Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายกับการเกษตรไทย

กฎหมายกับการเกษตรไทย

Published by ปัญญา ภู่ขวัญ, 2021-11-21 06:28:11

Description: กฎหมายกับการเกษตรไทย

Search

Read the Text Version

1 กฎหมายกบั เกษตรไทย รวบรวม โดย ปัญญา ภูข่ วญั

2 กฎหมายกบั เกษตรไทย เกษตรกรเป็นอาชีพท่ีอยู่คกู่ บั สังคมไทยมายาวนาน นับตง้ั แต่อดีตกาลจนมาถึงปจั จบุ นั การเกษตรถือเป็นแหล่งรายไดห้ ลกั ของประชาชนชาวไทยตลอดมาไมว่ ่าจะในยุคใดสมัยใด โดยแทบ จะเรยี กได้เลยว่าการเกษตรนัน้ ถอื เป็นรากฐานท่ีคอยค้าจนุ สงั คมไทยเลยกว็ ่าได้ เพราะเกษตรกรรมน้นั ถือเปน็ อาชีพหลกั ของคนไทยมาตัง้ แตอ่ ดีต เปน็ แหล่งรายไดห้ ลัก และเป็นแหลง่ อาหารที่สา้ คัญของ ประเทศ แตร่ ูปแบบโครงสรา้ งทางสังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปนนั้ ก่อใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงของสังคม เกษตรไทยไปอยา่ งมากในหลายๆ ความหมายจนท้าให้เกิดปัญหาตา่ งๆ หลายรูปแบบกบั สงั คมเกษตร เพ่อื ให้มองเหน็ ภาพรวมของปญั หาทเ่ี กิดข้นึ กับเกษตรกรไทย ผเู้ ขียนขอยกเอาเนื้อหาจากการ การเปิดเวทีสทิ ธมิ นุษยชนเพื่อการปฏริ ูปการเมือง เนื่องในวนั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากล และวนั รฐั ธรรมนญู ไทย ปี 2549 ซึง่ ทางคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ และเครือขา่ ยองค์กรสิทธมิ นษุ ยชน 21 องค์กรไดร้ ว่ มกนั จัดขึ้น โดย ในเวทีดงั กล่าว เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลอื กซึง่ เป็นองค์กรที่ท้างานด้าน การส่งเสริมเกษตรกรรม ยง่ั ยืนในพืน้ ท่ีท่วั ประเทศ ได้น้าเสนอประเดน็ ปญั หาดา้ นสทิ ธมิ นุษยชนของ กลุม่ เกษตรกรรายย่อย รวมถึงมีขอ้ เสนอต่อประเดน็ ดังกล่าว สรุปไดด้ งั น้ี ปัญหาของเกษตรกร 1. ขาดสิทธิในทด่ี ินทา้ กิน เนือ่ งจากในปจั จบุ นั ที่ดนิ กลายเป็นสินค้าหนึ่งในระบบทุนนยิ ม ท้าให้ท่ีดิน เปล่ียนมอื ไปเป็นของผ้ทู ีร่ ่้ารวย กลุม่ ทุนและนักการเมอื ง ทา้ ให้เกษตรกรไม่อาจมีที่ดินส้าหรบั การ ประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม 2. ขาดอ้านาจและสิทธใิ นการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและทรพั ยากรพนั ธุกรรม เนื่องจากการพัฒนา ท่ผี า่ นมาได้ชว่ งชงิ อ้านาจและสิทธเิ หลา่ นีไ้ ปจากเกษตรกร 3. ความไม่เป็นธรรมและการขาดอา้ นาจต่อรองในโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ จากที่ผ่านมา โครงสร้างทางเศรษฐกิจกา้ หนดใหเ้ กษตรกรต้องยนื อยใู่ นจุดท่ีต้อง ยากจน และขาดอิสรภาพในการทา้

3 กินหรอื ประกอบอาชีพอย่างแทจ้ รงิ เนอ่ื งจากสภาพปจั จบุ ันปจั จัยการผลิตและการตลาดถูกผกู ขาดโดย กลุ่มทนุ เพยี งไม่ ก่ีกลุ่มเท่าน้ัน เกดิ สภาพการเอารดั เอาเปรียบมากมาย ไม่วา่ จะเปน็ สัญญาทไี่ มเ่ ป็น ธรรม การก้าหนดราคาสินคา้ และปจั จัยการผลิตโดยไม่ค้านงึ ถึงความทุกขร์ อ้ นของเกษตรกร รวมถึง การทุม่ ตลาดเพ่ือทา้ ลายเกษตรกรรายย่อย เป็นตน้ 4. เกษตรกรถูกครอบง้าในกระบวนการเรยี นรู้ เน่อื งจากปัจจบุ นั กระบวนการให้ความรู้จะอยบู่ นพื้นฐาน ผลประโยชนข์ องกล่มุ ทุน เป็นหลกั เป็นการให้ความรูเ้ พ่ือมุ่งหวงั การขายสินค้าและปัจจัยการผลิต และ ความรู้เหล่าน้ไี มไ่ ดส้ นบั สนุนให้เกษตรกรสามารถพงึ่ ตนเองได้อย่างแทจ้ ริง 5. ขาดกลไกของรัฐท่ีจะคอยปกป้องและค้มุ ครองสิทธิของเกษตรโดยเฉพาะเกษตรกรราย ยอ่ ย แต่กลบั ให้สทิ ธพิ เิ ศษกับกลมุ่ ทนุ บางกลมุ่ ทท่ี ้าธรุ กิจด้านการเกษตร และเขา้ มาเอารัดเอาเปรียบเกษตรกรราย ยอ่ ยในทสี่ ดุ ที่กลา่ วมาน้ีคือภาพรวมของปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ กับเกษตรกรไทยทเ่ี กดิ ข้ึนจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้าง ทางสงั คม รูปแบบการเกษตรในปจั จุบนั การเกษตรในปจั จุบันนมี้ ีความแตกตา่ งกับการเกษตรในอดีตเป็นอย่างมาก ซ่งึ เป็นผลมาจาก การปฎิวัตอิ ุตสาหกรรมทไ่ี ด้เปลย่ี นแปลงระบบเศรษฐกจิ จากเกษตรกรรม ไปสู่ อตุ สาหกรรม จากเดิมที่ การเกษตรนน้ั เป็นเพยี งการเกษตรเพ่ือยังชพี เน่ืองจากสามารถผลิตไดใ้ นปรมิ าณทไี่ ม่มาก แตเ่ มื่อเกิด การปฎิวัตอิ ุตสาหกรรมแล้วทา้ ใหเ้ กิดเทคในโลยีใหมๆ่ ท่ีใชใ้ นการท้าการเกษตรมากข้ึน ท้าให้เกิดผล ผลิตทางการเกษตรท่เี พิม่ ขึ้นจนเกดิ ผลผลิตส่วนเกิน อันเป็นผลใหเ้ กิดการสะสมทุนท่ีทา้ ให้เกิดความ แตกตา่ งทางฐานะทางสังคมมากข้ึน ผ้ทู ส่ี ามารถสะสมทุนได้มากจากผลผลติ ส่วนเกินนก้ี ็จะผนั ตัวเอง เขา้ ส่อู ตุ สาหกรรมซึง่ เปน็ การผลิตจา้ นวนมากเพื่อการค้า ส่วนผูท้ ่ีผลติ ไดน้ อ้ ยก็มกั จะผันตวั เองจากการ เปน็ เกษตรสู่การเปน็ แรงงานในภาคอุตสาหกรรม จนเกดิ เป็นชนชัน้ นายทนุ และชนช้ันกรรมาชพี มาถงึ ปจั จบุ นั น้ี

4 การปฏวิ ตั เิ ขียว การปฏวิ ัติเขียว (The Green Revolution) ซึ่งเกดิ ขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 6 ในราว ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยใช้ความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตรเ์ กษตรและเทคโนโลยี มาใชใ้ นการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิตสินค้า เชน่ การใชพ้ นั ธพุ์ ชื และพันธส์ุ ตั ว์ท่ใี ห้ผลผลิตสูง การใชเ้ คร่ืองจักรกลทาง การเกษตรไถพรวนได้ลกึ มากข้นึ ทดแทนแรงงานจากสตั ว์ ทงั้ น้ีเพื่อใหส้ ามารถผลติ ได้ในทุกชว่ งเวลา และมีผลผลติ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการใช้สารเคมที างการเกษตรจ้าพวกปุ๋ยเคมี สารเคมีก้าจัดศัตรพู ืช และฮอรโ์ มนพชื สงั เคราะห์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ได้ผลผลิตท่สี ูงขึน้ ในการลงทุนท่เี ทา่ เดมิ ใน ระยะเวลาเดิม เพื่อจะได้มวี ัตถดุ บิ ป้อนให้กับโรงงานอุตสาหกรรมและเป็นการประหยัดแรงงาน เนอ่ื งจากแรงงานส่วนใหญห่ ล่ังไหลไปสภู่ าคอตุ สาหกรรมตามที่ได้มีการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมก่อนหน้าน้ี การปฏิวัติเขยี ว ไดก้ ลายเปน็ นโยบายและแนวทางหลักของการพัฒนาประเทศสว่ นใหญ่ในโลก นโยบายสง่ เสรมิ การทา้ การเกษตร รวมถึงเทคนิคการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ไดถ้ ูกก้าหนดใหใ้ ช้แนวทาง เดยี วกันจน กลายเป็นระบบหลกั ของทุกประเทศรวมถงึ ประเทศไทย เน่อื งจากแนวคิดในเรื่อง ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรท์ ีเ่ น้นความสามารถในการเพ่ิม ผลผลิตทางการเกษตรเปน็ จา้ นวนมากมี ผลตอบแทนสงู กับผ้ผู ลติ ได้กลายเปน็ แนวทาง หลกั ในการเลือกรูปแบบการผลิตทางการเกษตร การปฏิวัติเขียวได้เข้าสู่ประเทศในเอเชียตงั้ แต่สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยตุ ิลง โดยประเทศผู้ชนะสงครามได้ น้าการเกษตรกรรมทใี่ นยคุ นั้นเรียกวา่ “เกษตรกรรมแผนใหม่” ทีเ่ นน้ การใช้สารเคมสี ังเคราะหเ์ ข้า มาสูป่ ระเทศญี่ปุน่ และได้แพรต่ อ่ ไปยงั ประเทศพันธมติ ร เชน่ เกาหลีใต้ และอกี หลายประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ฟิลปิ ปนิ ส์ อินโดนีเซยี มาเลเซยี และไทย เปน็ ตน้ รูปแบบการเกษตรแผนใหมน่ ี้ ช่วยให้ประเทศญี่ปุน่ สามารถผลติ พชื ผลไดใ้ นปรมิ าณ ทเี่ ทา่ กับการเพาะปลูกแบบพ้ืนบา้ นแบบดงั้ เดมิ แต่ใช้เวลาน้อยกวา่ นอกจากนยี้ งั ใช้แรงงานของเกษตรกรนอ้ ยลงได้มากกวา่ ครึ่งหนง่ึ ดงั น้นั จึงทา้ ให้ เกิดการยอมรับเทคโนโลยสี มัยใหม่ และไดพ้ ัฒนากลายเป็นแนวทางหลักในการผลติ ทางการเกษตร หลกั ของญปี่ ุ่น และอกี หลายประเทศในเอเชยี ไปในที่สุด แตอ่ ย่างไรก็ตามได้มีการต้งั ข้อสังเกตว่า รูปแบบการผลิตแบบด้งั เดิมของการ ผลิตทางการเกษตรในญี่ปนุ่ ท่เี น้นการปลูกพชื หมุนเวียนใช้ปุ๋ย หมกั และปยุ๋ คอก มีการคลมุ ดินดงั เทคนิคที่ได้ปฏบิ ตั มิ าหลายรอ้ ยปที ี่ท้าให้ระดบั อนิ ทรียวัตถุ ในดินมี

5 ความคงท่ี และส่งผลถึงระดับความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ ใหอ้ ยใู่ นระดบั ทใ่ี ห้ผลผลิตทส่ี ามารถ เลีย้ งชาว ญีป่ ่นุ ได้ตลอดมายาวนาน ได้ถูกละทิ้งไปภายหลงั จากการใช้สารเคมีทางการเกษตรและเครือ่ งจกั รกล ทางการ เกษตร สง่ิ น้ีมีผลให้ฮวิ มสั ในดนิ ถูกทา้ ลายหมดไปภายในช่ัวอายุคนรุน่ เดยี ว โครงสรา้ งของดนิ เส่อื มโทรมลง พชื อ่อนแอลงและต้องพ่งึ พาการใชป้ จั จัยการผลติ จากภายนอกที่เปน็ สารเคมี สงั เคราะห์ ชนดิ ต่างๆ จ้านวนมากโดยจะขาดเสยี ไมไ่ ด้ ซึง่ ้าขาดปจั จัยการผลิตจากภายนอกเม่ือใด ผลผลิตจะ ลดลงจนเกดิ ปญั หาความมนั่ คงทางดา้ นอาหารตามมาในทนั ที ผลของการทา้ การเกษตรแบบใชส้ ารเคมสี งั เคราะห์กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาต่างๆ ตามมาอยา่ งมากมาย หลายประการดังต่อไปนี้ 1. ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม การทา้ เกษตรแผนใหม่ทา้ ใหเ้ กิดปญั หาสิง่ แวดลอ้ มและความเสือ่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ ตามมาทเ่ี หน็ ได้ชัดเจนไดแ้ ก่ ปญั หาการพงั ทลายของหนา้ ดนิ ดนิ เสื่อมความอุดมสมบูรณ์ ปัญหา มลพษิ ในสิ่งแวดล้อมและปัญหาการระบาดของโรคและแมลง ตัวอยา่ งเช่น จากการสา้ รวจในประเทศ ไทยพบวา่ ในพน้ื ที่ลาดชันของจงั หวัดน่านส่วนใหญถ่ ูกชะลา้ งพงั ทลายในอัตราทม่ี ากกวา่ 16 ตนั ตอ่ ไร่ ต่อปี ซึง่ เปน็ อตั ราสงู กว่าทยี่ อมให้มีไดถ้ ึง 20 เทา่ และทจ่ี ังหวดั เพชรบรู ณ์ พน้ื ท่ีทีม่ ีความลาดชนั 9% มี การสญู เสียหน้าดินถงึ 26 ตันต่อไร่ต่อปี เกษตรกรรม แผนใหมท่ ่มี ุ่งเน้นเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตรโดยการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นจา้ นวนมากและ ใชตั ดิ ต่อกันเปน็ ระยะเวลานานจะท้าให้เกิดปัญหาความเส่อื มโทรมของโครงสรา้ งดิน และดินขาดความอุดม สมบูรณ์ เน่อื งจากการใช้ปุ๋ยเคมไี มใ่ ช่การบ้ารงุ ดิน แตเ่ ป็นการอัดแรธ่ าตอุ าหารใหแ้ ก่พืช โดยไมม่ ีการ เตมิ อนิ ทรียวัตถุเพืม่ ลงในดิน และการใช้ปยุ๋ เคมียงั เร่งอัตราการสลายตัวของอินทรยี วัตถุในดนิ ท้าให้ โครงสร้างของดินเสื่อมลง ดินจงึ กระดา้ งมีการอัดตวั แน่น ไม่อมุ้ นา้ ในฤดแู ลง้ การใชส้ ารเคมีก้าจัดศัตรูพชื ท้าใหเ้ กิดปญั หาสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม ท้งั น้ีเน่ืองจากการใช้ สารเคมใี นการกา้ จัดศัตรูพืชในแต่ละครัง้ จะใช้ประโยชน์ได้เพยี ง 25% ทีเ่ หลืออกี 75% จะกระจาย สะสมในดิน น้า และอากาศในสง่ิ แวดลอ้ ม ทีส่ า้ คญั คือคือ สารเคมีก้าจดั ศตั รพู ชื ไม่ได้ท้าลายเฉพาะ ศัตรพู ชื เท่านัน้ แต่ยงั ทา้ ลายแมลงและจลุ ินทรียท์ ี่เปน็ ประโวชนใ์ นธรรมชาติอีกด้วย ซึง่ เปน็ การท้าลาย

6 ความสมดุลของระบบนเิ วศในธรรมชาติ และผลทต่ี ามมาคอื การระบาดของโรคและแมลงศตั รูพชื ทรี่ นุ่ แรงมากข้ึน ตวั อย่างเชน่ การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลที่ทา้ ลายผลผลิตข้านในประเทศไทย เมือ่ ปี 2533-2534 ซึง่ มีพืน้ ที่การแพร่ระบาดมากถึง 3.5 ล้านไร่ การท้าเกษตรแผนใหมไ่ ด้น้าไปสู่การปลูกพืชเชิงเดี่ยว และการขยายพน้ื ทท่ี ้าการเกษตร ท้าให้เกิด ปญั หาการบุกรุกพืน้ ที่ปา่ ธรรมชาติ ทา้ ให้เกิดการสญู เสียพื้นที่ป่าอันเปน็ ทรพั ยากรทสี่ ้าคัญในโลกและ แหล่งตน้ น้าท่สี า้ คญั ลงดว้ ย 2. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การ ท้าเกษตรแผนใหม่เป็นการทา้ การเกษตรที่ต้องพ่งึ ปจั จยั ภายนอก เพ่อื น้ามาเพม่ิ ผลผลิตใหไ้ ดเ้ ป็น จ้านวนมาก แต่กม็ ไิ ดห้ มายความวา่ เกษตรกรจะประสบความส้าเร็จทางเศรษฐกจิ เสมอไป ในทาง ตรงกันข้ามกลับพบว่าเกษตรกรทีท่ า้ การเกษราแผนใหม่จ้านวนมากประสบปัฯหา ภาวะขาดทนุ และ หนส้ี ิน เกิดความล้มเหลวทางเศรษฐกจิ เนอื่ งมาจากต้นทุนการผลิตทสี่ ูงและราคาผลผลิตที่ตกต่้า ใน ประเทศไทยการพัฒนาการเกษตรแผนใหม่กลับเปน็ การผลกั ดนั ใหเ้ กษตรกรต้องตกอยู่ ภายใตก้ าร ครอบงา้ ของบรษิ ัท เนอ่ื งจากต้องพง่ึ พาปจั จัยการผลติ และเทคโนโลยีต่างๆ จากบริษัท ไม่ว่าจะเป็น เมลด็ พันธ์ุ ปยุ๋ หรอื สารเคมีก้าจัดศัตรูพชื เป็นการท้าการเกษตรทถ่ี กู ผูกขาดจากบริษทั ขนาดใหญ่ ดังนน้ั จะเหน็ ไดว้ ่าการท้าเกษตรแผนใหม่เปน็ การสรา้ งรายได้ให้แกบ่ รษิ ัทเอกชน ขนาดใหญม่ ากกว่า เกษตรกรทีแ่ ท้จริง 3. ผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรและผบู้ รโิ ภค การใชส้ ารเคมกี า้ จัดศัตรูพืชนอกจากจะสง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มแล้วยังก่อใหเ้ กิดปัญหาการได้รับ สารพษิ เขา้ สู่รา่ งกายของเกษตรกรผ้ใู ช้ และยังมีสารพษิ ตกคา้ งในผลผลิตทางการเกษตรอีกด้วย การใช้ สารเคมีทางการเกษตรนานๆ จนทา้ ให้พชื ผักมพี ษิ ตกค้างจา้ นวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาตอ่ สุขภาพของ ผบู้ รโิ ภค จากการตรวจพบสารพษิ ตกคา้ งในผลผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย พบวา่ ผลผลติ มี สารพิษตกคา้ งอยูส่ ูงจนในผลผลิตบางชนิดไมผ่ ่านมาตรฐานมผี ลกระทบต่อการสง่ ออกสินค้าเกษตร ของไทย นอกจากน้กี ารทค่ี นไทยบรโิ ภคผลผลติ ทมี่ สี ารพษิ ตกค้างอยู่ท้าใหม้ ีการสะสมสารพษิ ใน

7 ร่างกายเป็นระยะเวลานาน และเกดิ การเจ็บป่วย เช่น โรคภูมแิ พ้ โรคเครียด โรคมะเร็ง ฯลฯ โดยเฉพาะ โรคมะเรง็ ซง่ึ จะเห็นได้จากสถติ ิคนไทยท่ีป่ายเปน็ โรคมะเรง็ มีจ้านวนมากขึ้นทุกปี 4. ผลกระทบต่อวถิ ีชีวติ และภูมิปญั ญาท้องถ่ิน เกษตรกรรมแผนใหม่ท้าใหเ้ กิดความเปล่ยี นแปลงในวิถีชวี ิตของเกษตรกรไทย ทา้ ลายฐานการเกษตร แบบยงั ชพี ของเกษตรกร ท้าลายระบบสงั คมของชมุ ชน และมผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงความคิดทม่ี ีต่อ ภูมปิ ญั ญาพนื้ บา้ นของไทย ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ถกู ละเลย ด้วยเข้าใจว่าเป็นความเชือ่ หรอื วธิ กี ารปฏบิ ัติ ทไ่ี ม่ทนั สมยั ไมเ่ ปน็ วิทยาศาสตร์ และไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ โดยลมื ไปวา่ ความรูแ้ ละภูมิปัญญาที่ถูก ถา่ ยทอดต่อๆ กันมาไดม้ าจากประสบการณข์ องคนรุ่นกอ่ นมานานหลายรุ่น ทีอ่ ยู่ในพืน้ ท่ที ้องถิ่นทพ่ี วก เขาอาศยั อยู่ ซง่ึ ความคิดนไ้ี ด้รุนแรงมากขน้ึ เม่อื เริม่ เข้าสยู่ ุคปฏวิ ัตเิ ขยี ว ความรแู้ ละแนวทางการ พัฒนาการเกษตรจะถูกรวมไปอยูใ่ นสถาบันการเกษตรต่างๆ ของรฐั และบรษิ ัทธุรกจิ การเกษตรขนาด ใหญ่ การพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาของเกษตรกรกลายเปน็ บทบาทของผเู้ ช่ียวชาญทางการเกษตรจาก หน่วยงานของรฐั หรือบริษทั การเกษตรทเี่ ข้าไปเปลยี่ นแปลงความคิดและวิถชี วี ิตของการท้าการเกษตร โดยทเี่ กษตรกรกลายเปน็ เพียงผู้รบั เท่านั้นเอง ซึ่งหากองค์ความร้ทู ี่ได้รับน้นั ไมถ่ กู ตอ้ ง ผู้ท่ี ได้รบั ความเสยี หายคอื ตวั ของเกษตรกรเอง กฎหมายกับเกษตรกรไทย ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกฎหมายกับเกษตรกร ท่จี ะนา้ เสนอในตอ่ ไปน้นี นั้ ได้จัดทา้ เพ่ือให่เห็น ภาพของการใช้กฎหมายต่อภาคการเกษตร ท่ีท้าใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงและการปรับตวั ของเกษตรกร และเพ่ือสะท้อนให้เห็นถงึ ปัญหาทีเ่ กิดข้ึนจากระบบกฎหมาย เนื่องระบบโครงสร้างทางสังคมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปนี้กอ่ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นการท้า เกษตรกรรมเป็นอย่างมากดงั ทีไ่ ดก้ ล่าวมาแลว้ ในหัวขอ้ ท่ผี ่านมานี้ ดังนั้นสิง่ ทมี่ าควบคู่กบั เปลี่ยนแปลง ดังกลา่ วนี้กค็ ือการควบคุมของภาครฐั ทมี่ ีตอ่ เกษตร โดยออกมาในรปู แบบของกฎหมายทใ่ี ชค้ วบคุม เกษตรกรต่างๆเชน่ พระราชบญั ญตั เิ ศรษฐกิจการเกษตร พระราชบัญญตั ิการปฏริ ูปท่ีดนิ เพือ่ เกษตรกรรม เป็นต้น

8 ปัจจุบันนร้ี ะบบกฎหมายได้เขา้ มาควบคุมแทบกิจกรรมทุกส่วนของเกษตรกร ตั้งแต่การจดทะเบียน พันธพุ์ ชื การจ้ากัดทด่ี ินในการท้าการเกษตร รวมถึงกฎหมายเก่ยี วกบั สง่ิ แวดล้อมทไี่ ดจ้ ้ากดั การกระท้า บางประการของเกษตรกรด้วย ดงั น้นั เกษตรกรยุคใหม่จงึ ต้องมีการปรับตวั ไมม่ ากก็น้อยในการท้า กจิ กรรมของตน รฐั บาลเปน็ ฝ่ายทีม่ ีบทบาทเป็นอยา่ งมากในการควบคุมกจิ กรรมของเกษตรกร โดยควบคุมผา่ นการ บงั คับโดยการออกกฏหมาย และควบคมุ ผ่านนโยบายตา่ งๆ โดยจากนี้ผู้เขียนจะขอพูคถงึ รปู แบบการ ควบคุมผา่ นทางนโยบายกอ่ น ดงั น้ี -ผลจากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ท้าให้รูปแบบการท้าการเกษตรในประเทศ ไทยไดเ้ ปลยี่ นแปลงไป โดยเกดิ ระบบท่ีเรยี กวา่ เกษตรพันธะสัญญา โดยเกษตรพันธะสัญญา (หรือ เกษตรครบวงจร หรือในบางครง้ั เรยี กทับศพั ท์เป็นภาษาอังกฤษว่า Contract Farming) เปน็ ช่ือเรยี ก ของ ระบบหรือรปู แบบความสัมพนั ธท์ างการผลติ และการตลาดระหว่างบริษทั ธรุ กิจและเกษตรกร ประเภทหน่ึง ซงึ่ เกษตรกรและบรษิ ทั ตกลงท่ีจะท้าการผลิตและซ้ือขายผลผลิตทางการเกษตรระหวา่ ง กนั ลว่ งหนา้ โดยอาจตกลงกันทางวาจาหรือเขยี นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร (สญั ญา) นอกจากข้อตกลงที่ จะซือ้ และขายแล้ว เกษตรพันธะสญั ญาสว่ นใหญย่ ังประกอบไปด้วยเง่ือนไขอื่นๆ ไดแ้ ก่ เงอ่ื นไขการรับ ซอ้ื (เชน่ การก้าหนดและค้านวณราคารับซื้อ การก้าหนดคุณภาพ เป็นตน้ ) และเง่อื นไขการผลติ (เชน่ วิธกี ารดูแลรักษา สนิ เช่ือ แหลง่ ที่มาของเมลด็ พันธ์ุ วัตถุดิบ หรือปจั จยั การผลิตอนื่ ๆ)เกษตรพันธะ สัญญา เปน็ รูปแบบการผลิตทไ่ี ด้แนวคิดมาจากการผลติ ในประเทศพฒั นาแลว้ ถูกน้ามาใช้ในประเทศ ไทยครัง้ แรกตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2513 ในการเล้ียงไก่ และภาครัฐไทยไดท้ ้าการสง่ เสริมอยา่ งจรงิ จังโดยบรรจุ อยใู่ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับที่ 6 เป็นตน้ มา -รูปแบบของเกษตรพันธะสญั ญาน้ที า้ ให้เกษตรกรส่วนใหญใ่ นประเทศท่ีเข้ามาอยภู่ ายใต้ใน สัญญาดงั กลา่ วนี้ ต้องเปล่ียนรปู แบบการทา้ การเกษตรไปเป็นการท้าการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว โดย การเกษตรแบบเชิงเดี่ยวก็คอื การทา้ การเกษตรแบบเดยี วในปรมิ าณทีม่ าก เป็นการผลิตเพอ่ื ขาย เชน่ การเล้ียงสัตว์กเ็ ลย้ี งสัตว์ชนิดเดยี ว หรือการปลูกพชื กท็ ้าการปลกู พืชเพยี งชนดิ เดยี ว เพ่อื ตอบสนองกบั สญั ญาที่ไดท้ ้าไปกบั บรรษัททางการเกษตรต่างๆ จนทา้ ใหเ้ กิดปญั หาตามมาหลายอย่างทเี่ กดิ จากการ ทา้ การเกษตรแบบเชิงเดีย่ วน้ี เชน่ ปญั หาดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์อนั เนื่องมาจากการท้าการปลกู พืช

9 ซ้ากนั นานๆ หรือปญั หาโรคสัตว์ระบาด เพราะเล้ียงสัตว์เพียงชนิดเดียวเม่ือ เกดิ โรคกับสตั วช์ นิดนัน้ ก็ ทา้ ใหป้ ระสพปญั หาขาดทุน เปน็ ตน้ -ปัญหาด้านข้อกฎหมายที่เกิดข้นึ จากการท้าการเกษตรรูปแบบนีก้ ็คือ ข้อกฎหมายเกี่ยวกับ สัญญา เพราะเนอื่ งจากการท้าการเกษตรพันธะสญั ญาน้ีถือเป็นการท้าสญั ญารูปแบบหนึ่งทที่ ้ากบั เหล่าเกษตรกร โดยเมอื เกษตรกรไดต้ กลงทา้ สญั ญาดังกล่าวนแ้ี ล้วกม็ ีผลทา้ ใหเ้ กษตรมีความผูกพนั ธท์ ่ี ตอ้ งทา้ ตามสัญญา เม่ือไม่ท้าก็อาจเป็นการผิดสัญญาและถูกด้าเนินการทางกฏหมายได้ ซึ่งปัญหาท่ี เกิดขนึ้ คอื ในบางครัง้ ขอ้ สัญญาบางประการกเ็ ปน็ สัญญาทกี่ อ่ ใหเ้ กิดผลเสยี กบั เกษตรกร เชน่ การระบุ เง่ือนไขในการท้าการเกษตรน้นั อย่างไมเ่ ป็นธรรม เช่นการบังคับให้ใชโ้ รงเรือนในการเลีย้ งท่ีบรรษัทนน้ั จดั ใหเ้ ทา่ น้ัน ซ่งึ เกดิ ปญั หาก็คอื เม่ือมีการทา้ ผดิ สัญญาจนเกษตรกรตอ้ งเลกิ สญั ญาเกิดขึ้นแล้ว เกษตรกรนน้ั กจ็ ะสญู เสียพน้ื ทใี่ นการท้าการเกษตรไป เป็นต้น ปญั หานี้เกดิ จากการท้าสญั ญาฝ่ายเดียว ที่บรรษัทได้ก้าหนดข้อสญั ญาข้ึนมาเอง โดยที่เกษตรกรไม่สามารถมสี ว่ นในข้อสัญญาได้อนั เนือ่ งมาจากตนอยู่ในฐานะผู้มสี ทิ ธิในการตอ่ รองท่ีด้อยกว่า ดังนนั้ จึงอาจสรุปไดว้ ่าปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนไมไ่ ดม้ าจากตวั กฎหมาย แต่เกิดจากการทไ่ี ม่มกี ฎหมาย เพยี งพอท่ีจะใช้ในการควบคุมกจิ กรรมของเหลา่ บรรษัทเกษตรกรรมอย่างเพียงพอ โดยกฎหมายที่อาจ ใชไ้ ดใ้ นกรณีดังกล่าวน้ีกม็ เี พียง กฎหมาย วา่ ด้วยข้อสัญญาท่ไี ม่เป็นธรรม แตใ่ นสถานการณจ์ ริงกลับ ไม่สามารถน้ามาใช้ได้ เพราะเน่ืองด้วยฐานะทางเศรษฐกิจ เพราะเกษตรกรสว่ นใหญเ่ ปน็ ผมู้ ฐี านะ ยากจนไปจนถึงปานกลาง การท่ีจะต่อสกู้ นั ทางกฎหมายกับบรรษทั ที่มขี นาดใหญ่จงึ เป็นไปได้ยาก ที่ กลา่ วมากใ็ หเ้ กิดปญั หาอกี อยา่ งซึ่งกค็ ือ เหลา่ บรรษทั ทวี่ ่ามานี้กร็ วู้ ่าตนมกี ้าลังต่อรองที่มากกว่า จงึ ตงั้ ใจเขียนสัญญาทีไ่ มเ่ ปน็ ธรรมนนั้ ขนึ้ มาเองเพราะร้วู ่าพวกเกษตรกรไม่มีกา้ ลังพอท่จี ะตอ่ สกู้ ันทาง กฎหมายกับกบั ตนได้ จนทา้ ให้เกิดปัญหาการตกบ่วงพันธะสญั ญาของเกษตรกรท่ีต้องทนถูกขูดรีด ตา่ งๆน่าจากเหล่าบรรษทั โดยท่ีตนไมส่ ามารถทา้ อะไรได้ เพราะได้ติดอยู่ในขอ้ สัญญาแล้ว จะต่อส้กู นั ทางกฎหมายก็เปน็ ไปได้ยาก เพราะขาดทุนทรัพยแ์ ละเส้นสายตา่ งๆ -ปัญหาอีกอยา่ งท่ีเกิดขน้ึ กับเกษตรกรไทยก็คือ ปัญหาเร่ืองทดี่ ินทา้ กิน การขาดสิทธิในทดี่ นิ ทา้ กิน เนอื่ งจากในปัจจุบนั ท่ีดินกลายเป็นสนิ ค้าหน่ึงในระบบทุนนิยม ทา้ ให้ที่ดินเปลี่ยนมือไปเปน็ ของผทู้ ่ี ร่้ารวย กลมุ่ ทนุ และนักการเมือง ทา้ ใหเ้ กษตรกรไม่อาจมีท่ีดินสา้ หรับการประกอบอาชีพไดอ้ ย่าง

10 เหมาะสม การร้องเรียนรฐั บาลกรณปี ัญหาทดี่ ินท้ากินและทอี่ ยู่อาศัยของคนไทยมใี นรฐั บาลทุกชุด และ เป็นปญั หาท่ีค้างมาอย่างต่อเน่ือง ปัญหาที่ดนิ เป็นข้อเรยี กรอ้ งทขี่ บวนการประชาชนตอ่ สู้มาโดยตลอด ไมว่ ่าจะเป็นสหพันธ์ชาวไรช่ าวนา มาจนถึงสมชั ชาคนจน กล่มุ เกษตรกร ปัญหาการขาดที่ดนิ ทา้ กนิ นี้ได้ส่งผลให้เกษตรกรท่ตี ้องสูญเสียทด่ี นิ ท้ากินของตนเองไปน้นั ต้องผนั ตัวเองเข้ามาเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรมอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ เพราะไมม่ ีที่ดินในการท้า เกษตรกรรม เกษตรกรบางคนต้องอาศัยการเช่าพน้ื ที่ในการท้าการเกษตรจากผูอน่ื ซง่ึ ทา้ ให้ต้องมี ต้นทุนในส่วนของการเชา่ ซงึ่ ทา้ ใหก้ ้าไรลดลงจนบางคนก็เกิดการขาดขนุ จนท้าให้เกิดปญั หาเร่ืองหน้สี ิน ตามมาอย่างหลกี เลี่ยงไม่ได้ เกษตรกรบางคนกผ็ ันตัวเองมาเปน็ ผูใ้ ชแ้ รงงานในภาคเกษตรกรรมทีไ่ ด้ผล การตอบแทนในรูปแบบของผลผลติ เช่นการรบั จ้างท้านาทไี่ ดร้ บั ค่าจ้างเป็นข้าวเพื่อนา้ มาขายต่อไป ซ่งึ มรี ายได้น้อยเม่อื เทียบกบั เหลา่ เกษตรกรผมู้ ีที่ดนิ ท้ากนิ -ปัญหาจากการจัดต้งั ปา่ สงวน เปน็ ปญั หาท่ีเกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงทางกฎหมายในอดีต ทีภ่ าครฐั ได้ท้าการจัดเขตพ้นื ที่ปา่ สงวนขึ้นจนเกิดผลกระทบกับผู้ที่ใชป้ ระโยชน์จากพืน้ ท่เี หล่านนั้ มา ตง้ั แต่ก่อนมกี ารจัดตั้งเขตพ้นื ทป่ี ่าสงวน ซ่งึ สง่ ผลกับเกษตรกรโยตรงก็คือ การสูญเสียพนื้ ที่ในการท้า การเกษตรของเหล่าเกษตรกร จนไม่อาจท้าการเกษตรได้ เปน็ การเสียพื้นทท่ี ้ากินของตน ผเู้ ขยี นมองว่าปัญหาการขาดท่ีดนิ ทา้ กินของเกษตรกรนเี้ ป็นปัญหาทส่ี ้าคัญเป็นอย่างอย่างมากท่เี กิด ข้ึนกบั เกษตรกรไทย เพราะมีแนวโนม้ ว่าปญั หาน้ีจะทา้ ให้ผู้ประกอบอาชีพเกษตรลดลงเพราะไมม่ ที ่ีดิน ในการทา้ การเกษตร จนตอ้ งผันตัวเองเข้าส่กู ารเป็นแรงงานอย่างหลีกเลีย่ งไมไ่ ด้ ปจั จุบันที่ดนิ สว่ นใหญ่ในประเทศไทยถูกถือครองโดยชนชั้นนายทนุ ของประเทศซ่ึงเป็นชนกลมุ่ นอ้ ยใน ประเทศเท่าน้ัน นายทุนเหลา่ น้เี ห็นชอ่ งทางในการเกง็ ก้าไรจากการเพม่ิ ราคาของท่ีดนิ จึงท้าการกวา้ น ซ้อื ทดี่ นิ เปน็ จา้ นวนมากเพื่อใช้ในการเกง็ ก้าไรในอนาคต เนอื่ งกฎหมายของไทยในเร่ืองภาษเี ก่ียวกับ ทีด่ นิ นไ้ี ด้ก้าหนดราคาการเสียภาษีทดี่ ินในปรมิ าณทไี่ มส่ งู จงึ ท้าให้ชอ่ งทางในการเกง็ ก้าไรจากการถอื ครองที่ดินในจ้านวนมากของเหลา่ นายทุน และกฎหมายที่ดินของไทยไมม่ ีมาตรการท่เี ข้มงวดในการใช้ ประโยชนจ์ ากการถอื ครองที่ดนิ จนท้าใหท้ ี่ดินหลายแห่งท่ีถกู เหล่านายทนุ กว้านซ้ือนี้ตกเป็นที่ดินทีไ่ ร้ ประโยชน์

11 ปจั จบุ ันน้ีภาครฐั ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการจัดสรรท่ีดินในการทา้ การเกษตรกรรมให้กับเกษตรกรโดย ผา่ น พระราชบญั ญัตกิ ารปฏิรปู ที่ดินเพอื่ เกษตรกรรม การปฏริ ูปท่ีดนิ เปน็ นโยบายหนงึ่ ของรัฐอยูใ่ น ความรับผดิ ชอบของสา้ นกั งานการปฏิรูปที่ดินเพอ่ื เกษตรกรรม มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมของประเทศ ในรปู ของการวางแผนการตง้ั ถ่ินฐานในชนบท เปน็ การปรับปรงุ สทิ ธกิ ารถอื ครอง ท่ีดินใหแ้ กเ่ กษตรกร ผูเ้ ขยี นมองวา่ ประเด็นส้าคญั เกี่ยวกับเรือ่ งปัญหาท่ีดนิ ทา้ กินน้เี กิดข้ึนมาจากผลกระทบของการ เปลีย่ นแปลงทางโครงสรา้ งทางสังคม และการก้าหนดกฎหมาย เพราะที่ได้กล่าวมาจากหัวห้อกอ่ น หนา้ นใ้ี นเรื่องการเปล่ียนแปลงรปู แบบของการท้าการเกษตรของเกษตรกรน้ันเปลีย่ นไปจากการผลิต เพือ่ ยงั ชีพไปส่กู ารผลติ เพ่ือจ้าหนา่ ย ซ่งึ ผลตามมาจากการทา้ การเกษตรรปู แบบนกี้ ็คือความต้องการ พ้ืนที่ทา้ การเกษตรท่ีเพม่ิ มากขึน้ จนเกิดการกู้หนย้ี มื สินเพื่อใชใ้ นหารซ้ือท่ีดนิ เพือ่ ท้าการเกษตร จนเม่ือ เกิดปญั หาความขาดทุนขึ้นส่งผลทา้ ให้เกษตรกรเกดิ หนส้ี ิน แนวโนม้ ทเ่ี กิดข้นึ กับเกษตรไทยในยุคปจั จุบันก็คือการรวมกลุม่ กนั ทางเกษตรกร กล่มุ เกษตรกร คอื บุคคลผู้ประกอบอาชพี แต่ละประเภทเกษตรกรรม จ้านวนไม่นอ้ ยกวา่ สามสิบคน มี วัตถุประสงค์เพอื่ ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาจร่วมกันจดั ต้งั เปน็ กล่มุ เกษตรกรตามพระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยกลมุ่ เกษตรกร พ.ศ. 2547 กลมุ่ เกษตรกรนี้อาจเป็นค้าตอบในการแกไ้ ขปญั หาหลายประการของเกษตรกรเลยกว็ ่าไดเ้ พราะด้วย การรองรับทางกฎหมาย ส่งผลให้กลมุ่ เกษตรกรมีฐานะเป็นนิติบุคคล การเป็นนิติบุคคลน้ที ้าให้เกิด อา้ นาจในการตอ่ รองท่ีเพิม่ ขึ้นของเกษตรกร และยงั มีประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการรวมกล่มุ อีกคือ การไดร้ ับ สิทธิพเิ ศษ ดังนี้ 1. ยกเวน้ ภาษเี งนิ ได้นติ ิบุคคล อัตราร้อยละ 30 ของก้าไรสุทธิ 2.ยกเวน้ คา่ ธรรมเนยี มในการจดทะเบียนทก่ี ฎหมายก้าหนดใหจ้ ดทะเบยี น เชน่ ค่าธรรมเนยี มการจด ทะเบยี นที่ดนิ จา้ นองค้าประกัน

12 3.ห้ามใชช้ ่ือ กลุ่มเกษตรกร เป็นชือ่ หรือส่วนหนง่ึ ของชื่อในทางธุรกจิ เว้นแตก่ ลมุ่ เกษตรกรทีไ่ ดจ้ ด ทะเบียน 4.ไดร้ ับเงินทนุ จากหน่วยราชการ หรือเงนิ กู้ดอกเบีย้ ตา่้ 5.ได้รับความร้ใู นการประกอบอาชพี การบรหิ ารจัดการกลุ่ม จากกรมสง่ เสรมิ การเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง และกรมส่งเสริมสหกรณ์ 6.ได้รับการตรวจสอบบัญชจี ากกรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ โดยไมต่ ้องเสียคา่ ใช้จา่ ยแต่ประการใด 7.ได้รับสทิ ธิพิเศษคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดประชุมตามระเบยี บกระทรวงการคลงั เชน่ คณะกรรมการกลาง กล่มุ เกษตรกรระดับประเทศ เทียบเท่าข้าราชการระดับ 5 นอกจากนกี้ ารรวมกลุม่ ยงั ช่วยเพ่ิมโอกาสในการหาตลาดในการขายสินคา้ ได้เองโดยไม่ต้องพึ่งพา พอ่ ค้าคนกลาง เปน็ การลดต้นทนุ ทไ่ี ม่จ้าเปน็ ออกไปได้อีกด้วย สรปุ แล้วเรยี กไดว้ ่าการเปลย่ี นแปลงทางสังคมนี้ได้ท้าใหเ้ กษตรกรในอดีตและปจั จุบันมี รูปแบบทีแ่ ตกต่างกนั โดยส้ินเชิงเลยก็วา่ ได้ เพราะไม่ใช่รปู แบบเกษตรกรทที่ ้าเพื่อยงั ชพี อกี ต่อไปแล้ว แตไ่ ดก้ ลายเป็นรูปแบบอาชีพธุรกิจรปู แบบหน่ึง ซง่ึ ถือเป็นธุรกจิ หลกั ทเี่ ป็นรายได้หลกั ของสังคมไทย เพราะหลายๆ ธุรกจิ นัน้ ต้องพงึ่ ผลผลิตทางการเกษตร จนภาครัฐไดม้ กี ารออกกฎหมาย และมีนโยบาย เพือ่ ตอบสนองต่อรปู แบบทเี่ ปลย่ี นแปลงไปนี้มากข้ึน เรยี กได้ว่าภาครัฐนนั้ เป็นผกู้ ้าหนดรปู แบบของ การเกษตรในยคุ ปจั จุบัน เพราะรฐั ไดเ้ ขา้ ไปอยทู่ ุกจุดในกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ซง่ึ รวมถึงการเกษตรน้ี ด้วย โดยนโยบายต่างๆ ของภาครฐั สง่ ผลใหก้ จิ กรรมทางการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป เพอ่ื ตอบรับ รูปแบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ มทไ่ี ด้เขา้ มาในสงั คมไทย ดงั น้นั ในระยะเวลาอนั ใกล้อาจมีการออก กฎหมายเก่ยี วกบั การเกษตรท่ีมากขน้ึ เพราะปัจจบุ นั มีบางเรื่องทีก่ ฎหมายยงั ไมค่ รอบคลุมถึง เช่นเร่ือง การเกษตรพนั ธะสัญญาทรี่ ฐั ยังไมม่ ีการออกกฎหมายทสี่ ามารถคุ้มครองเกษตรกรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อาจส่งผลใหเ้ หลา่ เกษตรกรท่ีอย่ภู ายใตส้ ัญญาเหลา่ นี้เกิดการตืน่ ตวั มากขึน้ เพราะได้ ทราบถงึ ปัญหาต่างๆมากข้ึน จนอาจเกิดการรวมกลุ่มของเหลา่ เหลา่ เกษตรกรมากขึ้น เพอ่ื เพิ่มอา้ นาจ

13 ในการต่อรองต่างๆ ของฝา่ ยตน ส่งิ ท่เี กิดขึ้นเหล่าน้อี าจน้ามาซง่ึ ความเปล่ียนแปลงในทางกฎหมายของ ภาครฐั อนั เน่ืองมาจากการเรียกรอ้ งของประชาชนกเ็ ปน็ ได้ โดยสุดท้ายแลว้ ตวั กฎหมายจะเป็นสว่ นท่ี สา้ คญั ท่สี ุดในการเปลยี่ นแปลงตา่ งท่ีจะเกดิ ขึ้นในอนาคตกบั เกษตรกรไทย ไมว่ ่าข้อกฎหมายจะ ก้าหนดใหร้ ูปแบบของเกษตรกรรมเปลย่ี นแปลงไปทางไหนกต็ าม ล้วนสง่ ผลใหก้ จิ กรรมทางการเกษตร เปลี่ยนไปตามกฎหมายท่ีจะเกิดข้ึนน้ันอย่างหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ สทิ ธเิ กษตรกรกับการอนุรกั ษ์ พฒั นาพนั ธกุ รรม AUTHOR:บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์DATE:23 มีนาคม 2547READ:6992 READSSOCIAL: Print Friendly and PDF มลู นธิ ชิ ีววิถี 1. ความสาคัญของเกษตรกรและสิทธเิ กษตรกร

14 เป็นทปี่ รากฏชดั เจนทัง้ จากงานศึกษาวิจัยและจากสภาพความเป็นจรงิ ในพนื้ ทว่ี า่ เกษตรกรใน ทกุ ภมู ภิ าคของโลก โดยเฉพาะเกษตรกรท่ีอย่ใู นประเทศกา้ ลังพฒั นาทต่ี ้งั อยใู่ นปา่ เขตรอ้ น คือ ผู้ทีไ่ ด้ เรยี นรู้ สงั่ สม และพฒั นาภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ในการอนรุ กั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนท์ รัพยากรพันธุกรรมพชื มา เปน็ เวลาชา้ นาน เปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาทสา้ คญั ที่ท้าให้เกิดการดา้ รงอยู่ของความหลากหลายทางพันธุกรรม พืช เกิดการคัดเลอื กพฒั นาใหเ้ กิดความหลากหลายของพนั ธุพ์ ชื การรบั รองและคุ้มครองสิทธิ เกษตรกร นอกจากจะเปน็ การคุ้มครองสิทธิอนั พงึ มพี ึงไดข้ องเกษตรกร เป็นการถว่ งดุลสิทธขิ องนกั ปรบั ปรุงพันธพุ์ ชื แล้ว ยังเปน็ กลไกทีส่ นับสนุนให้เกษตรสามารถท้าหนา้ ที่และมีบทบาทสา้ คัญตอ่ ไปใน การอนุรักษแ์ ละพัฒนาความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมพืช 2. การค้มุ ครองสิทธิเกษตรกรในกฎหมายระหว่างประเทศ แม้จะเปน็ ทย่ี อมรบั กันโดยทั่วไปว่า เกษตรกรในทุกภมู ภิ าคของโลกเป็นผูม้ ีบทบาทสา้ คญั อยา่ งมากในการอนรุ ักษ์ ดูแล พฒั นาทรัพยากรพนั ธุกรรมพชื แต่การรับรองและค้มุ ครองสิทธิเกษตรกร ในความตกลงและกฎหมายระหว่างประเทศ มีอยอู่ ย่างค่อนข้างน้อยและจา้ กัด แผนปฏบิ ัตเิ พอื่ การพัฒนาที่ยงั่ ยนื แผนปฏิบัติการเพอื่ การพัฒนาทย่ี ่งั ยืน หรือ AGENDA 21 เปน็ ผลท่เี กิดขึ้นจากการประชมุ สุดยอดส่ิงแวดล้อมโลก ณ ประเทศบราซิล ในปี ๒๕๓๕ ในเอกสารบท ท่ี ๑๔ ของแผนนี้ ภายใตโ้ ปรแกรมการอนรุ ักษ์และใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยั่งยนื ของพนั ธกุ รรมพชื เพอ่ื อาหาร และเกษตรกรรมย่ังยืน ไดเ้ รียกร้องให้รัฐบาลให้ความสา้ คัญต่อการท้าใหส้ ทิ ธิเกษตรกรเกดิ ผลในทาง ปฏิบตั ิ ความตกลงว่าดว้ ยสิทธใิ นทรัพยส์ นิ ทางปัญญาทเ่ี กยี่ วกบั การค้าดว้ ยระบบสิทธิบัตร แต่ ส้าหรบั \"พันธพุ์ ชื ต้องมกี ารคุ้มครอง โดยใหป้ ระเทศสมาชิกเลอื กคุ้มครองด้วยระบบกฎหมายพเิ ศษ

15 ( sui generis system ) ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ หรอื ดว้ ยระบบสิทธบิ ตั ร หรอื ใชท้ ัง้ สองระบบกไ็ ด้ ความตก ลงทริปสไ์ มไ่ ดม้ ีขอ้ ก้าหนดใดๆ ทีเ่ กย่ี วกับการคมุ้ ครองสิทธเิ กษตรกร แตก่ ไ็ มไ่ ดม้ ขี อ้ ห้ามทีจ่ ะคุม้ ครอง สทิ ธเิ กษตรกร ประเทศสมาชิกทเ่ี ลอื กใช้ระบบกฎหมายพเิ ศษในการคุม้ ครองพันธุ์พืช สามารถนา้ หลกั การเรื่องสิทธิเกษตรกรมาบัญญัติอยู่ในกฎหมายของตนได้ ดงั เชน่ กรณีพระราชบัญัติคมุ้ ครองพันธ์ุ พชื พ.ศ. ๒๕๔๒ ของประเทศไทยอนุสัญญาว่าดว้ ยการคุ้มครองพนั ธพุ์ ืชใหม่ อนสุ ัญญาวา่ ด้วยการ คุม้ ครองพนั ธพ์ุ ชื ใหม่ ( International Convention on Protection of New Varieties of Plant ) หรอื อนุสัญญายูพอฟ จัดท้าข้ึนในปี ค.ศ. ๑๙๖๑ เพ่ือการคุม้ ครองนักปรับปรุงพันธ์พุ ชื ดว้ ยระบบทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทเ่ี รียกว่า \"สิทธขิ องนกั ปรับปรงุ พนั ธุ์พืช อนสุ ญั ญาฉบบั นมี้ ีการปรับแก้ไขเพม่ิ เติม ๓ ครงั้ คอื ในปี ค.ศ. ๑๙๗๒ , ปี ๑๙๗๘ และ หลังสุด คือ ปี ๑๙๙๑ การแกไ้ ขแตล่ ะครง้ั เปน็ การเพม่ิ ระดับการคุม้ ครองสทิ ธแิ กน่ กั ปรับปรงุ พันธุพ์ ชื จนอยู่ในระดบั ใกลเ้ คียงกบั สิทธิในระบบสิทธิบัตร แตใ่ นขณะเดยี วกัน ได้ลดระดับการคุ้มครองสทิ ธิ เกษตรกรลง สิทธิพเิ ศษของเกษตรกร ( Farmers' Privilege ) ในการใช้ 2 ผลผลิตของตนเป็นเมล็ด พันธ์ุในฤดูกาลถัดไปได้ถูกจ้ากัดลง โดยกา้ หนดวา่ ประเทศสมาชกิ อาจไม่ใหก้ ารรบั รองสิทธเิ กษตรกรก็ ได้ แต่ถา้ ใหก้ ารคมุ้ ครอง จะตอ้ งมกี ารจ่ายคา่ ชดเชยทเ่ี ป็นธรรมใหก้ ับผู้ทรงสทิ ธิ ( อนุสญั ญายูพอฟ ปี ๑๙๙๑ ขอ้ ๑๕ (๒) และ ข้อ ๑๗ (๒) ) อนสุ ญั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชวี ภาพ อนสุ ญั ญาวา่ ด้วยความหลากหลายทาง ชีวภาพ (Convention on Biological Diversity) มวี ัตถปุ ระสงค์หลกั ๓ ประการ คือ การอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชวี ภาพ การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชวี ภาพอย่างย่ังยนื และการแบง่ ปัน ผลประโยชน์อยา่ งเปน็ ธรรมและเท่าเทยี มจากการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพ อนสุ ัญญาฉบบั น้ีไม่ได้มขี ้อบัญญตั ิเพอ่ื คมุ้ ครองสิทธเิ กษตรกรโดยตรง แต่เปน็ การคุ้มครอง สทิ ธเิ กษตรกรโดยทางอ้อม คือ ไดก้ ้าหนดใหป้ ระเทศสมาชกิ เคารพ สงวนและรกั ษาความรู้ นวัตกรรม และวิธีปฏบิ ตั ิของชุมชนพนื้ เมอื งและชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ที่เกยี่ วกบั การอนุรักษ์และใช้ประโยชนจ์ ากความ

16 หลากหลายทางชีวภาพอย่างย่งั ยนื ส่งเสริมใหแ้ พร่หลายยิ่งขึ้น รวมทั้งใหม้ ีการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ี เกดิ ขึ้นจากการใช้ความรู้ นวัตกรรม และวธิ ีปฏบิ ัตขิ องชมุ ชนพนื้ เมืองและชมุ ชนทอ้ งถิ่นอยา่ งเป็นธรรม ( มาตรา ๘ ข้อ (เจ) ) ข้อบัญญัติขา้ งตน้ เปน็ ส่วนหนึง่ ของมาตรการทีจ่ ะทา้ ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ของอนสุ ัญญา อยา่ งไรก็ตาม การคุม้ ครองชมุ ชนพืน้ เมืองและชมุ ชนท้องถิ่นดังกล่าวใหข้ ึ้นอยู่กบั ก้าหมายของประเทศ สมาชกิ แต่ละประเทศ อนสุ ัญญาไม่ได้บังคับใหท้ กุ ประเทศต้องปฏิบัติตามอย่างเขม้ งวด 3. พัฒนาการเรื่อง \"สทิ ธิเกษตรกร ในระดบั สากล เกิดขนึ้ อย่างเป็นทางการครง้ั แรกในปี ค.ศ. 1989 จากการปรบั ปรุงแกไ้ ขข้อถือปฏบิ ัติ นานาชาติว่าด้วยทรัพยากรพนั ธุกรรมพชื จุดเรม่ิ ตน้ ของการปรับปรงุ ดงั กล่าว เป็นผลมาจากแรงกดดนั จากประเทศทีพ่ ัฒนาแลว้ ที่ไมต่ อ้ งการให้มกี ารเข้าถึงพันธพ์ุ ืชท่ีพัฒนาข้นึ ใหมโ่ ดยเสรีตามหลักการที่ถือ วา่ ทรัพยากรพันธุกรรมพชื เป็น \"สมบัตริ ว่ มกันของมนุษยชาติ ท้ังนีเ้ น่ืองจาก ตามเนื้อหาของข้อถอื ปฏบิ ตั ินานาชาตวิ ่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพชื ฉบับปี 1983 ได้กา้ หนดความหมายของทรพั ยากร พันธกุ รรมพชื ไวค้ อ่ นข้างกว้าง และรวมไปถึงพืชท่ไี ดจ้ ากปรบั ปรุงขึ้นโดยอาศยั เทคโนโลยสี มัยใหมด่ ้วย ซง่ึ ท้าให้ประเทศกา้ ลงั พฒั นามโี อกาสเข้าถึงพนั ธพุ์ ืชท่ีประเทศพฒั นาแล้วปรับปรงุ ขน้ึ ไดอ้ ย่างเสรี ประเทศพัฒนาแล้วจึงไดผ้ ลักดันให้มีการคุ้มครอง \"สิทธิของนกั ปรับปรุงพันธ์ุพชื ข้นึ เพือ่ ไมใ่ ห้ การเขา้ ถึงพนั ธกุ รรมพชื ตามหลักการเข้าถงึ อย่างเสรี เป็นการเข้าถึงโดยไม่เสียค่าตอบแทน แตจ่ ะต้อง คุ้มครองสิทธิของนักปรับปรุงพนั ธ์ุพชื ด้วย (มติที่ประชมุ ใหญ่ของเอฟเอโอที่ 4/89) ดว้ ยเหตนุ ี้ ประเทศกา้ ลงั พฒั นาจึงได้เรยี กร้องใหม้ ีการคมุ้ ครอง \"สทิ ธิเกษตรกร ขน้ึ เพื่อสรา้ ง การถ่วงดลุ กบั การคุ้มครองสิทธขิ องนักปรบั ปรุงพนั ธ์พุ ืช ในทส่ี ุดที่ประชมุ ใหญข่ ององค์การอาหารและ การเกษตรไดม้ ีมติยอมรับข้อเสนอของทั้งสองกลมุ่ ประเทศดงั กล่าว เป็นการประนีประนอมต่อข้อ เรยี กรอ้ งของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศก้าลังพฒั นา

17 (Farmers' Rights) ที่เอฟเอโอใหก้ ารรบั รอง หมายถึง \" สิทธทิ เี่ กดิ ขึน้ จากสง่ิ ทเี่ กษตรกรได้ กระท้าท้งั ในอดีต ปัจจุบนั และในอนาคต ในการอนุรกั ษ์ การปรบั ปรุง และการทา้ ใหท้ รัพยากร พันธกุ รรมพืชดา้ รงอยู่ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในแหล่งถ่ินก้าเนดิ หรือแหลง่ ของความหลากหลายทาง ชวี ภาพ (มติท่ีประชุมใหญข่ องเอฟเอโอ ท่ี 5/89) วัตถปุ ระสงค์ของการรับรองสิทธิเกษตรกรทเ่ี อฟเอโอ ระบไุ ว้อย่างเปน็ ทางการ คอื เพ่อื สนบั สนุนให้เกษตรกรและชมุ ชนเกษตรกรในทุกภมู ภิ าคท่ัวโลก โดยเฉพาะในแหลง่ ความหลากหลายทางพันธกุ รรมพืช ไดป้ กป้องและอนุรักษ์ 3 พนั ธุกรรมพชื และ ระบบนิเวศ รวมท้งั เป็นการยินยอมให้เกษตรกร ชมุ ชนเกษตรกรและประเทศนน้ั ไดร้ ว่ มรับผลประโยชน์ ทีเ่ กดิ ขึน้ ท้งั ในปัจจุบันและในอนาคตจากการใช้พันธุกรรมพืช ไมว่ า่ จะเกิดข้ึนโดยวิธกี ารปรบั ปรุงพันธ์ุ พชื หรือวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรอ์ น่ื ๆ (มติที่ประชุมใหญ่ของเอฟเอโอ ที่ 5/89) จะเหน็ ได้วา่ เอฟเอโอได้ ใหค้ วามส้าคัญต่อบทบาทของเกษตรกรเป็นอยา่ งมาก และกา้ หนดขอบเขตของผลประโยชนท์ ่ี เกษตรกรพงึ จะได้รบั ไวอ้ ย่างค่อนข้างกว้างขวาง 4. สิทธเิ กษตรกรในสนธิสัญญาว่าด้วยทรัพยากรพันธกุ รรมพืชฯ ตามเน้ือหาของสนธิสญั ญาฯ \"สิทธิเกษตรกร\" ได้รับการรับรองบัญญัตไิ ว้อย่างชัดเจนในขอ้ 9 ของสนธสิ ัญญาฯ โดยเน้นยา้ ถงึ ความสา้ คญั และบทบาทของชุมชนพนื้ เมือง ชมุ ชนทอ้ งถิ่น และ เกษตรกร ในการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาทรัพยากรพันธุกรรมพืช สนธสิ ญั ญาได้บัญญัตใิ ห้ประเทศสมาชกิ ควรด้าเนนิ มาตรการตามที่เหมาะสม และขน้ึ อยู่กับกฎหมายของแต่ละประเทศทีจ่ ะท้าการคุ้มครอง และสง่ เสรมิ สทิ ธเิ กษตรกรในด้านต่างๆ ได้แก่ * การคมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นที่เก่ียวกับทรพั ยากรพันธุกรรมพืช * สทิ ธใิ นการร่วมแบง่ ปันผลประโยชน์ท่ีเกดิ ขึน้ จากการใช้ทรัพยากรพนั ธกุ รรมพชื * สทิ ธิในการร่วมตัดสินใจเร่ืองการอนรุ ักษแ์ ละใช้ประโยชนท์ รัพยากรพันธุกรรมพชื อย่างยั่งยืน ในระดบั ชาติ

18 นอกจากน้ยี งั ระบุดว้ ยว่า จะไมม่ กี ารตีความของบทบญั ญัตินี้ในลักษณะท่ีจะไปจ้ากัดสิทธิของ เกษตรกรที่มีอยูใ่ นการเก็บ ใช้ประโยชน์ แลกเปลี่ยน และขายเมล็ดพันธหุ์ รือส่วนขยายพันธทุ์ ไี่ ด้จาก การทา้ การเกษตร แตท่ ั้งนี้ขึน้ อย่กู ับกฎหมายของประเทศสมาชิกและตามความเหมาะสม อยา่ งไรก็ ตาม แมว้ ่าสิทธเิ กษตรกรทก่ี ้าหนดไว้ในสนธสิ ญั ญาฯ จะค่อนข้างมขี อบเขตกวา้ งขวาง เช่น ให้การ ยอมรบั สิทธิของเกษตรกรในการรว่ มตัดสนิ ใจในระดับชาตใิ นเร่ืองทเ่ี กีย่ วข้องกบั การอนุรกั ษแ์ ละใช้ ประโยชน์พันธกุ รรมพชื อยา่ งยงั่ ยืน ฯ แตไ่ ม่อาจถือไดว้ ่าสิทธเิ กษตรกรตามท่กี า้ หนดไว้ในสนธิสญั ญา ฉบบั นเ้ี ปน็ ขอ้ ก้าหนดขั้นตา้่ ที่ประเทศสมาชิกต้องปฏบิ ัติ เพราะสนธสิ ัญญาฯ เพียงแต่ระบวุ า่ ประเทศ สมาชิกควรท้าอย่างไรต่อการคมุ้ ครองสทิ ธิเกษตรกรเท่านั้น และยงั กา้ หนดให้การปฏบิ ัติข้ึนอยกู่ ับ กฎหมายของแต่ละประเทศ ขอ้ กา้ หนดเรื่องสทิ ธิเกษตรกรในสนธิสัญญาฯ ได้ถูกวิจารณ์จาก นกั วชิ าการและองค์กรพัฒนาเอกชนจ้านวนมากว่า เป็นการคมุ้ ครองสิทธเิ กษตรกรท่ีค่อนขา้ งต่้า ปล่อย ใหเ้ ป็นภาระของแต่ละประเทศโดยขาดฐานการสนับสนนุ จากกลไกระหว่างประเทศในการบงั คบั ให้ เกิดผลในทางปฏบิ ัติอย่างเป็นรูปธรรม 5. การคุ้มครองสิทธเิ กษตรกรตามกฎหมายไทย กฎหมายของไทยที่เกยี่ วข้องกบั เร่ืองการคุ้มครองสิทธเิ กษตรกร มีอยู่ในรฐั ธรรมนญู มาตรา ๔๖ และในพระราชบัญญัติคุ้มครองพนั ธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามมาตรา ๔๖ ของรัฐธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ นั ไดร้ ับรองสิทธขิ อง \"ชุมชนท้องถนิ่ ดง้ั เดมิ ในการอนรุ ักษห์ รือฟ้นื ฟจู ารีตประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถน่ิ ศลิ ปะหรอื วฒั นธรรมอนั ดขี องท้องถิ่นและของชาติ และมสี ่วนร่วมในการจัดการ การ บา้ รงุ รกั ษา และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอยา่ งสมดุลและย่งั ยนื แม้ว่า รัฐธรรมนูญจะไม่ได้ให้การคุ้มครองสิทธิของเกษตรกรโดยตรง แตเ่ น่ืองจากชมุ ชนท้องถิ่นสว่ นใหญ่ใน ประเทศ 4 ไทย เป็นชมุ ชนท่ีด้ารงชพี อยู่บนฐานการเกษตร สมาชิกในชมุ ชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เกษตรกร จงึ อาจถือไดว้ า่ รฐั ธรรมนูญไดร้ ับรองสทิ ธิของเกษตรกรในการจัดการ บ้ารงุ รกั ษาและใช้ประโยชนจ์ าก ทรัพยากรพันธกุ รรมพชื อย่างสมดุลและยัง่ ยนื ตามหลักการท่บี ัญญัติไว้ในมาตรา ๔๖

19 พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองพนั ธ์ุพชื พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นระบบกฎหมายเฉพาะ มีสาระส้าคัญและ กฎเกณฑ์ทีไ่ ม่ได้เป็นการใหส้ ิทธิผกู ขาดโดยสมบรู ณเ์ หมือนกับกฎหมายสทิ ธิบัตร นับเปน็ กฎหมายฉบบั แรกของไทยท่ไี ดใ้ ห้การค้มุ ครอง \"สทิ ธเิ กษตรกร ไวเ้ ป็นการเฉพาะ โดยมีเจตนารมย์ทีจ่ ะสร้างการ ถ่วงดุลกับการคุม้ ครองสิทธิของนกั ปรับปรงุ พันธพ์ุ ืช พรบ.คุม้ ครองพันธพ์ุ ืชไดใ้ ห้การค้มุ ครองสทิ ธิ เกษตรกรในหลายลักษณะ เชน่ * สิทธพิ ิเศษในการเพาะปลูกหรือขยายพนั ธุ์ ส้าหรับพนั ธพุ์ ชื ใหม่ท่ี ได้รับความคมุ้ ครอง ด้วยการใช้สว่ นขยายพันธ์ุทเี่ กษตรกรเปน็ ผผู้ ลติ เอง เพ่อื การเพาะปลูกในปีต่อไป แต่ สิทธขิ องเกษตรกรนี้กม็ ีข้อจ้ากัดอยู่ กลา่ วคือ ในกรณีที่มกี ารประกาศให้พันธุ์พชื ใหม่นน้ั เป็นพันธพุ์ ืช ทคี่ วรส่งเสรมิ การปรับปรุงพันธ์ุ เกษตรกรจะสามารถเพราะปลูกหรือขยายพนั ธไ์ุ ดไ้ ม่เกนิ สามเทา่ ของ ปรมิ าณทีไ่ ด้มา (มาตรา 33) * สทิ ธใิ นการร่วมกบั สมาชิกในชมุ ชนทจี่ ะขอข้ึนทะเบยี น \"พนั ธ์ุพืชพนื้ เมอื ง เฉพาะถ่นิ ซึง่ จะท้าใหช้ มุ ชนนนั้ มสี ทิ ธิเดด็ ขาดในการทีจ่ ะนา้ เอาสว่ นขยายพันธขุ์ องพันธพ์ุ ชื น้ัน ไป แสวงหาประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ ( มาตรา ๔๔ และ ๔๗ ) ถา้ ผู้ใดจะน้าเอาพนั ธพ์ุ ืชพื้นเมืองเฉพาะถ่ิน ไปใช้เพอื่ การปรับปรงุ พนั ธ์ุ ศึกษา ทดลองหรือวิจัยเพือ่ ประโยชนใ์ นทางการค้า จะต้องทา้ ข้อตกลง แบ่งปนั ผลประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการใช้พนั ธุ์พชื พน้ื เมืองเฉพาะถน่ิ นั้น ( มาตรา ๔๘ ) * สทิ ธใิ นการรว่ ม เป็นกรรมการในคณะกรรมการคุม้ ครองพันธุพ์ ืช ซ่งึ เป็นองค์กรทจี่ ัดตง้ั ขึ้นตามกฎหมายน้ี ท้าหน้าทใ่ี น การก้าหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ เพ่ือการบังคบั ใช้กฎหมาย ในคณะกรรมการคุม้ ครองพันธพุ์ ืช จะมี เกษตรกรร่วมเป็นกรรมการจ้านวน ๖ คน ( มาตรา ๕ และ ๖) จะเห็นไดว้ า่ สทิ ธิเกษตรกรตามทกี่ า้ หนดไวใ้ นกฎหมายไทยมีความสอดคล้องกับสทิ ธิ เกษตรกรทร่ี ะบุในสนธสิ ัญญาวา่ ด้วยการคุ้มครองทรัพยากรพันธกุ รรมพชื ฯ อยู่หลายประการ เช่น การ คุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเก่ียวกับทรัพยากรพนั ธุกรรมพชื สิทธิในการร่วมแบ่งปนั ผลประโยชน์ที่ เกิดขึน้ จากการใชท้ รพั ยากรพันธุกรรมพืช และสิทธิในการร่วมตัดสินใจเรือ่ งการอนุรักษ์และใช้ ประโยชน์ทรัพยากรพันธุกรรมพืชอย่างยง่ั ยืนในระดบั ชาติ อยา่ งไรก็ตาม จ้าเป็นตอ้ งมีการศึกษา วเิ คราะห์อยา่ งละเอียดวา่ สิทธเิ กษตรกรท่ีก้าหนดไว้ในสนธิสญั ญามขี อบเขตและความชัดเจนอย่างไร

20 เพ่อื จะไดว้ เิ คราะห์ประเมินถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนต่อการปรบั ปรงุ กฎหมายของไทยในเรือ่ งสทิ ธิ เกษตรกร ถ้าประเทศไทยจะเขา้ ร่วมเป็นภาคีสมาชิกของสนธิสญั ญาฯ 6. การคุม้ ครองสิทธเิ กษตรกรในประเทศต่างๆ การปรับปรงุ พัฒนากฎหมายเพอ่ื การคุ้มครองสทิ ธเิ กษตรกรเรมิ่ ปรากฎเป็นรปู ธรรมในหลาย ประเทศโดยเฉพาะประเทศที่อยใู่ นปา่ เขตรอ้ น ประเทศทมี่ ีกฎหมายบังคับใชแ้ ลว้ เชน่ เปรู ปานา อินเดีย บราซิล ไทย ฯ ทีก่ า้ ลังอยูใ่ นกระบวนการจดั ทา้ เป็นกฎหมาย เช่น บงั คลาเทศ เปน็ ต้น ในกรณี ของประเทศอินเดยี รัฐบาลได้ผา่ นกฎหมายในปี ๒๕๔๔ ทม่ี ชี ื่อวา่ \" กฎหมายคุม้ ครองพันธพ์ุ ชื และสิทธิ เกษตรกร ในกฎหมายฉบบั น้ี สทิ ธิเกษตรกรไม่ได้เป็นเพยี งข้อยกเวน้ สิทธขิ องนักปรับปรุงพนั ธุ์พชื แต่ เป็นสิทธิของเกษตรกรทกี่ ฎหมายให้การรับรองและค้มุ ครอง สิทธขิ องเกษตรกรตามกฎหมายของอนิ เดีย คือ สิทธิในการเกบ็ ใช้ เพาะปลกู ปลูกซ้า แลกเปลย่ี น แบง่ ปนั และทสี่ ้าคญั ที่ถือได้วา่ เปน็ แกนหลักของสิทธเิ กษตรกร คือ สิทธิในการขายเมล็ด พันธุ์พชื ท่ผี ลิตขนึ้ ในฟาร์มให้กบั เกษตรกรคนอื่น แมว้ ่าจะเปน็ เมลด็ พนั ธุท์ ่ีได้รับการคมุ้ ครองโดยสิทธิ ของนักปรับปรุงพันธ์ุพชื ก็ตาม ( มาตรา ๓๙ ข้อ ๔) เหตผุ ลสา้ คัญในการคมุ้ ครองสทิ ธเิ กษตรกรดงั กลา่ ว คือ เพื่อด้ารงวิถชี วี ิตของชุมชนเกษตรและ ระบบเกษตรกรรมแบบพงึ่ พาตนเองของชาตเิ อาไว้ ตวั อยา่ งท่ีสะทอ้ นถึงบทบาทส้าคัญของเกษตรกร คอื เมล็ดพันธพุ์ ืชท่ีใช้ในการเพาะปลูกในอินเดียผลิตจากเกษตรกรถึงร้อยละ ๘๗ ของปรมิ าณเมลด็ พนั ธ์ุท้งั หมด

21 หลกั การมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์ 31 มีนาคม 2564 คร้ัง หลักการมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ประจ้าเดือนเมษายน 2564 เกษตรอินทรีย์ (Organic/ออร์กานิค) คือ ระบบการจดั การดา้ นการเกษตรเเบบองคร์ วม ท่ี เก้ือหนนุ ต่อระบบนิเวศนเ์ เละความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเน้นการใช้วสั ดุธรรมชาติ หลีกเลีย่ ง วตั ถุดิบที่ได้จากการสงั เคราะห์ เเละไม่ใช้ไม่ใช้ พืช สตั ว์ หรือจุลินทรียท์ ี่ได้จากการดดั เเปลพันธกุ รรม (จีเอ็มโอ) มีการจัดการกับผลิตภณั ฑโ์ ดยเน้นการเเปรรูปด้วยความระมดั ระวงั เพ่ือรักษาสภาพการเปน็ เกษตรอินทรียเ์ เละคณุ ภาพที่ส้าคัญของผลิตภณั ฑ์ในทุกขั้นตอน ขอ้ ก้าหนดวิธีการผลิตพืชอินทรยี ์ 1. วิธผี ลติ พชื อนิ ทรยี ์ กา้ หนด \"ระยะเวลาการปรบั เปล่ียน\" * พชื ลม้ ลกุ เป็นเวลาอย่างนอ้ ย 12 เดอื นก่อนปลูก * พชื ยนื ต้น กา้ หนดท่ี 18 เดือน ก่อนเกบ็ เก่ียวผลิตผล เเละตอ้ งมหี ลกั ฐานเเสดงว่าไม่มี การใช้สารเคมตี ลอดระยะเวลาท่กี ้าหนด ทง้ั นี้ ผผู้ ลิตสามารถทยอยเปล่ียนพืน้ ท่ีท้าเกษตรอินทรีย์ได้ ไมจ่ ้าเป็นต้อง เปล่ยี นเป็นเกษตรอินทรยี ์ท้งั หมด มกี ารเเบง่ เเยกพ้ืนท่ี กระบวนการจัดการใหช้ ัดเจน เป็นพืชตา่ งชนิด หรือต่างพนั ธุ์ ที่เเยกเเยะความเเตกต่างของผลติ ผลได้ เเละพ้ืนทีท่ ี่ทา้ เกษตรอินทรียเ์ เล้วตอ้ งไม่ เปลย่ี นไปท้าเกษตรใช้สารเคมอี กี 2. มมี าตรการป้องกนั การปนเป้อื นที่อาจเกิดจากดิน นา้ อากาศ เชน่

22 * มีสิ่งกดี ขวาง * ทา้ คันกั้น * ปลกู พชื เป็นเเนวกันชน 3. ต้องรักษาเเละเพิ่มความอุดมสมบูรณข์ องดนิ เเละกิจกรรมทางชวี ภาพท่ีเปน็ ประโยชนใ์ น ดนิ เชน่ * ปลกู พืชตระกลู ถ่ัว * ใช้ปุย๋ พชื สด * ใช้วัสดุอินทรีย์ 4. การควบคมุ ป้องกัน กา้ จัดศัตรพู ชื โรคพชื เเละวัชพชื เชน่ * การใชพ้ ันธพุ์ ืชท่ีเหมาะสม การอนุรกั ษ์ศัตรธู รรมชาตขิ องศัตรูพืช (ตัวห้า ตัวเบียน) * การรักษาระบบนิเวศปอ้ งกนั การชะลา้ งของดนิ โดยปลูกพืช คลุมดนิ พืชหมุนเวียน การ ปลูกโดยไมไ่ ถพรวน 5. เมลด็ พันธุ์เเละสว่ นขยายพนั ธ์ุ * ต้องมาจากระบบการผลติ เเบบเกษตรอินทรีย์ ไมม่ ีการใชส้ ารเคมี 6. พชื เเละส่วนของพืชที่ใช้บรโิ ภคซ่ึงไดจ้ ากธรรมชาติ จัดวา่ เปน็ ผลิตผลอินทรีย์ต่อเม่ือ * ผลิตผลมาจากพ้นื ที่ธรรมชาตไิ ม่เคยท้าการเกษตร ไม่เคยใชส้ ารเคมตี ้องหา้ ม อย่างนอ้ ย 3 ปี * การเกษตรเก่ียวผลติ ผลจากธรรมชาติต้องไมก่ ระทบต่อสิ่งเเวดล้อม

23 ทมี่ า : http://e-book.acfs.go.th/Book_view/240 เอกสารเผยเเพร่ ชุด การปฏิบตั ิตามาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ (มกษ.9000 เลม่ 1-2552) aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook