) การศึกษานอกระบบโรงเรียน 1 แห่ง คอื (1) ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนตำบลบา้ นปง ครู 1 คน นกั เรียน 74 คน กีฬา นันทนาการ/พกั ผอ่ น 1) สนามกฬี าเอนกประสงค์ จำนวน - แห่ง 2) สนามฟุตบอล จำนวน 1 สนาม 3) สนามบาสเกตบอล จำนวน 1 สนาม 4) สนามตะกร้อ จำนวน 1 สนาม 5) สนามวอลเล่บอล จำนวน 1 สนาม 6) สนามเด็กเล่น จำนวน 2 แห่ง 7) ศูนยก์ ีฬาตำบล จำนวน 1 แห่ง การสาธารณสขุ 1) ศูนย์บริการสาธารณสขุ จำนวน 1 แห่ง 2) บุคลากรทางการแพทย์ (1) พยาบาล จำนวน 1 คน (2) เจา้ พนกั งานสาธารณสุขชุมชน จำนวน 1 คน (3) เจ้าหน้าทบี่ ริหารงานสาธารณสขุ จำนวน 1 คน (4) เจา้ หนา้ ท่ีวชิ าการสาธารณสุข จำนวน 1 คน (5) อสม. จำนวน 100 คน 3) ผเู้ ขา้ รับการรกั ษาในสถานพยาบาลสงั กัด (จำนวนต่อปี) (1) ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 4,610 คน 4) สาเหตกุ ารเจ็บปว่ ยที่เขา้ รับการรกั ษาในโรงพยาบาลและศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ ทุกแห่ง (1) อบุ ตั ิเหตุ 50 ราย/ปี (2) สาเหตุอื่น 3,515 ราย/ปี 5) ประเภทการเจบ็ ป่วยท่ีเขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลและศนู ย์บริการสาธารณสุขทกุ แห่ง 5 อนั ดบั แรก (1) โรคระบบกล้ามเนื้อ รวมโครงสรา้ งและเน้ือยึดเสรมิ (2) โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ทอ่ โภชนาการ และเมตะบอลิซมั (3) โรคระบบการไหลเวียนของโลหิต ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สนิ 1) จำนวนผู้เสียชวี ติ โดยอบุ ัติเหตุจากรถยนต์ จำนวน - คน 2) ความเสยี หายจากภยั ธรรมชาติที่เกดิ จากมนุษย์ และจากธรรมชาติ จำนวน - บาท 3) จำนวนคดปี ระทษุ ร้ายตอ่ ทรัพย์ และประชาชน จำนวน - คดี 4) จำนวนคดีเสยี ชวี ิต รา่ งกาย และเพศ จำนวน - คดี 5) จำนวนอบุ ตั เิ หตุจากรถยนต์ จำนวน - คร้ัง
25 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 1) สถติ ิเพลงิ ไหม้ในรอบปี (1 ม.ค. – 31 ธ.ค.) จำนวน 1 ครั้ง 2) ความสญู เสยี ชีวิต และทรัพย์สนิ จากเพลงิ ไหมใ้ นรอบปที ีผ่ า่ นมา (1) ผู้เสยี ชวี ิต - คน (2) บาดเจบ็ - คน (3) ทรัพย์สินมูลคา่ 20,000 บาท 3) รถดบั เพลงิ 1 คัน 4) รถบรรทกุ นำ้ 1 คนั 5) รถกระเชา้ - คัน 6) เครื่องดับเพลิง 10 เครอ่ื ง 7) พนักงานดับเพลิง - คน 8) อาสาสมัครป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 110 คน ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ 1) ทรพั ยากรดิน สภาพโดยท่ัวไปเปน็ ดนิ ร่วน การเพาะปลกู ส่วนใหญอ่ าศัยนำ้ ฝน และนำ้ จากคลอง ชลประทานเปน็ หลัก 2) ทรพั ยากรน้ำ มแี มน่ ำ้ ยม อยูท่ างทิศตะวันออก ไหลผา่ น ม.1,2,3,5 และ6 ตลอดจนเป็นเส้น แบง่ เขตของตำบลบ้านปง กบั ตำบลสงู เม่นมีน้ำแมส่ าง เป็นลำหว้ ยท่ไี หลผา่ น ม.2,3,6 เปน็ เส้นแบ่ง เขต ระหว่าง ม.3,5 3) ทรพั ยากรป่าไม้ เป็นพืน้ ที่ปา่ สงวนแหง่ ชาติ 1 แหง่ คอื ป่าแมแ่ ย้ - แมส่ าง เน้อื ท่ี 50,000 ไร่ หรือ 80 ตารางกโิ ลเมตร 4) ทรพั ยากรทอ่ งเทย่ี ว มีแหล่งท่องเทย่ี วทส่ี ำคัญ 2 แห่งคอื (1) อา่ งเก็บนำ้ แมส่ าง (เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ) (2) น้ำตกตาดซาววา (เปน็ ที่พกั ผ่อนหย่อนใจ) ด้านการเมือง การบริหาร 1) จำนวนสมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ 12 คน 2) โครงสรา้ งและอัตรากำลงั ในการบริหารงานขององค์การบรหิ ารส่วนตำบล
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ิน 26 มีภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ 20 คน ทำเนียบภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ตำบลบ้านปง อำเภอสงู เม่น จังหวัดแพร่ ที่ ชอ่ื - สกุล ที่อยู่ ภมู ิปญั ญาดา้ น/ ผเู้ ช่ยี วชาญด้าน บ้านเลขที่ หม่ทู ่ี ตำบล 1 นายมี พระคำลอื 21/6 1 บ้านปง สืบชะตา ,สะเดาะเคราะห์ ,บูชาท้าวทั้ง 4 2 นางคำสขุ รัตนปญั ญา 158 1 บา้ นปง งานหตั ถกรรม,ทอผา้ พนั ธ์ งานจกั รสาน 3 นางสายหยดุ ศฤงคาร 90 1 บ้านปง หมอพ้ืนบา้ น,ดา้ นเกษตร 79 2 บ้านปง 4 นายทวี ขยายเสยี ง ด้านอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรมท้องถิ่น 5 นายทวีพันธ์ บญุ ญารัตนา 86/1 2 บา้ นปง ดา้ นงานฝมี อื นสุ รณ์ ดา้ นการเกษตร ด้านจกั รสาน 6 นายชาลี ขยายเสยี ง 26 2 บา้ นปง ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถนิ่ ,คา่ ว,ซอ 46 3 บา้ นปง ดา้ นหมอพื้นบ้าน 7 นางตุมมา กงิ โคง 3 บา้ นปง อนรุ กั ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน 89 3 บ้านปง งานฝีมอื ,ชา่ งไม้ 8 นายอี นำลอง 109 4 บ้านปง ดา้ นโหรราศาสตร์,ไสยศาสตร์ 113/2 4 บา้ นปง หมอพนื้ บ้าน,ไสศาสตร์ 9 นางหล้า พองาม 140 4 บ้านปง งานฝมี ือ,ชา่ งไม้ 108/1 4 บา้ นปง 10 นางกลิยา กำยาน 218 5 บา้ นปง ดา้ นทอผ้า 126/1 5 บา้ นปง ด้านทอผ้า 11 นายสอน กาบจันทร์ 140/1 5 บา้ นปง หมอพ้ืนบ้าน,สบื ชะตา,สะเดาะเคราะห์ 152 5 บ้านปง อนรุ กั ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่ิน 12 นายดี กาบจันทร์ 154 6 บ้านปง ดา้ นจักรสาน 159 6 บา้ นปง 13 นางหล่ัน ลำไย 6 บา้ นปง 14 นายโต โคตสุภา 15 นายสว่าง ลำไย 16 นางลนู วงศร์ อบ 17 นางจันทร์สี โพธิศรี 18 นายจอ๋ น คล่ีใบ 19 นายจนั ทร์ กาบจนั ทร์ 20 นายมูล เวียงทอง
27 ขอ้ มูลแหลง่ เรียนรใู้ นตำบล 1) แหลง่ เรียนรู้ภายใน ช่ือแหล่งเรียนรู้ 1. ศูนยก์ ารเรียนชุมชน ตำบลบ้านปง 2. หนงั สือพิมพ์รายวัน 3.การศึกษาทางไกลผ่านสญั ญาณดาวเทยี ม 4.ห้องสมุดโรงเรยี นบา้ นปงหัวหาด (หัวหาดราษฎรบ์ ำรงุ ) 2.)แหล่งภายนอก แหล่งเรียนรู้ภายนอก ช่ือแหล่งเรยี นรู้ 1.แปลงสาธิตการเรยี นรปู้ ระจำตำบล เลขที่ 79 หม่ทู ี่ 2 ตำบลบ้านปง 2.แหล่งเรยี นรู้ด้านวัฒนธรรม วัดปงหวั หาด หมู่ท่ี 3 3.กลุ่มทอผา้ เลขที่ 126/1 หมู่ท่ี 5 ตำบลบ้านปง 4.แหลง่ เรยี นรธู้ รรมชาติ น้ำตกตาดชาววา 5.แหลง่ เรียนรู้ธรรมชาติ อา่ งเกบ็ นำ้ แม่สาง
28 ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลกศน.ตำบลพระหลวง ทำเนยี บ กศน.ตำบลพระหลวง ความเป็นมา กศน.ตำบล หมายถึง หนว่ ยจัดกจิ กรรมการเรยี นร้กู ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยที่ตัง้ อย่ใู นระดับตำบล/แขวง การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง(พ.ศ. 2552-2561) ได้ให้ความสำคัญเร่ืองการศึกษา และการเรียนรู้ โดยมงุ่ เน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและการเรยี นรขู้ องคนไทย เพิ่มโอกาสทาง การศึกษาและการเรียนรู้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพและส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการ บริหารจัดการเพอ่ื ให้คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิต ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ ให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ” กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเพ่ือให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล เป็น แหลง่ เรยี นรู้ สำหรบั ประชาชนเพอ่ื ประชาชนไดใ้ ชใ้ นการแสวงหาความรู้เพ่ือให้เกิดสงั คมแหง่ การเรียนรู้ หลักการทำงาน หลักการทำงาน กศน.ตำบล ยึดชุมชนเป็นฐานในการทำงานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของ ชุมชน เช่น อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายใน ชมุ ชนร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสรมิ สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคี เครือข่ายในการดำเนินการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล ทั้งในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ รว่ มคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถี ชีวิตของผู้เรียนและชุมชน มีคณะกรรมการ กศน. ตำบล ท่ีเป็นคนในชุมชนให้การส่งเสริมสนับสนุน ตดิ ตามดูแล และรว่ มประเมนิ ผลการดำเนินงาน กศน. ตำบล กศน.ตำบล จัดต้งั ขน้ึ โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดงั นี้ 1) เพ่ือ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพอ่ื ให้ประชาชนไดร้ ับการศึกษาตลอดชวี ติ อยา่ งทว่ั ถึงและมีคุณภาพ 2) เพอ่ื สรา้ งและขยายภาคเี ครอื ข่ายในการมีสว่ นร่วมการจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในชุมชน 3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคี เครือขา่ ย 4) เพ่ือประสานและเชื่อมโยงการดำเนินงานจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานท้ังภาครัฐ เอกชนและภาค ประชาชน หน้าท่ี บริหารจดั การทว่ั ไปจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั และการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน สถานท่ใี ห้บริการ กศน.ตำบลพระหลวง (โรงเรียนวัดพระหลวง ห้องคุณธรรม จริยธรรม) หมู่ 5 ตำบลพระหลวง อำเภอ สงู เม่น จงั หวดั แพร่
29 พื้นท่ีให้บรกิ าร จำนวนหมูบ่ ้านในชุมชน/ตำบล 5 หมู่บ้านจำนวนครัวเรอื นทัง้ สิ้น 1,527 ครวั เรือน ประชากรรวมทุก หม่บู ้าน 3,894คน หมู่ที่ ช่ือหมบู่ า้ น บ้าน จำนวนประชากร (คน) ปกติ 1 บ้านหัวดง ชาย หญิง รวม 2 บา้ นโฮ้ง 381 3 บ้านพระหลวง 237 426 454 880 4 บา้ นพระหลวง 336 311 305 616 5 บา้ นพระหลวง 200 403 472 875 373 279 307 586 รวม 1,527 437 500 937 อา้ งอิงข้อมลู จาก : กรมการปกครอง ปี 2563 1,856 2,038 3,894 รายนามครู กศน.ตำบล ปี 2558 – 2560 1. นางเกษณีย์ งา้ วแหลม ปี 2561 – ปจั จบุ นั 2. นางสาวเมทนิ ี ฉิมภารส แผนที่ กศน.ตำบล และ จุดพิกัด กศน.ตำบล เสน้ ทางจาก กศน.อำเภอสงู เม่น เดนิ ทางไป กศน.ตำบลพระหลวง ใช้เวลาในการเดนิ ทาง 5 นาที
30 แผนท่ี กศน.ตำบลพระหลวง คณะกรรมการ กศน.ตำบล ๑. นายชนะศักดิ์ เดด็ ขาด ๒. นายดิเรก ดอกแก้ว ๓. นายสนทิ เถลิงศักดิ์สกลุ ๔. นายเจษฏา แกว้ ผล ๕. นางสาวสภุ ัทรา จำปี ๖. นายสง่า พ่มุ พวง ๗. นางสุเรอื น สขุ สำราญ อาสาสมัคร กศนตำบล ๑. นางสาวศศิประภา เวียงคำ ๒. นายศตพล ปงิ ตา ๓. นางสาวศรีนวล ทรงกลู ๔.นางศรวี รรณ พนื้ งาม ๕. นางถนอม เด็ดขาด บุคลากรใน กศน.ตำบล ๑. นางสาวมุกดา เหมอื งจา ๒. นางสาวเมทินี ฉมิ ภารส
31 1. การจัดกิจกรรมการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 1. กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสูงเม่น ได้มอบหมายให้ นางสาวมุกดา เหมืองจา ตำแหน่งครูอาสาสมัครการศึกษานอกระบบแลการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสูงเม่น รับผิดชอบการ จดั การเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือ ผู้ลืมหนังสือ ในเขตอำเภอสูงเม่น ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีพ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบ 3 ตำบล 26 หมู่บ้าน คือ กศน.ตำบลน้ำชำ กศน.ตำบลบ้านปง และ กศน.ตำบลพระหลวง ซ่ึงได้สำรวจข้อมูลพ้ืนฐานด้านการศึกษาของประชากรในพื้นท่ีอำเภอสูงเม่น เพ่ือ นำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานนำมาใช้วางแผนการปฏิบัติงานประจำปี โดยเฉพาะข้อมูลประชากรวัยแรงงานอายุ 15- 59 ปี ที่พลาดโอกาสทางการศึกษา เพื่อส่งเสริมประสานงานและสร้างโอกาสเข้าสู่การศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีมี คุณภาพอย่างท่ัวถึง เท่าเทียมกัน โดยคำนึงถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนตามความเหมาะสม ความ ต้องการ มีรูปแบบการจัดกิจกรรมความหลากหลายเพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิตและการปฏิบัติจริง ซึ่งจะส่งผล ต่อการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาสังคมและชุมชน ด้วยกลุ่มเป้าหมายท่ีหลากหลายและแตกต่างกัน การ จดั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานจึงจดั ใหส้ อดคล้องความต้องการอยา่ งแทจ้ ริง ด้านปริมาณ ไดป้ ระสาน สง่ เสรมิ และจัดการเรียนการสอนการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานท้ัง 3 ระดับ คือ ระดับ ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายจำนวน ๓ ตำบล มนี กั ศึกษารวมทั้งสน้ิ 180 คน 1.1 การรับสมัครการศึกษาขนึ้ พื้นฐาน ภาค ระดบั ตำบล ตำบล ตำบล รวมท้ังหมด หมายเหตุ เรียน การศกึ ษา น้ำชำ บ้านปง พระหลวง ประถมศึกษา - 6 17 23 ประสานงาน/สง่ เสรมิ ม.ตน้ 16 19 22 57 ประสานงาน/ส่งเสริม 1/2564 ม.ปลาย 44 35 21 100 ประสานงาน/ส่งเสริม ผไู้ มร่ ้หู นังสือ 20 10 5 ๓๕ ทำหน้าทส่ี อน รวม 80 70 65 215 จำนวนนกั ศึกษากศน.ตำบลที่รบั ผิดชอบทลี่ งทะเบียน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ลำดับ กศน.ตำบล จำนวน จำนวน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักศกึ ษา ผ้เู ข้าสอบ ผู้เขา้ สอบ ลงทะเบยี น 1 กศน.ตำบลน้ำชำ 60 ๒ กศน.ตำบลบา้ นปง 60 ๓ กศน.ตำบลพระหลวง 60 4 ครูอาสาฯ 35
32 กิจกรรมการเรียนการสอนภาคเรียน 1/๒๕64 จดั กจิ กรรมสอนผู้ไมร่ ้หู นังสือ/ผู้หลงลมื หนงั สือ ตดิ ตามผเู้ รยี นท้ัง ๓ ตำบล(นำ้ ชำ บา้ นปงและพระหลวง)
33 กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาคเรยี น 1/๒๕64 ประสานการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของ กศน.ตำบลทีร่ ับผดิ ชอบ การเรยี นการสอนครูกศน.ตำบลน้ำชำ การเรยี นการสอนครูกศน.ตำบลบ้านปง การเรยี นการสอนครูกศน.ตำบลพระหลวง
34 กิจกรรมการประชาสัมพนั ธ์รับสมคั รนกั ศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1/25๖4 วันท่ี 1เมษายน2564— 31 พฤษภาคม 25๖4 พื้นท่ี กศน.ตำบล ในเขตอำเภอสงู เม่นคณะครู กศน.อำเภอสงู เมน่ ลงพืน้ ทีป่ ระชาสัมพันธ์รับสมคั รนักศึกษา ประจำภาคเรยี นท่ี 1/๒๕๖4 คณะครู กศน.อำเภอ สูงเม่น ได้ลงพน้ื ท่ีประชาสมั พันธ์นักศึกษาโดยการใช้รถกระจายเสยี ง และการตดิ ปา้ ยประชาสมั พันธ์ตามจดุ ต่าง ๆ เพอื่ แจง้ ให้ทกุ พืน้ ท่รี ับทราบการรับสมคั รนักศึกษาอย่างท่ัวถงึ ในเขตพ้ืนท่ีอำเภอสูงเม่น จำนวน ๑๑๐ หม่บู ้าน (๑๒ ตำบล ๑ เทศบาล) การลงพืน้ ทเี่ พื่อประชาสัมพนั ธ์รับสมคั รนกั ศึกษา โดยมีคณะครู กศน.ตำบลและครู อาสาสมคั รและประชาสัมพนั ธแ์ บบออนไลด์ ในครงั้ น้ี กจิ กรรมประชาสัมพันธร์ ับสมัครนกั ศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ในพื้นท่ีเขตอำเภอสูงเม่น ประชาสัมพันธ์รับสมัครลงพ้ืนท่ีรับสมัครนักศึกษา กศน.ประจำภาคเรียนท่ี ๑ /256๔ ณ บริเวณบ้านหนังสือ ชุมชน ส่งเสริมการอ่านผ่านแผ่นพบั /ใบปลวิ ในเดอื นเมษายน และพฤษภาคม
35 กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น : กจิ กรรมปฐมนเิ ทศนักศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ออนไลน์ กศน.อำเภอสงู เม่น ประจำภาคเรียนท่ี 1ปกี ารศึกษา 2564 ในวันอาทติ ย์ ที่ 27 มถิ นุ ายน 2564 ณ กศน.อำเภอสงู เม่น อำเภอสงู เม่น จังหวัดแพร่ โดยนักศกึ ษา กศน.อำเภอสงู เมน่ ตำบล น้ำชำเข้า รว่ มจำนวน 25 คน รวมทง้ั ส้ิน 50 คน เขา้ รว่ มกิจกรรม โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อใหน้ ักศึกษามีความรู้ ความ เข้าใจเกย่ี วกับกระบวนการเรียนการสอนรวมทัง้ เง่อื นไขสำคัญของโครงสร้างหลักสตู รการจดั กจิ กรรมการเรียน การสอนให้นักศึกษา กศน. มีความรคู้ วามเข้าใจ มีเจตคติ และปฏบิ ัติตนถูกตอ้ ง
36 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : โครงการพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมขยายผลจิตอาสา กศน. ประจำปี 2564 รุน่ ท่ี 1วันพฤหัสบดี ที่ 15 กรกฎาคม 2564 ณ หอประชุมอำเภอสูงเมน่ อำเภอสงู เม่น จังหวัดแพร่
37 โครงการคา่ ยวชิ าการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนนกั ศกึ ษา ภาคเรียนท1ี่ /2564 ระดบั ม.ต้นและม.ปลาย โดยมีนางสาวอรณุ ี พนั ธ์ุพาณิชย์ ผอ.กศน.อำเภอสงู เม่น นเิ ทศ ติดตาม พบปะนกั ศึกษาท่ีเขา้ ร่วมโครงการ ใน วนั ท่ี18-19 กนั ยายน 2564 วชิ าการปลูกผกั ปลอดสารพษิ เพื่อการขาย ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น สอนโดย นางสาวมุกดา เหมืองจา ครูอาสาสมคั รฯ และวชิ าสังคมศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/เวลา 13.00น.-16.00น. วชิ าช่องทางการพฒั นาอาชพี ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ สอนโดยนางสาวศริ ลิ กั ษณ์ ม่นั เหมาะ ขา้ ราชการครู และ วิชาภาษาอังกฤษเพ่อื พัฒนาชีวิตและสังคมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ณ โรงเรยี นสูงเม่นวทิ ยาคาร ตำบลสงู เม่น อำเภอสงู เมน่ จังหวัดแพร่
38 ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานในการจัดการศกึ ษารปู แบบ กศน.ตำบล ๔ ศนู ย์ กศน.ตำบลนำ้ ชำ กศน.ตำบลบ้านปง และกศน.ตำบลพระหลวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4 ไตรมาส 3 – 4 ๑ ศนู ยเ์ รยี นรหู้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล เปน็ ศูนยก์ ลางการสง่ เสรมิ จัดกระบวนการเรียนรู้ และหนว่ ยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งภายในชุมชน ดำเนินงานรว่ มกับกองอำนวยการรักษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) จดุ ประสงค์ 1. เพอ่ื ขยายผลโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำรติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ เกษตรทฤษฎใี หม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ส่ปู ระชาชน 2. เพ่ือสรา้ งความรว่ มมือในการจดั ตั้งหมู่บ้านการเรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท 3. เพอ่ื สนบั สนนุ แนวทางในการเผยแพรอ่ งค์ความรตู้ ามหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ เกษตรทฤษฏีใหมผ่ า่ นกลไกการเรยี นรู้ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. เพื่อรว่ มมือด้านการรักษาความมนั่ คงสถาบนั หลักของชาตโิ ดยใหน้ กั ศึกษา กศน.และประชาชน ไดต้ ระหนักรู้และเห็นความสำคญั ของชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย์ 5. เพอื่ เผยแพร่องค์ความรู้ให้เกิดการจัดการความรู้ของชมุ ชนในรปู แบบชมุ ชนศกึ ษาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมท่ ่ีคนไทยควรยดึ ถือเปน็ แนวทางในการ ประยุกต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตอยา่ งมีคณุ ภาพ อันเป็นเป้าหมายในการพัฒนาไปส่ศู นู ย์เรียนรู้ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฏีใหม่ประจำตำบลต่อไปอยา่ งย่งั ยืน ๑.ศนู ย์เรียนรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจำตำบล กจิ กรรม จำนวน ระยะเวลา สถานท่ีดำเนินกิจกรรม ผ้รู ับผิดชอบ ผู้เขา้ ร่วม 1.จัดกิจกรรมโครงการ 41 คน วันที่ 30 ณ ศาลาเอนกประสงค์ ครู กศน.ตำบลน้ำชำ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ กรกฎาคม วดั น้ำชำ หมูท่ ี่ ๑๕ นางสาวมกุ ดา เหมืองจา ตามหลักปรัชญา 2564 ตำบลน้ำชำ อำเภอสูง ครอู าสาฯ เศรษฐกิจพอเพยี ง เมน่ จังหวดั แพร่ กศน.ตำบลน้ำชำ ประจำปี 2564 กิจกรรม การให้ความรู้เรื่อง การเกษตรธรรมชาติ ความสำคญั กบั การดำเนนิ ชวี ติ ตามแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ศาสตร์พระราชา การน้อมนำพระบรมรา โชบายสู่การปฏบิ ตั ิ “ โคก หนอง นา โมเดล ,การทำ ฮอร์โมนไข่, โดยนางสาว มกุ ดา เหมืองจา ครู
อาสาสมคั รฯ จำนวน ผู้เขา้ รว่ มอบรม ๔๑ คน วนั ที่ 30 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลา เอนกประสงค์ วัดน้ำชำ หมทู่ ่ี ๑๕ ตำบล นำ้ ชำ อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ๑.โครงการจัด วันท่ี5 ณ ศาลาเอนกระสงค์ ครู กศน.ตำบลบา้ นปง กระบวนการเรียนรู้ตาม 3๐คน สิงหาคม บา้ นปงท่าขา้ ม หมทู่ ่ี 5 นางสาวมุกดา เหมืองจา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ตำบลบ้านปง อำเภอสูง ครอู าสาฯ ประจำปี ๒๕๖๔ กศน. ๒๕๖4 ตำบลบ้านปง จดั กิจกรรม เม่น จงั หวัดแพร่ การสาธติ การทำฮอรโ์ มน วันที่ 11 ไข่ เรง่ ดอกเร่งผล 50คน สงิ หาคม ทที่ ำการผใู้ หญ่บา้ น หมู่ที่ ครู กศน.ตำบล 3.โครงการการจัด 4 ตำบลพระหลวง พระหลวง กระบวนการเรยี นรูต้ าม 2564 อำเภอสงู เมน่ จงั หวัด นางสาวมุกดา เหมืองจา หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ แพร่ ครอู าสาฯ พอเพียง กศน.ตำบลพระ หลวงประจำปี 2564 / กจิ กรรมการใหค้ วามรู้ เร่อื งการเกษตรธรรมชาติ ความสำคัญกับการดำเนิน ชวี ิตตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ศาสตร์พระราชา การน้อมนำพระบรมรา โชบายสู่การปฏิบตั ิ “ โคก หนอง นา โมเดล ,คลอง สวยนำ้ ใส, โดยนางสาว มกุ ดา เหมืองจา ครู อาสาสมัครฯ /กจิ กรรม การให้ความรเู้ รื่อง การเกษตรธรรมชาติ เกษตรปลอดภัยกับเกษตร อนิ ทรีย์ /กิจกรรมการ เรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติการ ทำฮอร์โมนไข่
40 1.จัดกิจกรรมโครงการการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.ตำบลนำ้ ชำ ประจำปี 2564 กจิ กรรมการให้ความรูเ้ รื่องการเกษตรธรรมชาติ ความสำคัญกบั การดำเนิน ชวี ติ ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศาสตร์พระราชา การน้อมนำพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบตั ิ “ โคก หนอง นา โมเดล ,การทำฮอรโ์ มนไข,่ โดยนางสาวมุกดา เหมืองจา ครูอาสาสมคั รฯ จำนวนผเู้ ข้าร่วมอบรม ๔๑ คนวนั ที่ 30 รกฎาคม2564 ณ ศาลาเอนกประสงค์ วัดน้ำชำ หมู่ท่ี ๑๕ ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเมน่ จังหวดั แพร่ 2.โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี ๒๕๖๔ กศน.ตำบลบ้านปง จัด กิจกรรมการสาธิตการทำฮอร์โมนไข่ เร่งดอกเร่งผล วันท่ี 5 สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖4 ณ ศาลาเอนกระสงค์บ้านปง ท่าข้าม หมทู่ ี่ 5 ตำบลบา้ นปง อำเภอสูงเมน่ จงั หวัดแพร่ 3.โครงการการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตำบลพระหลวงประจำปี 2564 /กิจกรรมการใหค้ วามรเู้ รื่องการเกษตรธรรมชาติ ความสำคัญกับการดำเนนิ ชีวิตตามแนวทางหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา การนอ้ มนำพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏบิ ัติ “ โคก หนอง นา โมเดล ,คลอง สวยน้ำใส, โดยนางสาวมกุ ดา เหมืองจา ครูอาสาสมัครฯ /กิจกรรมการให้ความรเู้ ร่ืองการเกษตรธรรมชาติ เกษตร ปลอดภัยกบั เกษตรอนิ ทรยี ์ /กิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารทำฮอร์โมนไข่ ในวนั ท่ี 11 สิงหาคม 2564 ณ ที่ทำการผ้ใู หญบ่ า้ น หมู่ท่ี 4 ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จงั หวัดแพร่
41 ๒.ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาประชาธปิ ไตยประจำตำบล เพือ่ สร้างการเรียนรูแ้ ละความเขา้ ใจทถ่ี ูกต้อง เกีย่ วกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธแิ ละหนา้ ที่ ในระบอบประชาธปิ ไตย บรู ณาการความรว่ มมือกับคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และภาคประชาสงั คม 1.นิยาม ศนู ย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธปิ ไตยและการเลอื กตงั้ ตำบล(ศส.ปชต.) ศนู ย์สง่ เสรมิ พฒั นา ประชาธปิ ไตยและการเลือกตั้งตำบล (ศส.ปชต.) เปน็ ศนู ย์ท่ีจัดตง้ั โดยสำนักงานคณะกรรมการเลอื กต้ังประจำ จงั หวัดเชียงใหมโ่ ดยจะให้เปน็ องค์กรภาคประชาสงั คมระดับตำบลที่มกี ารบริหารจัดการกันเองไม่ใชเ่ ฉพาะเรือ่ ง การเลือกต้ัง สามารถดำเนินการเร่ืองอน่ื ได้โดยบรู ณาการทรัพยากรในพืน้ ที่มาช่วยกนั ดำเนินงานในวิถชี วี ิต ประชาธิปไตย 2.แนวคดิ การจัดตงั้ ศนู ย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลอื กตงั้ ตำบล (ศส.ปชต.) ภายใต้กรอบ ความคิดวา่ ประชาธปิ ไตยควรสร้างข้นึ จากคนในท้องถิ่น (ชุมชน) เพ่ือสรา้ งให้ท้องถ่ินมีวิถีชวี ติ ประชาธปิ ไตยท่ี เขม้ แข็ง และเปน็ การสรา้ งความเปน็ พลเมืองให้กับคนในชุมชน เพอื่ ใหค้ นในชุมชนเป็นสมาชกิ ของสังคมที่ สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ใหม้ ีความรู้จักเคารพสิทธิของผอู้ น่ื เคารพความเหน็ ต่าง ความเสมอภาค กติกา หรอื กฎหมาย รบั ผิดชอบต่อสังคมโดยเริ่มที่ตนเอง เม่อื สมาชิกในชมุ ชนมคี วามเปน็ พลเมอื งจะทำใหช้ ุมชนมีความ เข้มแข็ง มวี ถิ ีชีวิตประชาธปิ ไตย 3.หลักการสำคัญการจดั ตงั้ ศูนยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตยและการเลอื กตงั้ ตำบล(ศส.ปชต.) เพ่อื ให้มี องค์กรภาคประชาสงั คมระดับตำบลโดยให้คนในพื้นที่เปน็ เจ้าขององค์กร เป็นเวที หรือ สถานทแ่ี ลกเปล่ยี น พูดคุยกนั การขบั เคล่ือนงานโดยคนในพนื้ ท่ี มีการประสานงานทกุ ภาคส่วน เน้นสามประสาน “ บวร” เรยี นรู้โดยการกระทำอย่างต่อเน่ือง 4.กฎของการจดั ตั้งศูนยส์ ่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตยและการเลือกตง้ั ตำบล (ศส.ปชต.)มี ๓ ข้อ คอื ๑) มีความเชอื่ วา่ ประชาธปิ ไตยทีม่ ัน่ คงยง่ั ยืน ประชาชนตอ้ งสรา้ งเอง ๒) หน่วยงานภายนอกเปน็ แต่ผ้สู นับสนุน ชว่ ยเหลือสง่ เสรมิ หรือใหค้ ำปรึกษา ๓)ไม่ใช้เงินเปน็ ตวั ตัง้ ในการขับเคล่ือนแต่ใช้การผสานพลงั ทุกภาคส่วนร่วมมอื กัน วตั ถุประสงคก์ ารจดั ตัง้ ศูนยส์ ่งเสริมพัฒนาประชาธปิ ไตยและการเลือกต้ังตำบล (ศส.ปชต.) มี ๔ ขอ้ ข้อคือ ๑).เป็นศนู ย์กลางการปฏบิ ตั ิงานและประสานงานของเครือข่ายในการพฒั นาประชาธปิ ไตยระดับตำบล ๒).เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ท่ีถกู ต้องเกี่ยวกบั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย และปลูกจิตสำนกึ ให้แกเ่ ยาวชน นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชน อันเป็นการพฒั นาประชาธิปไตยในระยะยาวอยา่ งมน่ั คงและ ยั่งยืน ๓).เพื่อให้เยาวชน นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชน ในฐานะผ้มู ีสว่ นได้เสยี และเป็นสว่ นหนงึ่ ของสังคม ตระหนักถึงภาระหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของตนต่อการพัฒนาประชาธิปไตย ๔).เพอื่ เป็นเครือข่ายในการ รณรงค์ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับประชาธิปไตย การเลือกต้ังใหแ้ กป่ ระชาชน รวมทั้งให้ความ ชว่ ยเหลอื การบริการประชาชนในการเลือกตง้ั และกิจกรรมอ่ืนๆ
42 โครงสรา้ งคณะกรรมการบรหิ ารศูนยส์ ง่ เสริมพัฒนาประชาธปิ ไตยและการเลอื กตั้งตำบล(ศส.ปชต.) ประกอบดว้ ย ผู้ทรงคุณวฒุ ิ/ปราชญท์ ้องถนิ่ /เจา้ คณะตำบล ตัวแทนพลเมืองอาสา ผู้แทนสถานศึกษา/ผู้แทนสถานศกึ ษาที่มีหนว่ ยลูกเสืออาสากกต. ผแู้ ทนอสม. อช. ประธานกองทุนพัฒนาบทบาท สตรตี ำบล กำนนั ผ้ใู หญ่บ้าน ผู้บรหิ ารอปท. ครกู ศน.ตำบล (อาจเพ่ิมเติมได้อกี ๒-๓ คน ) ๒ .ศนู ย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล - ศนู ยส์ ่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบลนำ้ ชำ - ศนู ยส์ ง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบลบ้านปง - ศนู ย์สง่ เสรมิ พัฒนาประชาธิปไตยตำบลพระหลวง ๒.ศนู ยส์ ง่ เสริมพฒั นาประชาธิปไตยตำบล กจิ กรรม จำนวน ระยะเวลา สถานทดี่ ำเนนิ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ผเู้ ข้าร่วม -ประชุมคณะกรรมการ เมษายน- กศน.ตำบลนำ้ ชำ นางสาวมุกดา เหมืองจา ศส.ปชต. เพอื่ ตดิ ตามการ ๓ ตำบล กนั ยายน กศน.ตำบลบ้านปง ครู กศน.ตำบลนำ้ ชำ สง่ เสรมิ ประชาธิปไตยใน ๓๐ คน ๒๕64 กศน.ตำบลพระหลวง ครู กศน.ตำบลบา้ นปง ตำบล ครู กศน.ตำบลพระหลวง ๓. ศนู ย์ดจิ ิทัลชมุ ชน ซง่ึ บริหารจดั การฐานข้อมลู ท่ีจำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน เพ่อื ให้มีความรู้และ รับรูท้ เ่ี ทา่ ทนั ปรบั ตัวใหส้ อดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมโลกยคุ ดิจิทลั ด้วยกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารจัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพชุมชนเพ่ือ รองรับเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ภายใต้โครงการส่งเสริม และพัฒนาการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 25๖๑ เพื่อพฒั นาบุคลากรท่ีเก่ยี วข้องกับศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชนผ่านเทคโนโลยสี มยั ใหมท่ ่ี รองรบั ความแตกต่างกนั ดา้ นพืน้ ทส่ี ร้างความเข้มแขง็ ใหเ้ ครือขา่ ยการทำงานผา่ นกระบวนการ อบรมสัมมนาเชิง ปฏบิ ตั ิการแบบเข้มขน้ เพื่อพัฒนาบุคลากร ใหม้ ีความรคู้ วามสามารถและทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และ การสอื่ สารเพ่ือการพฒั นา มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรสู้ ู่ชุมชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร เป็นเคร่ืองมือหลักของการพัฒนา การจัดการความรู้ ของชมุ ชน สร้างโอกาสในการพฒั นาตนเอง พัฒนาอาชีพและเพม่ิ ช่องทางการสรา้ งรายได้และมีขีดความสามารถ ในการแข่งขนั เพ่ือรองรับเศรษฐกิจดจิ ิทัล ซง่ึ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน)ได้รบั ความไวว้ างใจให้เป็นผู้ดำเนนิ โครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖๑ วตั ถุประสงค์ของกจิ กรรม 1. เพือ่ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเปน็ เคร่ืองมือหลักของการจัดการเรียนร้ขู อง ชุมชนเพื่อรองรบั การแขง่ ขนั ในยคุ เศรษฐกจิ ดิจิทลั 2. เพอื่ พัฒนาศักยภาพด้าน ICT ให้บุคลากรของศูนยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน เยาวชนกลุ่ม อาชพี เจ้าหน้าท่หี น่วยงานระดบั ท้องถน่ิ และประชาชนโดยท่วั ไปเพื่อประโยชน์เชิงอาชีพ รายได้ และการ ดำรงชีวิตประจำวนั ใหส้ ามารถรูเ้ ท่าทันโลกไปพร้อมๆ กบั การใชอ้ ยา่ งมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเป็นประโยชนต์ อ่ ตนเอง และสังคมเตรยี มความพร้อมสู่การเปน็ เศรษฐกิจดิจิทัล
43 3. เพอ่ื สรา้ งผูช้ ำนาญการประจำชุมชนใหส้ ามารถถ่ายทอดความรู้ลงสู่ชมุ ชนส่งเสรมิ สังคม แห่งภูมปิ ัญญาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 4. สร้างความเข้มแข็งและความย่งั ยนื ใหแ้ ก่ศนู ย์การเรยี นรู้ ICT ชุมชนโดยโครงการที่จัดทำ โดยชมุ ชนเพ่ือสรา้ งความย่ังยืนของศนู ย์การเรยี นรู้ ICT ชุมชน เพ่ือเป็นการกระจายรายได้ และกระต้นุ เศรษฐกิจ ชุมชนต่อยอดสแู่ นวทางการบริหารแบบพ่งึ พาตนเอง เปา้ หมายกจิ กรรม จัดฝึกอบรมสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนาศักยภาพผดู้ ูแลศนู ย์การเรียนรู้ ICT ชมุ ชนตง้ั ใหมห่ รือ เปลี่ยนใหม่ จำนวน ไม่น้อยกว่า 400 คน และผู้ดูแลศนู ย์การเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน (ปี 50-56) จำนวน 400 คน จดั ฝึกอบรมเทคโนโลยีใหมๆ่ และเทคนิคการทำงานข้นั สูงเพ่ือกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน จำนวน ไม่นอ้ ย กว่า 160 คนส่งเสริมใหช้ ุมชนจดั ทำโครงการ/กจิ กรรมในชมุ ชน จำนวน 800 แห่ง/โครงการโดยมปี ระชาชนเข้า รว่ มกิจกรรม จำนวนรวม ไมน่ ้อยกว่า 12,000 คนจดั ฝึกอบรมทางดา้ นเทคโนโลยีสารเสนเทศและการสือ่ สารแก่ สมาชกิ สหกรณ์จำนวนไม่น้อยกว่า 400 คนมีหลักสูตรดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารและระบบการ เรยี นร้ตู ามอัธยาศยั แบบอิเล็กทรอนิกส์ทสี่ ามารถเรียนได้ดว้ ยส่อื ต่างๆรองรบั การเข้าสู่เศรษฐกิจดจิ ิทัล ๔. ศนู ยก์ ารศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพ่ือสง่ เสริมและสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาในระบบการศึกษา นอก ระบบการศกึ ษา และการศึกษาตามอัธยาศยั ให้มคี ุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชน เปน็ ฐานในการดำเนนิ งาน โดย กศน.ตำบล มีบทบาทเปน็ ผ้ปู ระสานงานและอำนวยความสะดวก จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนผ่านเวฟไซด/์ การใช้คิวอาร์โคซ์ จดั กจิ กรรมโครงการดิจิทัลชมุ ชนตำบลพระหลวง ระหวา่ งวันท่ี 29-30 กรกฎาคม2564 จดั กจิ กรรมโครงการดจิ ิทัลชมุ ชนตำบลบา้ นปง ระหว่างวนั ท่ี 16-17 สิงหาคม2564 จัดกิจกรรมโครงการดิจิทัลชุมชนตำบลนำ้ ชำระหว่าง วันท่ี 17-18 สิงหาคม 2564 กศน.อำเภอสงู เม่น
44 ๔.ศูนยก์ ารศึกษาตลอดชีวิตชุมชน กิจกรรม จำนวน ระยะเวลา สถานที่ดำเนนิ กจิ กรรม ผูร้ บั ผิดชอบ ผู้เขา้ ร่วม ๑.การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน การ ๓ตำบล ไตรมาส 3 กศน.ตำบลน้ำชำ นางสาวมุกดา เหมืองจา กศน.ตำบลบา้ นปง ครู กศน.ตำบลน้ำชำ จดั กิจกรรมการเรยี นการ นักศึกษา ถึง กศน.ตำบลพระหลวง ครู กศน.ตำบลบ้านปง ครู กศน.ตำบลพระหลวง สอน ภาคเรียนที่ 1/๒๕๖4 ทง้ั หมด .ระดบั ไตรมาส 4 กศน.ตำบล มีนักศึกษา ม.ตและระดับ ท้งั หมด ม.ปลาย - ผไู้ มร่ ู้หนังสือหรือหลงลมื ๑๘0คน หนงั สอื - ผู้ไมร่ ู้หนังสือ หรอื หลงลืม หนังสอื ๓๕คน ๒.กิจกรรมโครงการฝึกอบรม เกษตรอินทรีย์/ปลอดสารพิษ และเผยแพร่ความรู้เกษตร 15๐คน กรกฎาคม - กศน.ตำบลนำ้ ชำ นางสาวมกุ ดา เหมืองจา ธรรมชาติ เกษตรทฤษฎีใหม่ สิงหาคม กศน.ตำบลบา้ นปง ครู กศน.ตำบลนำ้ ชำ ตามแนวทางปรัชญ าของ ๒๕๖4 กศน.ตำบลพระหลวง ครู กศน.ตำบลบ้านปง เศ รษ ฐกิ จพ อ เพี ย งสู่ โค ก ครู กศน.ตำบลพระหลวง หนอง นา โมเดล ๓.กิจกรรมวชิ าชพี หลักสูตร 160 คน กรกฎาคม - กศน.ตำบลนำ้ ชำ นางสาวมกุ ดา เหมืองจา ระยะสน้ั กจิ กรรมหน่ึงอำเภอ 150๐ คน สิงหาคม กศน.ตำบลบา้ นปง ครู กศน.ตำบลน้ำชำ หนึ่งอาชพี วชิ าการทำถงุ ยา่ ม ๒๕๖4 กศน.ตำบลพระหลวง ครู กศน.ตำบลบ้านปง ดน้ มือ/วชิ าการแปรรปู ครู กศน.ตำบลพระหลวง ผลติ ภัณฑ์จากหม/ู และการ ไตรมาส 3 ออกแบบการลวดลาย ถงึ กศน.ตำบลนำ้ ชำ นางสาวมุกดา เหมืองจา กระเปา๋ จักสาน หลักสูตร กศน.ตำบลบ้านปง ครู กศน.ตำบลน้ำชำ 40 ชว่ั โมง/การส่งเสริมศูนย์ ไตรมาส 4 กศน.ตำบลพระหลวง ครู กศน.ตำบลบา้ นปง ฝึกอาชีพชุมชนให้กับ ครู กศน.ตำบลพระหลวง ประชาชนตำบล ๔.การศึกษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน หอ้ งสมุดประชาชน -กศน.ตำบล -บา้ นหนังสือชุมชน -การอ่านหนงั สือผ่านควิ อาร์ โค้ด
45 การศกึ ษาตอ่ เน่ือง การศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพ โครงการส่งเสรมิ อาชพี โดยจัด สง่ เสริม และพฒั นาการจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการพฒั นาความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชพี ของบุคคลและกลุม่ บุคคล เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน และส่งเสรมิ ความเข็มแขง็ ให้กับเศรษฐกจิ ชุมชน การจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชพี มี 4 ประเภทคือ 1. การฝกึ ทักษะอาชีพ โดยจดั การศึกษาด้านอาชพี หลักสูตรระยะสั้น เพื่อสนองความต้องการของผู้เรียน ให้มีความรูแ้ ละทักษะพน้ื ฐานในการอาชีพ 2.การเข้าส่อู าชพี เป็นการพัฒนากล่มุ เป้าหมายใหส้ ามารถคิดวิเคราะห์แลกเปล่ียนเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เพ่ือเข้าสู่อาชีพ 3. กลุ่มพัฒนาอาชีพเป็นการสง่ เสรมิ ความรู้และประสบการณแ์ ก่กลมุ่ ที่มีอาชีพประเภทเดียวกนั ให้ สามารถพัฒนาปริมาณและคุณภาพผลผลิตเข้าสู่การจำหน่ายมีรายได้ยิ่งข้ึนเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้โดย กระบวนการกลุ่ม 4. การพฒั นาดว้ ยเทคโนโลยเี ปน็ การให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะท่ตี ้องการนำเทคโนโลยีมา ใชใ้ นการพฒั นาอาชพี และศกั ยภาพแก่ตนเองและกลุ่ม การจัดการศกึ ษาอาชีพทัง้ 4 ประเภทเป็นกจิ กรรมทีม่ ีความสัมพันธต์ อ่ เน่อื งท้งั การเรียนรูแ้ ละการ ประกอบอาชีพมิได้แยกจากกันโดยเด็ดขาดเช่นเม่ือเรียนพัฒนาอาชีพอาจจะต้องการความร้ทู กั ษะอาชีพบางอย่าง ทม่ี ีเสริมให้อาชีพที่ดำเนนิ การอยา่ งมีคุณค่ามากข้ึน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสูงเม่น เห็นความสำคัญในการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยมกี ารจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนพฒั นาคุณภาพ การศึกษา และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี โดยใช้มาตรฐานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นเปา้ หมายในการดำเนินการพัฒนาสถานศกึ ษาจักการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพท่ี สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายของโครงการตามปรชั ญา วิสัยทศั น์ เป้าประสงค์ของสถานศกึ ษา โดยไดท้ ำการประสานงาน ครูกศน.ตำบลท้ัง 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลนำ้ ชำ / ตำบลบ้านปงและตำบลพระหลวง โดยจัดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
46 การจัดการศึกษาตอ่ เน่ืองวิชาชพี หลักสตู รระยะส้ัน กจิ กรรมรูปแบบหนง่ึ อำเภอหนึ่งอาชีพ วชิ าการทำถุงยา่ มดน้ มือ หลักสตู ร ๔๐ ช่ัวโมง ให้กบั ประชาชนตำบลพระหลวง ระหว่างวนั ท่ี 13 สิงหาคม ๒๕๖4 ถึงวนั ท่ี 20 สงิ หาคม ๒๕๖4 ณ กศน.ตำบลพระหลวงหมู่ 5 ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวดั แพร่ ซึง่ มผี เู้ รียน จำนวน 20คน โดยมนี างสาวสกุ ัลยา คณุ าคำ เป็นวทิ ยากรให้ความรู้
Search